สาระที่ ๒ หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการด้าเนินชีวิตในสังคม
สัตว์โลก – สตั ว์สังคม
ความเหมือน ความแตกต่าง
1. ตอ้ งการอาหาร นา้ อากาศ สืบพนั ธุ์
2. คลา้ ยบรรพบุรุษ 1. มรี า่ งกายตังตรง สตั ว์โลกโดยท่ัวไปจะขนานกบั พนื โลก
3. ต่อสูเ้ พือ่ ความอยู่รอด 2. มีดวงตาดา้ นหนา้ ทัง 2 ดวง
4. ปรับตวั เข้ากบั ธรรมชาตหิ รือสภาพแวดล้อมได้ 3. ใช้มอื อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
4. มีสมองท่ีใหญ่กว่า สามารถสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ
สรา้ งความกา้ วหนา้ ทส่ี ตั ว์ทา้ ไม่ได้
สตั ว์สังคม มีลกั ษณะสา้ คญั คอื
1. อยรู่ วมเป็นกลมุ่
2. มีการกระท้าระหว่างกัน (Social Interaction) (การแบง่ งานกนั ทา้ )
มนษุ ย์ตา่ งจากสตั ว์สังคมอน่ื = มีการจดั ระเบยี บทชี่ ัดเจนกวา่ วฒั นธรรม
ลักษณะพิเศษของมนุษย์
1. สามารถสร้างและใชส้ ัญลกั ษณ์ เช่น กิรยิ าทา่ ทาง ภาษา วตั ถุ
สัญลักษณ์ท่ีสา้ คัญ คอื ภาษา
สัญลักษณจ์ ึงเป็นความสามารถพเิ ศษของมนษุ ย์
สัญลักษณ์มิได้เกิดขึนเองตามธรรมชาติ เกิดจากการเรียนรู้ผ่านกระบวนการท่ีเรียกว่า
กระบวนการขดั เกลาทางสังคม (Socialization)
2. วฒั นธรรม หมายถึง วิถีชีวติ แบบแผนในการดา้ เนินชีวติ ท่สี ืบทอดมาเป็นเวลานาน เป็นสงิ่ ท่ีมนษุ ย์
สร้างสรรคข์ ึน
กลุ่มคน หรอื กล่มุ สังคม จะด้ารงอยู่ได้ต้องทา้ หนา้ ที่หรือกิจกรรมหลายด้าน เช่น การเมือง เศรษฐกิจ
การศึกษา แบบแผนการด้าเนินชีวิตหลายแบบเช่นนี รวมเป็นวิถีชีวิตของกลุ่ม
ลกั ษณะร่วมของวฒั นธรรม
1. ไดจ้ ากการเรียนรู้ 2. เป็นมรดกทางสังคม
3. เปลยี่ นแปลงได้ 4. เปน็ วิถชี ีวิตหรอื แบบแผนด้ารงชวี ติ
ประเภทวัฒนธรรม
- วฒั นธรรมทางวัตถุ เช่น สงิ่ ประดิษฐ์
- วฒั นธรรมทางจิตใจ เช่น ความเช่อื ศาสนา คา่ นยิ ม
โครงสร้างสงั คม - การจดั ระเบียบทางสังคม
โครงสร้างสงั คม หมายถงึ ความสมั พันธ์ของกลมุ่ คนทีอ่ ยู่รวมเป็นสังคมโดยมบี รรทัดฐานเป็นตัวยึดเหนย่ี ว
โครงสรา้ งสงั คม
องคป์ ระกอบ
การจดั ระเบยี บทางสังคม = กระบวนการควบคมุ พฤติกรรมของคนในสงั คม สถาบนั ทางสงั คม
กลมุ่ คน (เปน็ ระเบยี บ) กระบวนการการจดั ระเบยี บ
- ครอบครัว
- ชุมชน บรรทดั ฐาน สถานภาพ บทบาท
- สมาคม (มาตรฐานในการปฏบิ ัติ ควบคุม (ต้าแหนง่ ท่ไี ดจ้ ากการเป็นสมาชิกกลุ่ม) (สิทธ/ิ หนา้ ท่)ี
- โรงเรยี น พฤติกรรมของสมาชิกในแบบเดยี วกัน)
- วิถชี าวบ้าน - สถานภาพติดตวั มา เชน่
- จารตี เพศ สีผิว เชือชาติ ฯลฯ
- กฎหมาย - ไดม้ าภายหลัง / สามารถ เชน่
อาชีพ สามภี รรยา บิดามารดา
สถาบันทางสงั คม
ความหมาย = แบบแผนกฎเกณฑ์เป็นแนวทางในการประพฤติ การกระท้า ความคิด เพื่อตอบสนอง
ความตอ้ งการท่จี า้ เปน็ ของสงั คม
กลุ่มคน หนา้ ที่ แบบแผน สญั ลกั ษณ์
องค์การทางสังคม เพือ่ สนองความตอ้ งการท่ีจา้ เป็น แนวทางการปฏิบัติ เชน่ - ป้ายจราจร
- ส ถ า น ภ า พ - การเลยี งดบู ุตร - บรรทดั ฐาน - พระพุทธรปู
บทบาท - รกั ษาความสงบบ้านเมือง - ความเชื่อ เลียงดูพ่อ
- การควบคุม - สร้างความมั่งคั่ง แม่
- การจดั ระเบยี บ - อบรมให้มีความรู้เป็นพืนฐาน - กฎหมาย ศาล
- ค่านิยม พฒั นาประชากร - แผนการศึกษาชาติ
- สั่งสอนอยใู่ นศีลธรรม - พธิ ีกรรม
สงั คมไทย
ลักษณะสังคมไทย - เป็นสังคมเกษตร มีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหน่ียว การศกึ ษาเฉล่ียอยู่ในเกณฑ์ต่้า มี
การเคลอื่ นยา้ ยถน่ิ ใชป้ ัจจัยสงั คม-เศรษฐกิจแบง่ ชนชัน
สงั คมเมือง สงั คมชนบท
1. ครอบครัวเดย่ี ว (ขนาดเลก็ ) 1. ครอบครัวใหญ่ (ขยาย)
2. ความสมั พันธ์แบบทตุ ิยภูมิ 2. ความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ
สงั คมเมอื ง สังคมชนบท
3. เป็นเมืองขนาดใหญ่ ศูนย์กลางการศึกษา 3. เป็นเมืองขนาดเลก็ สังคมเกษตร
อุตสาหกรรม พาณิชย์ บรกิ าร
4. มีความแตกต่างด้านอาชีพ ศาสนา ภาษา 4. มีความคล้ายกันด้านอาชีพ ศาสนา ภาษา
ประเพณี ประเพณี
5. มาตรฐานการดารงชวี ติ สะดวกสบาย 5. มาตรฐานการดา้ รงชวี ติ ตา้่
6. จานวนคนมาก แขง่ ขันกนั มาก 6. จา้ นวนคนนอ้ ย แข่งขันกนั นอ้ ย
7. วัฒนธรรมจติ ใจอยู่ใต้อทิ ธิพลตะวนั ตก
7. ยึดมั่นในวัฒนธรรมไทย ขนบธรรมเนียมไทย
8. การเปลี่ยนแปลงรวดเรว็ มากกว่า
8. การเปล่ียนแปลงช้า
การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม หมายถึง การเปล่ียนแปลงทางสังคม กระบวนการ รปู แบบ แบง่ ได้ 2 ประเภท
การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม
หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ ง ความสัมพนั ธ์ หมายถึง การเปลี่ยนรูปแบบวัฒนธรรม วิถีชีวิต
ขนาด ประเภท สถานภาพ ฐานะ ค่านยิ ม ความเชอื่ ความรู้ บรรทดั ฐาน เทคโนโลยี
๑. ขอ้ ใดแสดงวา่ มนษุ ย์แตกตา่ งจากสัตว์สังคมชนดิ อน่ื มากทส่ี ุด
1. มนุษย์แบ่งงานกันทา้ มากกวา่ สตั ว์ 2. มนุษย์พึ่งพาอาศยั กันมากกวา่ สัตว์
3. มนษุ ยม์ รี ะเบียบสงั คมมากกวา่ สตั ว์ 4. มนุษย์เปลย่ี นแปลงแบบแผนความสมั พันธ์ไดม้ ากกวา่ สัตว์
๒. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะพเิ ศษของมนุษยท์ ่ีต่างจากสัตว์ชันสูงอ่นื ๆ
1. เปน็ สตั วเ์ ลือดอุ่นทม่ี ีมอื และเทา้ เป็นประโยชนไ์ ด้มาก
2. ฉลาดท่ีจะเอาตวั รอดเพราะมสี มองใหญ่
3. สามารถออกเสยี งเลียนแบบไดห้ ลากหลาย
4. ตดิ ต่อสัมพันธ์ดว้ ยระบบสญั ลกั ษณ์
๓. ข้อใดสะทอ้ นพฤตกิ รรมทไ่ี มใ่ ชว่ ัฒนธรรมทางวัตถุ
1. การบรจิ าคเงินรางวัลให้แก่สถานเลยี งเดก็ กา้ พร้า
2. การส่งกระทงดอกไม้สดเข้าประกวดในงานแสดงภมู ปิ ัญญาไทย
3. การมอบเคร่ืองหมายประกนั คณุ ภาพแก่สนิ คา้ 1 ต้าบล 1 ผลติ ภณั ฑ์
4. การส่งออกผลไมไ้ ทยได้รับความนิยมอย่างมากในกลมุ่ ประเทศอาเซียน
๔. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะของวัฒนธรรม
1. เกดิ จากการดา้ รงชีวติ ของมนุษย์ 2. เกดิ จากสญั ชาตญาณของมนุษย์
3. เปน็ สมบัติของคนในสงั คม 4. เปน็ สิง่ ท่ีเปลี่ยนแปลงได้
๕. ข้อใดคอื หนา้ ทขี่ องวฒั นธรรม
1. สิง่ ที่มนุษย์ตอ้ งเรยี นรู้ 2. สงิ่ ทเี่ ปน็ มรดกทางสังคม
3. สง่ิ ทมี่ นุษย์ใชป้ รบั ตัวในการดา้ เนินชีวติ 4. สง่ิ ประดษิ ฐเ์ พื่อใหม้ นษุ ยใ์ ชใ้ นชวี ิตประจา้ วัน
๖. ความสัมพนั ธข์ องกลมุ่ คนทมี่ บี รรทัดฐานทางสังคมร่วมกัน เรยี กว่าอะไร
1. โครงสร้างสังคม 2. แรงยดึ เหน่ียวทางสังคม
3. องค์ประกอบทางสังคม 4. สถาบนั สังคม
๗. อะไรเป็นองค์ประกอบสา้ คัญในกระบวนการจดั ระเบียบทางสังคม
1. บรรทดั ฐาน สถาบนั การควบคมุ 2. บรรทัดฐาน บทบาท กลุ่มสังคม
3. บรรทดั ฐาน สถาบนั สถานภาพ 4. บรรทดั ฐาน สถานภาพ บทบาท
๘. ข้อใดเปน็ องคป์ ระกอบของการจดั ระเบยี บสังคม
1. โครงสรา้ งสงั คม วิถปี ระชา มารยาททางสงั คม และขนบธรรมเนียม
2. สถานภาพ บทบาท บรรทัดฐาน และคา่ นิยม
3. สถาบนั ครอบครัว จารตี ระบบการเมอื ง และลทั ธิความเชื่อ
4. การเรยี นรูท้ างสงั คม ความต้องการทางสงั คม การขัดเกลาทางสงั คมการควบคุมทางสังคม
๙. ขอ้ ใดแสดงถงึ การขดั เกลาทางสงั คมทางออ้ ม
1. ด.ช.ดา้ เลน่ ซ่อนหากบั เพอื่ น
2. น.ส.วารีถูกลงโทษเพราะทุจรติ ในการสอบ
3. ปู่ยา่ สอน ด.ช.แดง ใหเ้ ป็นผมู้ ีสมั มาคารวะ
4. ตา้ รวจจราจรออกใบสั่งแกน่ ายธาราขอ้ หาฝ่าฝืนกฎจราจร
๑๐. ขอ้ ใดมีลกั ษณะเป็นสถานภาพท่ีตดิ ตวั มามากที่สดุ
1. พข่ี องพอ่ 2. แม่ตวั อย่าง
3. คนทรงเจ้า 4. พ่อบญุ ธรรม
สทิ ธแิ ละเสรีภาพของความเป็นมนษุ ย์
พลเมืองดี ความหมาย ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักประชาธิปไตย ตามกฎหมาย
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหลักประชาธิปไตย คือ ตามรัฐธรรมนูญท่ีได้บัญญัติรับรอง สิทธิ
เสรีภาพ หน้าทขี่ องประชาชน หลักนติ ธิ รรม หลกั เหตุผล หลักเสมอภาค หลักถอื เสียงข้างมาก
สิทธมิ นุษยชน ความหมาย หมายถึง ศักดิศ์ รีความเปน็ มนษุ ย์ สิทธิ เสรีภาพ เสมอภาคของบุคคล
ศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ หมายถงึ สภาพความเป็นมนุษย์ ไม่คา้ นงึ ถงึ ความแตกต่างในเชอื ชาติ ศาสนา
ภาษา เพศ อายุ สถานภาพ
แนวคิด เร่มิ ตงั แตส่ มัยกรีก โรมัน
ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง เกิดหลังปฏิวัติฝรั่งเศส ปี ค.ศ. 1789 ถือเป็นเอกสาร
รับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนท่ีครบถ้วนสมบูรณ์ท่ีสุด และเป็นแม่บทของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ
มนุษยชนของสหประชาชาติ 10 ธ.ค. สหประชาชาติถือเป็นวนั สทิ ธิมนษุ ยชนของโลก
รัฐธรรมนูญ 25๔0 ได้ให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนเพิ่มขึน ส่งผลต่อรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ
รัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ เชน่ สทิ ธิในความเป็นมนุษย์ มกี ารจดั ตังคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองคก์ ร
อสิ ระ มีหน้าท่ี คมุ้ ครอง ส่งเสรมิ สทิ ธิขันพืนฐาน
ระบอบการเมอื งการปกครอง
รฐั และการปกครอง
รฐั หมายถึง ชุมชนทางการเมืองท่ีประกอบด้วยดินแดนท่ีมอี าณาเขตแน่นอน มีประชากรจ้านวนหนึ่ง
มรี ฐั บาลเปน็ ผู้ใหอ้ า้ นาจภายในรัฐ มเี อกราชอิสรภาพ
องค์ประกอบของรัฐ
ดนิ แดน อาณาเขตแน่นอน น่านน้า (ไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล) น่านฟ้า แผ่นดิน ไม่มีกฎเกณฑ์
กา้ หนดขนาดและเนือที่ตดิ กนั ควรมอี าณาเขตติดตอ่ เป็นผนื เดยี ว
ประชากร ผมู้ สี ัญชาติของรฐั ที่มีสิทธิ หน้าทใี่ นฐานะสมาชิกของรัฐ รวมถงึ ชนกลุ่มน้อย (ชาวไทย
ภูเขา) และคนตา่ งด้าว
อานาจอธิปไตย อ้านาจสูงสุดในการปกครองตนเอง เป็นองค์ประกอบส้าคัญที่สุด ท้าให้รัฐมีอิสระ
เสรีภาพ เอกราช
รฐั บาล คณะบคุ คลทใ่ี ช้อ้านาจปกครองเปน็ อิสระ ไมข่ นึ กบั รัฐอื่น บรหิ ารใหป้ ระชาชนอยู่อยา่ ง
สงบมั่นคง ไมไ่ ด้ก้าหนดท่ีมาของอา้ นาจ
รฐั - ความเปน็ รฐั ต้องมีอา้ นาจอธปิ ไตยเสมอ ดนิ แดนขนาดเลก็ ถือเป็นรฐั เช่น วาตกิ นั อาณานคิ มไม่ถอื เป็นรฐั
ประเภทของรัฐ
รฐั เดีย่ ว รัฐรวม (สหพันธรัฐ)
มีรัฐบาลเพียงแห่งเดียวท่ีปกครอง รวมอ้านาจไว้ มีรฐั บาล 2 ระดับ คอื
ส่วนกลาง โดยรัฐอาจกระจายอ้านาจให้ท้องถ่ิน - รัฐบาลกลาง ใช้อ้านาจอธิปไตยทเ่ี กยี่ วกับผลประโยชน์
โดยทั่วไปมีขนาดเล็ก ของรฐั ทงั หมด เช่น การตา่ งประเทศ การทหาร การคลัง
- รัฐบาลมลรัฐ มีอ้านาจในการด้าเนินกิจการ เช่น
การศึกษา สาธารณสุข การรักษาความสงบเรียบร้อย
รฐั ธรรมนญู ของประเทศจะบัญญตั ิไว้ชัดเจน
ไทย องั กฤษ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ นวิ ซแี ลนด์ สเปน สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย อินเดีย สหภาพเมียนม่า
ออสเตรเลยี แคนาดา สวิตเซอรแ์ ลนด์
ระบบการเมืองการปกครอง หมายถึง แบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซ่ึงก่อให้เกิดข้อตกลงใจท่ีมี
อา้ นาจบงั คับในสังคม
ประเภทของระบบการเมอื งการปกครอง
ปกครองคนเดยี ว สมบูรณาญาสิทธริ าชย์ เผด็จการ กษัตรยิ ์, ผเู้ ผด็จการ เชน่ นโปเลียน
คนส่วนนอ้ ย อ ภิ ช น า ธิ ป ไ ต ย , ค ณ า ธิ ป ไ ต ย , ชนชันสูง เช่น โรมัน หรือเป็นคณะบุคคล
คอมมวิ นิสต์ เพื่อประโยชน์กลุ่ม เช่น สปาร์ต้า พรรค
คอมมิวนสิ ต์
คนสว่ นมาก ประชาธิปไตย กษตั ริย์, ประธานาธบิ ดี
หลักการใช้อานาจการปกครองและการจดั ระเบียบการปกครองภายในรฐั
รวมอานาจ (สว่ นกลาง)
- กระทรวง กรม เปน็ ศูนย์กลางบรหิ ารประเทศ
- สง่ เจา้ หน้าทีไ่ ปปฏิบัติงาน โยกยา้ ยตามความเหมาะสม
- หน่วยงานอิสระเทียบเท่ากรม เช่น ราชบัณฑิตยสถาน ส้านักพระราชวัง ส้านักราชเลขา
ส้านักงานอัยการสูงสุด สนง.เลขาธิการสภาผู้แทน, วุฒิสภา สนง.ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส้านัก
นายกรฐั มนตรี ธนาคารแห่งประเทศไทย
แบ่งแยกอานาจ (ภมู ภิ าค)
- สว่ นกลางส่งเจ้าหน้าท่ีไปปฏิบัติ งานในส่วนต่างๆ ใหอ้ ้านาจบรหิ ารบางอยา่ งแกเ่ จ้าหนา้ ที่
- จงั หวดั เปน็ นติ บิ ุคคล การตงั ยบุ ตราเป็น พ.ร.บ. จว.
- อ้าเภอ ไมม่ ีฐานะเปน็ นติ ิบุคคล การตัง ยุบ ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
กระจายอานาจ (ท้องถนิ่ )
- ประชาชนทอ้ งถิน่ มีอ้านาจบริหารกจิ การ ในการปกครองตนเอง
- องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด (อบจ.)
- องคก์ ารบริหารส่วนตา้ บล (อบต.)
- เทศบาล แบบพเิ ศษ คอื กทม., พทั ยา
หลกั การของระบอบประชาธปิ ไตย ท่สี ้าคญั คอื
1. หลักความเสมอภาค คือ ความเท่าเทียมกันของคนในสังคม (เท่าเทียมกันในความเป็นมนุษย์ใน
ศักดศ์ิ ร)ี ทงั ทางกฎหมาย, การเมือง เศรษฐกิจ และไดร้ บั โอกาส เช่น การศึกษา
2. หลักสิทธิ เสรภี าพ และหนา้ ที่
สทิ ธิ คอื ประโยชน์ท่ี กฎหมายรับรองและค้มุ ครองให้
เสรีภาพ คือ โอกาสทบ่ี ุคคลเลือกปฏบิ ัติในส่งิ ทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ก่ตน
หนา้ ท่ี คอื สิ่งท่ีบุคคลต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
3. หลักนิติธรรม คือ การยึดกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ของประเทศ หลักกฎหมายเป็นหลักส้าคัญใน
ระบอบประชาธิปไตย
4. หลกั การยอมรบั เสยี งสว่ นมาก และตอ้ งไม่ละเมิดสิทธิของเสียงสว่ นน้อย
5. อ้านาจอธิปไตยเป็นของปวงชน รฐั บาลคอื กลุ่มบคุ คลทไ่ี ด้รบั เลอื กทา้ หนา้ ทบ่ี ริหารประเทศ รฐั บาล
ที่ดีจงึ ต้องเป็นของประชาชน เพือ่ ประชาชน การเลอื กท้าได้โดยตรงและโดยอ้อม
6. หลักแหง่ การใช้เหตผุ ล คือ การใช้เหตุผลในการตดั สินปญั หา ไมใ่ ช่กา้ ลงั หรือความรนุ แรง
เปรียบเทียบระบบประชาธิปไตย – เผด็จการ
ประชาธปิ ไตย เผด็จการ
หลักการ
- อานาจอธิปไตยเปน็ ของประชาชน - อ้านาจอยู่ที่บคุ คลหรือคณะ
- ให้สทิ ธิ เสรภี าพ เสมอภาค แกป่ ระชาชน - ไมย่ อมรบั สทิ ธิเสรีภาพ เสมอภาคของประชาชน
- ใช้หลกั เหตุผลตัดสนิ ปัญหา - เน้นการใชอ้ า้ นาจเด็ดขาด โดยรวมอา้ นาจอย่สู ่วนกลาง
- ยึดหลักนิติธรรม
- ใชห้ ลักเสยี งข้างมากตดั สินไม่ละเมิดเสยี งข้างน้อย - เน้นความม่ันคง ปลอดภัยของชาติ,ยึดแนวคิด
ผปู้ กครอง
ประชาธิปไตย เผดจ็ การ
อุดมการณ์
- ให้คุณคา่ แกป่ ระชาชนจงึ มีสิทธิ เสรภี าพ - ให้คุณคา่ รฐั ผูน้ า้ เป็นสา้ คญั
รฐั เกิดมาเพอื่ มนุษย์ - มนุษยเ์ กดิ มาเพือ่ รฐั
โครงสร้าง
- ผู้นาอยู่ในตาแหน่งตามวาระ - อ งค์ ก า ร ก า ร เ มื อ ง (รั ฐ ธ ร ร ม นูญ รัฐ ส ภ า
- มีพรรคการเมอื งหลายพรรค การเลอื กตัง) เป็นฐาน รองรบั อา้ นาจผูน้ า้
- แนวทางเศรษฐกิจ เอกชนเปน็ เจ้าของได้มากกว่า - พรรคการเมืองพรรคเดียว หรอื ไม่มี
- แนวทางเศรษฐกิจถูกควบคมุ โดยรัฐ
ระบอบประชาธิปไตย แบง่ ได้ 3 รปู แบบ
รฐั สภา (องั กฤษ) ประธานาธบิ ดี (U.S.A.) กึง่ รฐั สภากึ่งประธานาธิบดี
(FR)
ประมุขไม่ต้องรบั ผดิ ชอบทางการเมอื ง ปร ะ ธ า น า ธิ บ ดี เ ป็ น ป ร ะ มุ ข + ประธานาธิบดี -ประมขุ
กษตั ริย์
หัวหน้าฝ่ายบริหาร มาจากการ - หัวหน้าฝ่ายบริหารมาจาก
อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เลอื กตงั โดยอ้อม วาระ 4 ปี (8 ปี) การเลือกตงั โดยตรง
นอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ไทย รับผิดชอบทางการเมือง
ญปี่ ุน่ มาเลเซีย
ประธานาธิบดี
เยอรมัน อิตาลี อินเดีย สิงคโปร์
บงั คลาเทศมาจากการเลอื กตงั โดยออ้ ม
หั ว ห น้ า ฝ่ า ย บ ริ ห า ร – ไมม่ ีนายกรฐั มนตรี ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี แ ต่ ง ตั ง
นายกรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี + ค.ร.ม.
ไมย่ ึดหลักแบง่ แยกอ้านาจ ยดึ หลักแบ่งแยกอ้านาจ ปธน.ยุบสภาได้ และท้าหน้าที่
อ นุ ญ า โ ต ตุ ล า ก า ร ร ะ ห ว่ า ง
ค.ร.ม.กบั รฐั สภา
- ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสภากับ - รัฐสภามาจากการเลือกตงั - นายกและรมต.รับผิดชอบต่อ
ค.ร.ม. ใกล้ชิดตามหลักการเช่ือม สภาสูง – วาระ 6 ปี รัฐสภา
อ้านาจ ค.ร.ม. มาจากพรรค สภาลา่ ง – วาระ 2 ปี - หากรัฐสภาลงมติไม่ไว้วางใจ
การเมืองท่ีมีเสียงข้างมากใน - ปธน. และรฐั สภาอยู่ในต้าแหน่งจน นายก + รมต.พ้นจากต้าแหน่ง
รัฐสภา ครบวาระ เทา่ นนั
รฐั สภามีอ้านาจสูงสดุ เพราะ - ปธน. แต่งตัง รม.ต. โดยได้รับ
- ค.ร.ม. ต้องบริหารประเทศโดย ความเหน็ ชอบจากรฐั สภา
รับผดิ ชอบต่อรฐั สภา ค.ร.ม. ไม่เป็นสมาชิกสภาในเวลา
- ค.ร.ม. จะเข้าด้ารงต้าแหน่งและ เดยี วกนั
บริหารได้ตราบเท่าท่ีได้รับความ
ไว้วางใจจากรัฐสภา
รฐั สภา (องั กฤษ) ประธานาธิบดี (U.S.A.) ก่งึ รฐั สภาก่งึ ประธานาธิบดี
(FR)
- รัฐสภาควบคุมบริหารโดยเปิด
อภปิ รายเพ่อื ลงมตไิ ม่ไวว้ างใจ
นายกยุบสภาได้ดว้ ยเหตผุ ล - รัฐสภามีอ้านาจออกกฎหมายและ
- รัฐสภาไม่รับรองนโยบายของ อนุมตั งิ บประมาณ
ค.ร.ม. หรอื ขัดแยง้ ใน ค.ร.ม. - รัฐสภาอาจใช้วิธี อิมพิจ-เม้นต์ให้
- รัฐบาลแพ้คะแนนเสียงในการลง ปธน. ออกจากต้าแหนง่ ก่อนวาระได้
มตริ ับรองกฎหมายที่ ค.ร.ม. เสนอ - ปธน. ยบุ สภาไมไ่ ด้
อังกฤษ ไทย ญ่ปี ่นุ อนิ เดีย ฯ อเมรกิ า ฝรงั่ เศส ไอรแ์ ลนด์ ออสเตรยี
รูปแบบระบบเผด็จการ
อานาจนิยม - ควบคมุ สทิ ธิเสรภี าพทางการเมือง
- ใหเ้ สรภี าพทางสงั คม เศรษฐกิจ เช่น สทิ ธใิ นครอบครัว นับถอื ศาสนา ประกอบอาชพี
- ใชใ้ นแอฟรกิ า เอเชีย อเมริกาใต้
- ควบคุมทังด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม อาชีพ ครอบครัว
เบ็ดเสร็จนยิ ม การศกึ ษา
- ประชาชนต้องเช่ือฟงั และปฏบิ ตั ิตามคา้ สง่ั รัฐอย่างเครง่ ครัด
- รัฐใชว้ ธิ ลี งโทษรุนแรง โฆษณาชวนเชอ่ื ใหป้ ระชาชนศรัทธาจงรักภกั ดตี ่อผู้น้า
- สิทธิ เสรภี าพ ประชาชนถูกละเมิด
ผปู้ กครอง – คนเดียว หรอื คณะบคุ คล
อ้านาจรฐั – ยกยอ่ งให้ความสา้ คญั ประโยชนร์ ฐั มากกว่าบคุ คล
ความเหมือน ประชาชน – ไมเ่ ปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ ม
- ใชค้ วามรนุ แรงกับประชาชน
อานาจนิยม เบด็ เสรจ็ นยิ ม
1. ควบคมุ กิจกรรมการเมอื งของบคุ คล 1. ควบคมุ ทงั การเมืองและทกุ ดา้ น
2. ไม่ควบคุมสถาบัน องค์การ เช่น 2. ควบคมุ
ความแตกตา่ ง ครอบครวั
3. ประชาชนมีหน้าท่ีเคารพเช่ือฟังค้าสั่ง 3. ประชาชนตอ้ งปฏบิ ัติตามคา้ ส่งั รัฐอย่างไม่
รัฐ-ผู้ปกครองอย่างเคร่งครัด เน้นการ จ้ากัดเพอื่ ความมน่ั คงของชาติ
แสดงออกที่จงรกั ภกั ดี
ระบบเบ็ดเสรจ็ นยิ ม มที ้ังเผดจ็ การขวาจดั (Fascist) และซ้ายจดั (Communist)
เผดจ็ การฟาสซสิ ต์ - เนน้ ลทั ธิชาตนิ ยิ มรนุ แรง
- มีอุดมการณบ์ ชู ารัฐและผนู้ ้าท่ีเข้มแขง็ เชน่ มสุ โสลินี ฮิตเลอร์
- ฟ้นื ฟรู ะบบทหารเพอ่ื ขยายดินแดน เพราะเช่ือวา่ รัฐเปน็ สิ่งมีชีวติ (เตบิ โต)
- ผู้น้าได้รับการสนบั สนนุ จากกองทพั และนักธุรกจิ
- ระบบนีต่อต้านประชาธปิ ไตย และคอมมวิ นิสต์
เผดจ็ การคอมมวิ นสิ ต์ - เกดิ จากการผสมผสานแนวคดิ ของคาร์ล มาร์กซแ์ ละเลนนิ
- พรรคคอมมวิ นิสต์ มีอ้านาจสูงสดุ ควบคุมกิจการทกุ ๆ ดา้ น
- ใช้ในสหภาพโซเวียต จนี ควิ บา เวียดนาม ลาว เกาหลีเหนอื
คาถามทา้ ยบท
๑. ประธานาธิบดีเป็นประมุขและเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร มีนายกฯ และ ครม. บริหารร่วมกัน ครม.อยู่ภายใต้
อา้ นาจของรฐั สภา
1. สหรัฐอเมริกา 2. ฝรงั่ เศส
3. อินโดนเี ซยี 4. ออสเตรเลยี
๒. การปกครองที่ให้อ้านาจนิติบัญญัติ อ้านาจบริหาร และอ้านาจตุลาการ เป็นอิสระเพ่ือถ่วงดุลกัน คือ การ
ปกครองประชาธิปไตยแบบใด
1. รัฐสภา 2. ก่งึ รฐั สภา
3. ประธานาธิบดี 4. กง่ึ ประธานาธิบดี
๓. ข้อใดมใิ ช่หนา้ ทขี่ องรฐั สภา
1. ท้าหน้าท่ีนิตบิ ญั ญัติ 2. ทา้ หนา้ ท่แี ต่งตงั ฝา่ ยบริหาร
3. ทา้ หนา้ ท่ีควบคมุ ฝา่ ยตุลาการ 4. ท้าหนา้ ทคี่ วบคุมฝ่ายบรหิ าร
๔. หนา้ ทสี่ า้ คญั ของรฐั บาลคอื อะไร
1. เสนอแผนพัฒนาประเทศ 2. ประกาศใช้ยกเลิกกฎอัยการศึก
3. บรหิ ารประเทศ 4. ประชุมรัฐสภาเพ่อื พจิ ารณารา่ งกฎหมาย
๕. ในระบอบประชาธิปไตยสทิ ธิขนั มูลฐานทีป่ ระชาชนควรได้รบั คือขอ้ ใด
1. การเขยี นการพมิ พ์ 2. การไดแ้ สดงความคดิ เหน็
3. การมีกรรมสิทธิ์ในทรพั ยส์ นิ 4. การได้ผลประโยชนต์ ามที่เรียกร้อง
๖. ขอ้ ใดคอื วตั ถปุ ระสงคส์ า้ คญั ท่สี ุดของพรรคการเมอื ง
1. การมสี ว่ นร่วมทางการเมอื ง 2. การเขา้ ร่วมในการจัดตงั รัฐบาล
3. การทส่ี มาชิกพรรคได้รบั การเลอื กตงั 4. การเป็นตัวแทนของกลมุ่ ผลประโยชน์
๗. ตามหลักการของระบอบประชาธิปไตย ขอ้ ใดคอื เหตผุ ลของการยบุ สภาผู้แทนราษฎร
1. เพอ่ื เปดิ โอกาสให้มกี ารจัดตงั รฐั บาลใหม่
2. เพ่อื ลดความขดั แย้งระหว่างพรรคการเมือง
3. เพอ่ื แก้ปัญหาการขาดเสถยี รภาพของรัฐบาล
4. เพื่อยุติปญั หาความขัดแย้งระหวา่ งรฐั บาลกบั สภาผแู้ ทนราษฎร
๘. กิจกรรมทางการเมอื งใดที่ฝา่ ยบรหิ ารในระบอบประชาธิปไตยไมส่ ามารถกระท้าได้
1. บญั ญตั ิกฎหมาย 2. ยกเลกิ กฎหมาย
3. บังคับใชก้ ฎหมาย 4. วินจิ ฉัยการขดั กันของกฎหมาย
๙. เผดจ็ การอา้ นาจนิยมแตกตา่ งจากเผด็จการเบ็ดเสรจ็ นิยมในขอ้ ใด
1. มผี ูป้ กครองเดยี ว ผู้ปกครองเปน็ กลมุ่ เล็ก
2. ควบคมุ โดยใชก้ า้ ลังทหารบงั คับ ควบคุมในทางเศรษฐกิจและสงั คม
3. เน้นความสา้ คญั ของผนู้ า้ เนน้ ความส้าคญั ของรฐั
4. รวมอา้ นาจนติ ิบัญญตั ิ บรหิ ารและตลุ าการ รวมอา้ นาจการเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม
๑๐. ขอ้ ใดไมใ่ ชร่ ะบบเผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ นยิ ม
1. เผดจ็ การทหาร 2. เผดจ็ การฟาสซสิ ม์
3. เผด็จการนาซี 4. เผด็จการคอมมวิ นิสต์