The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสื่อการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wilasineesornpakdee, 2021-04-08 12:01:30

คู่มือสื่อ

รายงานสื่อการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน

คณะวทิ ยาการเรยี นร้แู ละศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

รายชอื่ สมาชกิ กลมุ่ และรหัสประจาตัวนกั ศกึ ษา

1) นางสาววิลาสนิ ี ศรภกั ดี 6119610142

2) นางสาวพฒั น์นรี สุวรรณรัตน์ 6119610563

3) นางสาวณฐั ชยา โรจนาปิยาวงศ์ 6119610209

สง่ งานวิชา วรศ.313 เสน้ ทางสกู่ ารจัดการศกึ ษาแบบเรยี นรวม
(LSE 313 Pathways to an Inclusive Education)
ชื่อเรอื่ งเอกสารท่สี ง่

ส่อื การสรา้ งความเขา้ ใจเกีย่ วกับกลมุ่ ชายขอบ
‘กล่มุ ชาติพนั ธ์ุมอแกลน’

ภาคการศึกษา/ปกี ารศกึ ษา 2/2563

ข้าพเจ้าขอรับรองวา่ ข้าพเจา้ จัดทาเอกสารรายงานฉบบั นดี้ ว้ ยตนเองโดยมกี ารอ้างองิ ขอ้ มลู
ถูกตอ้ งตามหลักการอ้างองิ และไมท่ าการลอกเลยี นโดยมชิ อบ (Plagiarism)

ลงนาม คณะผูจ้ ัดทา

คาชแี้ จง

ชิ้นงานส่ือการสร้างความเข้าใจเก่ียวกับกลุ่มชายขอบ ‘กลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน’ ท่ีทางคณะผู้จัดทาได้
จัดทาข้ึนมานั้น มีเนื้อหาเก่ียวกับวิถีชวี ิตความเป็นอยู่ของกลุ่มชาตพิ ันธุม์ อแกลนในการอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ
คณะผู้จัดทาได้มีการสร้างสรรค์ส่ือออกมาในรูปแบบของ หนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เรื่อง ‘สาย
ไหมพาเท่ียวชุมชนมอแกลน’ โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มเด็กปฐมวัย ที่มีอายุประมาณ 4-6 ปี เพ่ือเป็น
การปลกู ฝังแนวคิดเก่ยี วกับความแตกต่างหลากหลาย และการรับรู้ถงึ การมีอยขู่ องกลุ่มชาตพิ นั ธม์ุ อแกลน

คณะผจู้ ัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงวา่ หนังสือนิทานฉบบั นจ้ี ะเป็นประโยชน์ในการสร้างการเรยี นรู้ ทสี่ ามารถ
เข้าถึงกลุ่มเด็กปฐมวัย และครอบครัวได้ จนก่อให้เกิดความเข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายใน
กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ อแกลน ตลอดจนกลมุ่ ชาติพันธ์ุมอแกลนนน้ั ได้เป็นทร่ี ู้จกั ในสงั คมภายนอกมากยง่ิ ขึ้น

คณะผ้จู ดั ทา

สารบญั หนา้

หนังสอื นิทานอิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง ‘สายไหมพาเทยี่ วชมุ ชนมอแกลน’ 1
ทีม่ าและความสาคัญ
กลุ่มเป้าหมาย 2
วัตถปุ ระสงค์
ปจั จัยทเ่ี ลอื กการนาเสนอส่ือ 2
แนวทางการเผยแพร่
รายละเอียดเพิ่มเตมิ จากสื่อ 3

 วธิ ีการใช้สอ่ื 3
 ความรเู้ พม่ิ เตมิ จากเนอ้ื หาภายในสอื่
4
o ทาความรู้จกั กลุ่มชาติพันธ์ุมอแกลน
o ทาไมตอ้ งชมุ ชนมอแกลนทบั ตะวนั และมอแกลนบนไร่ 5
 ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติมเกยี่ วกับการใช้สือ่
 QR Code ภาพประกอบสื่อเพ่มิ เตมิ 5
 รายการอา้ งอิง 5
5
6
8
11
12

1

สือ่ การสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั กลุ่มชายขอบ ‘กล่มุ ชาตพิ นั ธม์ุ อแกลน’

หนงั สอื นทิ านอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง ‘สายไหมพาเท่ียวชมุ ชนมอแกลน’
https://anyflip.com/pxjtl/tslp/

2

สอ่ื การสรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกับกลมุ่ ชายขอบ ‘กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ อแกลน’

ท่ีมาและความสาคญั

จากที่ได้มีการศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ ‘มอแกลน’ ทางคณะผู้จัดทาจึงเกิดความสนใจ
และเล็งเห็นถึงความสาคัญเก่ียวกับวิถีชีวิตในด้านวัฒนธรรมท่ีมีการอนุรักษ์และให้ความสาคัญกับการอยู่
ร่วมกันกับธรรมชาติของกลุ่มชาติพันธ์ุมอแกลนท่ีมีมาอย่างยาวนาน แต่หลังจากเกิดเหตุการณ์สึนามิในปี
พุทธศักราช 2547 ชาวมอแกลนได้ประสบปัญหาในการสูญเสียวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ รวมท้ังการสูญเสีย
วฒั นธรรมทางดา้ นภาษาของตนเองไป สืบเน่ืองมาจากการได้รับความเดือดร้อนจากภัยพบิ ัติดังกล่าว จนทาให้
เกิดการอพยพย้ายถิ่นฐานข้ึน ประกอบกับการเข้ามาของวัฒนธรรมกระแสหลัก และอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวที่เติบโตข้ึนอย่างมากในพ้ืนท่ีริมฝ่ังทะเลอันดามัน (มูลนิธิชนเผ่าพ้ืนเมืองเพ่ือการศึกษาและ
สิ่งแวดล้อม, ม.ป.ป.) รวมไปถึงการพัฒนาผังเมืองของภาครัฐทาให้ชาวมอแกลนถกู รุกรานพื้นทใ่ี นการทามาหา
กนิ และตอ้ งมีการปรบั ตัวให้เข้ากับการเปล่ียนแปลงดงั กล่าว

แม้ว่าชาวมอแกลนจะมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองไปจากเดิม ทั้งในด้านการประกอบอาชีพ
การประกอบพิธีกรรมตามหลักความเชื่อ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนภาษาที่ใช้ให้เข้ากับวัฒนธรรมกระแสหลัก
แล้วก็ตาม แต่เนื่องจากมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความเป็นอยู่และทางสังคม บ่อยครั้งที่ถูกมองอย่างมี
อคติจากคนภายนอก (ศูนย์ภูมิวัฒนธรรมมอแกลน, ม.ป.ป.) ทางคณะผู้จัดทาจึงเกิดความสนใจและต้องการที่
จะเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความเข้าใจเก่ียวกับความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุมอแกลน
เพื่อลบอคติที่เกิดขึ้นจากสังคมและเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเรื่องราวในด้านวิถีชีวิตในการอยู่ร่วมกันกับ
ธรรมชาติของชาวมอแกลน ใหเ้ ปน็ ท่รี ูจ้ ักมากยิง่ ขึ้น และจากการสอบถามข้อมูลโดยสังเขปจากกลมุ่ คนท่ัวไปนั้น
พบว่า กลุ่มคนส่วนใหญ่ไม่มีความรู้เก่ียวกับกลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน อีกท้ังในส่ือต่าง ๆ มักจะมุ่งเน้นในการ
ถ่ายทอดเร่ืองราวของกลุ่มชาติพันธ์ุมอแกลนให้กับกลุ่มผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก ทาให้เร่ืองราวของกลุ่มชาติพันธุ์
น้นั กลายเปน็ เรอื่ งไกลตัวของเด็กแต่หากสามารถทาให้เด็กมคี วามร้คู วามเขา้ ใจในวถิ ีชวี ิตของกล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ และ
มองเห็นว่ากลุ่มชาติพันธ์ุเป็นเรื่องใกล้ตัวแล้วน้ัน ทางคณะผู้จัดทาเล็งเห็นว่าในอนาคตตัวเด็กเองจะสามารถ
เข้าใจ และเคารพในความแตกตา่ งหลากหลายซึง่ นาไปสู่การลดอคติในกล่มุ ชาติพันธไ์ุ ด้

กลมุ่ เปา้ หมาย

1. กลุ่มเปา้ หมายหลกั
- กลมุ่ เดก็ ปฐมวยั อายุ 4-6 ปี

2. กลุ่มเป้าหมายรอง
- ครอบครวั

3

วัตถุประสงค์

- เพื่อเผยแพร่วิถชี ีวติ ความเปน็ อยขู่ องกลมุ่ ชาตพิ นั ธุม์ อแกลนท่มี วี ิถชี วี ติ โดยการพ่งึ พาธรรมชาติ
- เพ่ือนาเสนอเรื่องราวของกลุ่มชาติพันธุ์มอแกลนให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและเป็นที่รู้จักในสังคม

ภายนอกไดม้ ากยง่ิ ขึน้
- เพ่ือสร้างเสริมเจตคติท่ีดีต่อกลุ่มชาติพันธุ์ โดยการส่งเสริมให้มีการเรียนรู้และทาความเข้าใจในความ

หลากหลายของกลุ่มชาตพิ ันธ์ุ จนนาไปสกู่ ารลดอคตทิ ่ีเกิดขึน้ กับกลุ่มชาติพนั ธ์ุมอแกลนได้

ปจั จัยทเี่ ลือกการนาเสนอสือ่

เน่ืองจากกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นกลุ่มเด็กปฐมวัยที่มีอายุประมาณ 4-6 ปี จึงเลือกส่ือท่ีใช้เป็นนิทาน
เพราะนิทานนั้นมีสีสันสดใสและรูปภาพประกอบที่ชวนให้น่าติดตาม และการไดเ้ ห็นรูปภาพจะช่วยให้เด็กเห็น
ภาพตามเน้ือเรื่องและเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว โดยประเภทของภาษาท่ีใช้ในนิทานเรื่องนี้จะคล้ายกับกลอนสี่
สุภาพ ที่มสี มั ผสั คลอ้ งจอง โดยใชร้ ะดับภาษาที่ไม่เปน็ ทางการเพอ่ื ใหก้ ลุ่มเดก็ อายปุ ระมาณ 4-6 ปี เขา้ ใจไดง้ ่าย
ข้ึน

หนังสือนิทาน เป็นส่ือท่ีมีบทบาทในการส่งเสริมพฤติกรรมของเด็กในวัยอายุ 3-4 ปี เพราะสามารถ
ส่งเสริมให้เดก็ ไดเ้ หน็ ตัวแบบท่ีดี การแกป้ ญั หา การเสรมิ แรงและการมปี ฏิสมั พนั ธก์ บั ผู้อ่ืน (เยาวนารถ พนั ธุเ์ พง็
, 2559)

เด็กในวัย 4-6 ปีนั้น สามารถใช้นิทานท่ีมีเรื่องยาว แต่เข้าใจง่าย เพื่อส่งเสริมจินตนาการและอิงความ
จริงได้ เพราะเด็กวัยนี้มีจินตนาการสร้างสรรค์ อยากรู้อยากเห็นส่ิงรอบตัว ท้ังธรรมชาติ สภาพแวดล้อมว่าสิ่ง
เหล่านี้มาจากท่ีไหนและทาไมจึงเปน็ เช่นนี้ และเป็นวยั ที่เข้าใจความแตกต่างระหวา่ งเรื่องจริงและเร่ืองที่สมมุติ
ขน้ึ มา (สถาบันสื่อเดก็ และเยาวชน (สสย.), 2555)

คณะผู้จัดทาได้มีการวางเนื้อหาโดยมุ่งเน้นไปที่วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธมุ์ อแกลน ในดา้ นท่ีมีความ
เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เพ่ือเป็นการปลูกฝังให้เด็กได้รับรู้ถึงการมีอยู่ของกลุ่มชาติพันธ์ุมอแกลน จน
นาไปสู่การเข้าใจและเกิดการเคารพอัตลักษณ์ (Identity) ทางวัฒนธรรม และการแสดงออกของกลุ่มชาติพันธุ์
ได้ อีกทั้งยังเปน็ การปลูกฝังให้เด็กเกิดทักษะของการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒธรรม การ
เปิดใจมองวัฒนธรรมอ่นื ที่ต่างจากตนเองอย่างไม่ด่วนตัดสิน (School Team, 2564) เพราะในปจั จุบนั เป็นยุค
ท่ีท่ัวโลกโอบรับความหลากหลายของผู้คน หลายประเทศสร้างฐานแนวคิดน้ีให้ประชากรต้ังแต่เด็ก ปลูกฝังท้ัง
ในสถาบันครอบครัวไปจนถึงนโยบายระดับประเทศ (สุดารัตน์ พรมสีใหม่, ม.ป.ป.) ประเทศไทยเองนับว่าเป็น
สังคมท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม จึงควรที่จะมีการส่งเสริมและปลูกฝังการยอมรับในความแตกต่าง
หลากหลายทางวฒั นธรรมให้แก่เด็กและเยาวชนเช่นเดยี วกัน

สาเหตุท่ีนาเสนอวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุมอแกลนในด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหลักน้ันเป็นเพราะ
ธรรมชาตขิ องเด็กในวัยนี้สนใจที่จะเรยี นรู้ ค้นคว้า ทดลอง และตอ้ งการสัมผสั กบั สิ่งแวดลอ้ มรอบ ๆ ตวั
(ผกามาศ บารุงศิลป์, 2556) และจากการศึกษาข้อมูลพบว่า การสร้างพฤติกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมน้ันมี
ความสาคัญอย่างย่ิง และต้องเร่มิ ในวัยต้นของชวี ิตคอื เริ่มตงั้ แตป่ ฐมวัย เน่ืองจากเด็กในวัยน้ีเป็นวัยที่เหมาะสม

4

ในการสร้างพฤติกรรมให้เด็กมีสานึกในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เพราะนอกจากจะช่วยยับย้ังปัญหาท่ีกาลัง
ดาเนินอยู่แล้ว ยังเป็นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของเด็ก ซ่ึงทาให้เด็กมีพฤติกรรมต่อสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสมตามสถานการณ์ได้ดี และช่วยให้เด็กพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ท่ีสานึกในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมได้เป็น
อยา่ งดอี กี ดว้ ย (ขวญั ฟา้ รงั สยิ านนท,์ 2553; ณัฐพร สาทิสกุล, 2558)

สาเหตุทเี่ ลอื กใช้การเล่าเรื่องใหม้ ีสมั ผัสคลอ้ งจองประกอบภาพน้นั เป็นเพราะ
1.เพ่อื พัฒนาภาษา เพราะภาษานนั้ ถอื เปน็ รากฐานท่ีสาคญั สาหรบั พฒั นาการด้านตา่ ง ๆ เชน่
ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา เป็นต้น ซ่ึงเม่ือได้ฟังแล้วเด็กก็จะเกิดการเรียนรู้ โดยจะเริ่มคิด เริ่มทา
ความเขา้ ใจ และกลายเปน็ จาความหมายของคาได้ ซ่ึงจะถา่ ยทอดออกมาผ่านการพูด เม่ือพูดไดก้ ็จะพฒั นาไปท่ี
การเขยี น และการอา่ นได้ในอนาคต (ณภัทรสร จรจรญั , 2551)
2.เพ่ือให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีจินตนาการคล้อยตามไปกับเนื้อเร่ือง และช่วยให้เด็กกับ
ผู้ใหญ่มคี วามสัมพนั ธท์ ี่ดตี ่อกัน จากการทีไ่ ดท้ ากิจกรรมรว่ มกัน
ครอบครัว เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการส่ือสารและเปน็ ส่ิงเร้าที่สามารถกระตุ้นความสนใจจนเกิดการ
แสดงออกในด้านพฤติกรรม ได้แก่ การบอกต่อ การเล่าต่อ รวมถึงการปฏิบัติตาม ในด้านการรับรู้ และความ
เช่ือของเด็ก ท้ังน้ีเป็นเพราะการที่ คุณแม่ที่เป็นคนเล่านิทานทาให้ความหมายท่ีถูกประกอบสร้างข้ึนส่งผ่านไป
ให้เด็กเกิดการรับรู้มีความหลากหลาย (Polysemy) ไปด้วย โดยการเติมเน้ือหา น้าเสียงเพิ่มเติม และมีการใส่
การถอดรหัสจากการอ่านของคุณแม่ สื่อสารไปยังลูกอีกขั้นหนึ่ง (เยาวนารถ พันธ์ุเพ็ง, 2559) ซึ่งก่อนท่ีคุณแม่
จะทาการส่ือสารจนนาไปสู่การถอดรหัสไดน้ ้ัน ตัวคุณแม่เองจะต้องมีการทาความเข้าใจในเนื้อหาและทาความ
รู้จักกับกลุ่มชาติพันธ์มอแกลนก่อนที่จะนาสารนั้นไปถ่ายทอดต่อได้

แนวทางการเผยแพร่

คณะผู้จัดทาจะนาสื่อช้ินนี้ไปเผยแพร่ให้กับ ‘กลุ่มโฮมสคูล กลุ่มการศึกษานอกระบบ (กศน.) และ
สถาบันการศึกษาทางไกล’ ผ่านเฟซบุ๊ก โดยจะทาการโพสต์รูปภาพพร้อมแนบไฟล์นิทานฉบับสมบูรณ์ใน
รูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพ่ือให้ผู้ปกครองและผู้ท่ีมีความสนใจได้นาไปถ่ายทอดให้แก่บุตร
หลาน

5

รายละเอยี ดเพมิ่ เติมจากส่ือ

วิธกี ารใช้สื่อ

1. ผู้ใช้อ่านและทาความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลส่ือเบ้ืองต้น รวมท้ังทาการศึกษาข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
เก่ยี วกับการใชส้ อ่ื เพอื่ ใหส้ ามารถอธบิ ายเน้อื หาและความรู้เพ่มิ เติมทีน่ อกเหนือจากตัวส่อื ได้

2. ผู้ใช้สามารถชวนต้ังคาถามและสร้างบรรยากาศในการเล่านิทาน โดยการใช้น้าเสียงสูง-ต่า เพื่อสร้าง
แรงจงู ใจในการเรยี นร้ใู ห้แกผ่ ู้รบั สารได้

3. ผู้ใช้สามารถเปิดภาพประกอบท่ีนอกเหนือจากตัวสื่อได้ เพื่อให้ผู้รับสารไดร้ ับสารท่ีสมจริง โดยผู้จัดทา
ไดแ้ นบ QR code สาหรบั สแกนรูปภาพประกอบไว้ในคู่มือ

ความรู้เพ่ิมเตมิ จากเนือ้ หาภายในสอ่ื

 ทาความรู้จกั กลุม่ ชาติพนั ธุม์ อแกลน
กลุ่มชาติพันธุ์มอแกลนถูกจัดอยู่ในกลุ่มชายขอบ น่ันคือกลุ่มคนที่ต้องเคล่ือนย้ายจากภูมิลาเนาดั้งเดิม

ด้วยเหตผุ ลทางธรรมชาติ เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม การตัง้ ถิ่นฐาน การประกอบอาชีพ หรือวิถี
ชวี ิตของคนกล่มุ นี้ตอ้ งเผชิญกบั การแก่งแย่งแขง่ ขันเพอ่ื เขา้ ถงึ ทรพั ยากรที่มอี ย่อู ย่างจากัดจากคนกลุม่ ใหญ่
(ธัชชนก สตั ยวินิจ, ม.ป.ป.)

ชาวมอแกลน คอื หน่ึงในชาวเล ในประเทศไทยชาวเลทีพ่ บมี 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ มอแกน มอแกลน และ
อรุ กั ลาโวย้ อาศัยในแทบทะเลอันดามัน แตเ่ ดิมมอแกลนเคยเปน็ ชนเผ่าพ้ืนเมืองดั้งเดมิ ของมลายู ต่อมา
มอแกลนถูกรุกรานจากพวกมาเลย์ จึงต้องอพยพลงไปเร่ร่อนในทะเล มีชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนเรือ ซ่ึงรู้จักกันใน
นามของ “ยปิ ซที ะเล” เพราะเปน็ ชนเผา่ เร่ร่อนเดนิ ทางไปตามเกาะตา่ ง ๆ ในทะเลจงึ มีความรแู้ ละสญั ชาตญาณ
เก่ียวกับทะเลเป็นอย่างดี

ในอดีตภาพลักษณ์ภายนอกของชาวเลถูกนาเสนอด้วยภาพของคนท่ีแต่งกายเส้ือผ้าสกปรก ผิวคล้า
เนือ้ ตัวมอมแมม เคย้ี วหมากปากดา เดนิ เท้าเปลา่ เน่ืองมาจากข้อจากดั ของการอาศยั อยบู่ นเรือหรือใช้เวลาส่วน
ใหญ่ในเรือ ซ่ึงไม่สามารถจะบรรทุกน้าจืดไปได้ในปริมาณมาก ๆ จึงไม่มีโอกาสได้รักษาความสะอาดร่างกาย
รวมทั้งเส้ือผ้าสิ่งของต่าง ๆ มากนัก ชาวมอแกลนมีความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์ และแหล่งธรรมชาติเป็นอย่างดี
เพราะมวี ถิ ีชีวติ ด้งั เดิมท่ีอยูร่ ่วมกบั ธรรมชาติ การศึกษาในปัจจบุ ันชาวมอแกลนมีการเข้าถึงการศกึ ษาภาคบังคับ
มกี ารจดั การเรียนรูด้ ้วยหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ เชื่อมกับหลักสูตรแกนกลาง

จากการสัมภาษณ์ คุณ เก๋ วิทวัส เทพสง รองประธานสภาชนเผ่าพ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย ตัวแทน
ของชาวมอแกลน ทาให้ได้ข้อมูลเพ่ิมเติมว่า ชาวมอแกลนมีความจาเป็นที่จะต้องดาเนินวิถีชีวิตโดยการพึ่งพา
ธรรมชาตแิ ละจะต้องไม่สูญเสียธรรมชาตไิ ปมากกว่าเดิม เนื่องจากชาวมอแกลนไม่สามารถพฒั นาทักษะใหม่ ๆ
ได้เท่าทันกับคนในสังคม เช่น ทักษะการซ่อมรถจักรยานยนต์ ทักษะการซ่อมเครื่องมือส่ือสาร ทักษะการจัด
จาหน่ายสินค้าสู่ตลาด ทั้งนี้เป็นเพราะทักษะดังกล่าวต่างเป็นทักษะท่ีมีความเกี่ยวข้องกับสิ่งประดิษฐ์และต้อง
ผลิตข้นึ มา หรอื แมแ้ ตก่ ารแปรรปู วัตถุดบิ ในปริมาณมากก็ตาม ถือเป็นเร่อื งยากสาหรับชาวมอแกลนที่ไมม่ ีความ
ถนัดในทักษะข้างตน้ เพราะไม่ใชว่ ิถีด้งั เดิมของชาวมอแกลน การที่จะยกระดับทกั ษะเหล่าน้ใี หแ้ ก่ชาวมอแกลน

6

ได้น้นั มคี วามจาเปน็ ทจ่ี ะต้องไดร้ บั การสนับสนุนจากทางภาครัฐ แต่ในการดาเนนิ งานของทางภาครัฐเองนั้น ยงั
ไม่มีการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้ชาวมอแกลนได้พฒั นาทักษะดังกล่าว เช่นเดียวกับท่ีสนับสนุนใหแ้ ก่ประชาชน
โดยทั่วไป ดังน้ันชาวมอแกลนจึงต้องยกระดับคุณค่าในอตั ลักษณ์และวัฒนธรรม ท่ีเป็นความภาคภูมิใจของตน
ขึ้นมา โดยการเปิดหลักสูตรการเรียนรู้วัฒนธรรมชาวเลมอแกลน ‘มอแกลนพาเที่ยว’ เพ่ือเป็นพื้นที่ในการให้
ความรู้ และสะท้อนถึงวิถีชีวิตที่มีความสอดคล้องกับธรรมชาติ ในแง่มุมที่มีความสวยงามตามแบบฉบับของ
ตนเองใหก้ ับนักท่องเที่ยวและผู้ท่มี ีความสนใจ อีกท้ัง ‘มอแกลนพาเทย่ี ว’ ยงั เปน็ แหลง่ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
ท่สี ่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวให้กบั ประเทศอกี ด้วย

(วทิ วัส เทพสง, สมั ภาษณ,์ 5 มนี าคม 2564)

 ทาไมตอ้ งชุมชนมอแกลนทบั ตะวันและมอแกลนบนไร่
ผู้จัดทาได้มีการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับกลุ่มชาติพันธุ์มอแกลน จากแหล่งข้อมูลท่ีมีความน่าเช่ือถือตาม

แหล่งต่าง ๆ รวมท้ังได้มีการสัมภาษณ์และสอบถามข้อมูลจาก คุณ เก๋ วิทวัส เทพสง รองประธานสภาชนเผ่า
พ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นตัวแทนของชาวมอแกลน โดยชุมชนท่ีคุณเก๋อาศัยอยู่นั้น คือ ชุมชนมอแกลน
ทับตะวันและมอแกลนบนไร่ ตั้งอยู่ บ้านบางสัก หมู่ท่ี 7 ต.บางม่วง อ.ตะก่ัวป่า จ.พังงา ชมุ ชนดังกล่าวได้มกี าร
จัดทาการท่องเท่ียววิถีชุมชน ‘มอแกลนพาเท่ียว’ ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บนพื้นที่คุ้มครองทาง
วัฒนธรรม โดยนักท่องเท่ียวสามารถเข้ามาเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตในการทามาหากิน การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
และวัฒนธรรมของชุมชนมอแกลน ดังนั้นข้อมูลและเนื้อหาของสื่อส่วนใหญ่ที่ผู้จัดทาได้นาเสนอ ท้ังในด้าน
ธรรมชาติ และวัฒนธรรม ผู้จัดทาได้มีการใช้ข้อมูลจากกลุ่มเฟซบุ๊ค ‘The Moklan Tour มอแกลนพาเท่ียว’
ดังนนั้ จงึ เปน็ เหตผุ ลท่วี า่ ทาไมถึงเลอื กใชช้ ุมชนมอแกลนทบั ตะวัน มอแกลนบนไร่ ลงในเนอื้ หาของสอ่ื น่นั เอง

นอกจากชุมชนมอแกลนทับตะวัน มอแกลนบนไร่ ยังมีชุมชนมอแกลนอื่น ๆ ที่กระจายตัวอยู่ตาม
จังหวัดพังงา และภูเกต็ ดังนี้

7

ตาราง จานวนครอบครัวและประชากรชาวมอแกลนจาแนกเป็นรายชุมชน

ชมุ ชนมอแกลน ประชากรมอแกลน

เกาะนก ครวั เรอื น/ครอบครวั ประชากร
ขนมิ
คลองญวนใต้ 80 189
ลาแกน่ 32 73
ลาปี 20 48
หินลาด 43 112
ทบั ปลา 49 130
บางสัก-ทับตะวนั
บนไร่ 50 108
บา้ นนา้ เคม็ 112 201
ท่าปากแหว่ง
บางขยะ 60 134
ท่าแป๊ะโย้ย 38 89
ทุ่งดาบ 12 38
เทพประทาน 39 81
ทา่ ฉัตรชยั 56 126
หินลกู เดยี ว
36 80
25 33

18 32
149 303
40 90

รวม 859 1867

ทม่ี า จากการสารวจโครงการ kpemic ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2560
(มูลนิธชิ นเผ่าพื้นเมอื งเพอ่ื การศกึ ษาและสิง่ แวดล้อม, ม.ป.ป.)

8

 ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เกยี่ วกบั การใช้สื่อ
ข้อเสนอแนะในส่วนนี้เป็นข้อมูลเพื่ออธิบายข้อความ และความหมายที่ปรากฏอยู่ในส่ือให้มี

ความชดั เจนมากยงิ่ ขน้ึ ผู้จัดทาได้มีการสอดแทรกความรเู้ พม่ิ เติมจากตวั สอ่ื

ลา เน้อื หา หมายเหตุ
ดั ภาพ


เชา้ นีแ้ สงแดดสดใส เพราะสายไหมจะไดไ้ ป

เทย่ี ว

1 คุณพ่อ คุณแมบ่ อกว่า วันนจ้ี ะพาไปยังแดน

ใต้

‘ชมุ ชนมอแกลนทับตะวันและมอแกลน

วา่ แลว้ ก็ออกเดนิ ทาง ผ่านจังหวดั บนไร่’ เปน็ ชือ่ ของชมุ ชนมอแกลนซึง่

ต่าง ๆ ไปยงั จดุ หมาย ต้งั อยู่ท่หี มู่บ้านบางสกั จงั หวดั พังงา

2 สถานที่ท่จี ะไปนน้ั คือชมุ ชนมอแกลนทบั นอกจากชมุ ชนดงั กลา่ วแล้วชาวมอแกลน

ตะวัน บนไร่ ยังอาศยั กระจายตวั อยูต่ ามชุมชนตา่ ง ๆ

รวมแล้ว 17 ชมุ ชน

3 ต้ังอยจู่ งั หวดั พงั งา อาเภอตะก่วั ป่า ‘ทิศใต’้ ในท่ีนี้หมายถงึ จังหวดั ภเู กต็
มชี ุมชนหลากหลาย รวมแลว้ 15 ชุมชน เนอื่ งจากทิศใตข้ องจังหวดั พังงาตดิ กับ
กระจายตัวท่วมท้น อีก 2 ชมุ ชนอยู่ทางทศิ จงั หวัดภเู กต็ และทะเลอันดามัน

ใต้

ชาวบ้านทาการประมงและยังดารงภมู ิ ผูอ้ ่านอาจส่งเสริมการเรียนรู้ใหก้ ับผู้รับ

ปญั ญาไว้ สื่อดว้ ยการชวนดูลกั ษณะของชาวมอ

4 หาสตั วท์ ะเลชายฝ่ัง อาศยั อยตู่ ามแนว แกลนทั้งในด้านการใช้ชีวิตความเปน็ อยู่
ปะการงั บา้ นเรือนเรยี งราย การแตง่ กาย และลักษณะทางรา่ งกาย

9

5 งึก ๆ เจา้ เตา่ เดินมา คณุ ลุงบอกวา่ มันชอบ ‘สายใบ’ คือ พชื ชนิดหนง่ึ ท่เี ปน็ อาหาร
กนิ สายใบ ของเตา่ และยังสามารถนามาประกอบ

อะนี่..หนลู องไปปอ้ น เจ้าเตา่ หน้าออ้ น ทา อาหารได้
ตาใส ๆ

ตรงนน้ั เหน็ เปน็ วุ้น ๆ ตัวใสไมข่ ุ่นนน่ั คอื ‘รบู นุ๊ ’ เป็นคาเรยี กแมงกะพรุนในภาษา

อะไร มอแกลน ผจู้ ัดทาเขยี นตามการอ่านออก

6 ภาษาไทยเรียกแมงกะพรนุ จอก ภาษามอ เสียง ร-ู บนุ๊ เน่อื งจากภาษามอแกลนไมม่ ี

แกลนอา่ นออกว่ารบู ุ๊นไง ภาษาเขียน

‘หอยยิ้ม’ คือหอยชนิดเดียวกบั หอยกนั
ชาวมอแกลนเรียกหอยย้ิมเพราะปากของ
หอยนัน้ จะอ้าออก

ชาวมอแกลนมีวิถชี วี ติ ที่เรียบง่ายโดยมี
คุณป้านห่ี อยอะไรคะ นห่ี อยกันจ่ะนามา การพ่งึ พงิ ธรรมชาติ และจะใช้ประโยชน์
ทาอาหารได้
จากธรรมชาตอิ ย่างพอดี ในการทา
หอยคราง หอยแครง หอยยิม้ นา่ กนิ จริง ๆ ประมงและหาสัตวท์ ะเลมาประกอบ
7 แต่ต้องรอเติบใหญ่
อาหารนัน้ ชาวมอแกลนจะใช้ความรู้ทาง

ภมู ปิ ัญญาท่สี บื ทอดต่อกันมาท้ังวิธกี าร

จบั การใช้เครือ่ งมอื ตลอดจนการ

คานึงถงึ การขยายพนั ธขุ์ องสัตว์น้า และ

การไม่ทาลายระบบนิเวศน์

ชาวมอแกลนจะเคารพตอ่ คาสอนของ

บรรพบรุ ษุ และความเชือ่ ของ

ถา้ จับเจา้ ตัวเล็กมา เจา้ หอยนน้ั หนาอาจสญู มอแกลนทว่ี ่า หากสว่ นใดสว่ นหน่งึ ของ

พันธ์ุไป ธรรมชาตถิ กู ทาลาย จะเกดิ ผลกระทบกบั

8 ตอ้ งปลอ่ ยใหห้ อยกลับบ้าน เพราะจะเป็น สว่ นท่ีเหลือทนั ที คาสอนและความเขา้ ใจ
การอนรุ กั ษไ์ ว้ จงึ เปน็ เส้นกาหนดการหากิน และอยู่

ร่วมกบั ธรรมชาติ

(อรสา ศรีดาวเรอื ง, 2562)

10

ตน้ ไม้ใบหญ้า ตามธรรมชาติ

9 ชาวมอแกลนเกง่ กาจใช้เปน็ ยาสมนุ ไพร
รักษาอาการเจบ็ ป่วย ทง้ั ยงั หยบิ ฉวยทาเปน็

ข้าวของเครอื่ งใช้

‘ใบเตยโดง’ มีหลายช่อื เรียกไม่ว่าจะเปน็
เตยทะเล เตยหนาม หรือตน้ ลาเจยี ก
เป็นพืชทข่ี ้นึ ตามชายทะเล ชาวมอแกลน
สานเส่ือด้วยใบเตยโดง และค่อย ๆ โคง้ โกง่ มกั นาใบของต้นเตยมาทาเปน็ เสื่อ และ
เปน็ ตะกรา้ ได้ เตยโดงท้งั แนน่ ท้งั เหนียว ตะกร้าสาหรบั ใส่ขา้ วของเครอ่ื งใช้

10 หากเผลอนิดเดียวอาจโดนหนามบาดงา่ ย นอกจากน้ียังนามาทาเป็นยารกั ษาโรคได้

อีกดว้ ย สรรพคุณของเตยทะเล เชน่
บารุงหวั ใจ แก้พิษไข้ ขับเสมหะ ขับน่ิว
ขบั ปัสสาวะ ฯลฯ

11 สายไหมมาเทย่ี วจังหวัดพงั งา อาเภอตะก่วั

ป่า ตื่นตาต่นื ใจ รู้จกั รกั ษาธรรมชาติ ดูแล

ชายหาด ยั่งยนื สืบไป

11

 QR Code ภาพประกอบเพม่ิ เติม
ผจู้ ดั ทาไดท้ าการจดั ทา QR Code ภาพประกอบเพื่อใหผ้ ใู้ ช้และผรู้ บั สารไดร้ ับสารที่มคี วามชัดเจนและ
เป็นรูปธรรมมากย่ิงขึ้น จากการที่ได้เห็นสิ่งมีชีวิตและส่ิงประดิษฐ์ทางภูมิปัญญาของชาวมอแกลนท่ี
เป็นของจริง

QR Code แสดงภาพ ‘สายใบ’ QR Code แสดงภาพ ‘แมงกะพรุนจอก’

QR Code แสดงภาพ ‘หอยกัน/หอยยิม้ ’ QR Code แสดงภาพ ‘หอยคราง’

QR Code แสดงภาพ ‘หอยแครง’ QR Code แสดงภาพ ‘เตยโดง’

12

รายการอ้างอิง

การสมั ภาษณ์
วิทวัส เทพสง. รองประธานสภาชนเผ่าพนื้ เมืองแห่งประเทศไทย. (5 มีนาคม 2564). สัมภาษณ.์

บทความวารสาร
ณัฐพร สาทสิ กลุ . (2558). ผลของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ตามแนววทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม

ส่งิ แวดล้อมทมี่ ตี ่อพฤตกิ รรมการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มของเด็กวยั อนุบาล, 10(3), 601-613.

ธนติ เจริญสขุ . (ม.ป.ป.). มอแกลน : ตานานแหง่ ท้องทะเลอันดามนั , 43(2), สบื คน้ 6 เมษายน 2564, จาก
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/download/30852/26614

ธัชชนก สตั ยวินจิ . (ม.ป.ป.). สิทธขิ องคนชายขอบกบั ปญั หาทดี่ ินทากิน : กรณศี กึ ษาชาวเขาเผา่ มง้ ปา่ กลาง
อาเภอเชยี งกลาง จังหวัดนา่ น, 2(1), สืบค้น 6 เมษายน 2564, จาก http://www.polsci-
law.buu.ac.th/pegjournal/document/2-1/5.pdf

เยาวนารถ พันธุ์เพ็ง. (2559). การสร้างอักลกั ษณ์เด็กผู้หญงิ ผ่านวรรณกรรมนทิ านเรื่อง “ก๋งุ กิง๋ ”, 30(95),
สบื ค้น 27 มนี าคม 2564, จาก https://so05.tci-
thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/download/244150/165854/

รายงานทางเทคนคิ และรายงานการวิจัย
มลู นธิ ชิ นเผา่ พ้ืนเมอื งเพ่ือการศึกษาและส่งิ แวดลอ้ ม (ม.ก.ส.). (ม.ป.ป.). ชนเผา่ พ้ืนเมืองมอแกลน.

สบื คน้ 4 เมษายน 2564, จาก
https://iwgia.org/images/publications/new-
publications/Moklen_report_Thailand_synthesis_report_Thai.pdf

วิทยานพิ นธ์
ณภทั รสร จรจรญั . (2551). ความสามารถดานการฟงและการพดู ของเด็กปฐมวยั ทใ่ี ชคาคลองจองประกอบ

ภาพ(ปรญิ ญานพิ นธ์). กรงุ เทพมหานคร. มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. สืบคน้ จาก
http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Narpatson_J.pdf

สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์
ผกามาศ บารุงศิลป์. (2556). การจดั ประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวยั . สบื คน้ 7 เมษายน 2564,

จาก http://special2.dusitcenter.org/cdcnews/content.php?nid=2427

ศนู ยภ์ ูมิวฒั นธรรมมอแกลน. (ม.ป.ป.). ศูนยภ์ ูมวิ ัฒนธรรมมอแกลน. สบื คน้ 4 เมษายน 2564, จาก
https://moklen.thaipportal.info

13

สถาบันสือ่ เดก็ และเยาวชน (สสย.). (2555). คุณคา่ ของนทิ าน. สืบคน้ 6 เมษายน 2564, จาก
https://www.happyreading.in.th/news/detail.php?id=293&fbclid=IwAR0R5GP_c0_IJniFA
q0d7YGZSCBAjQTkh1WvwYNaYboVWkdRlKfFfe37K20

สุดารัตน์ พรมสีใหม่. (ม.ป.ป.). จ๊กั กะจิ่งจิ่ง หนังสือที่ชวนเด็กค้นหาและเคารพความหลากหลายในตวั เองและ
คนอื่น. สืบคน้ 31 มนี าคม 2564, จาก https://adaymagazine.com/jakkajingjing/

สานักงานวฒั นธรรมจงั หวัดพงั งา. (2556). ท่ีตั้งและอาณาเขต. สืบคน้ 5 เมษายน 2564, จาก
https://www.m-culture.go.th/phangnga/ewt_news.php?nid=63

อรสา ศรีดาวเรอื ง. (2562). มอแกลนทบั ตะวนั ความ ‘เคว้ง’ ทแี่ ทท้ รู
เร่อื งสุขและเศร้าเชา้ สึนาม.ิ สบื ค้น 7 เมษายน 2564, จาก
https://www.leadershipforfuture.com/moglan-tabtawan-the-day-after-tsunami/

MotherShip MotherShip. (2558). Foodwork ชมุ ชนมอแกลน :
5 เม.ย. 58 (HD) [Video file]. สืบคน้ 7 เมษายน 2564, จาก
https://www.youtube.com/watch?v=UCHJoSDEk-Q&t=250s

School Team. (2564). [TK DreamMakers] ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและภาษา
Cultural and Language Diversity. สบื คน้ 7 เมษายน 2564, จาก
https://www.schoolofchangemakers.com/knowledge/28574/

The Moklan Tour มอแกลนพาเทย่ี ว. (2563). “ใบเตยโดง” [Web blog message]. สบื คน้
5 เมษายน 2564, จาก
https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=260099342222400&id=10482266775006
9&sfnsn=mo

The Moklan Tour มอแกลนพาเทีย่ ว. (2564). มอแกลนพาเที่ยวทา่ ใหญ่ [Video file]. สบื คน้
5 เมษายน 2564, จาก
https://www.facebook.com/104822667750069/videos/843972249505926

The Moklan Tour มอแกลนพาเที่ยว. (2563). สมนุ ไพรที่กลายเปน็ วัชพชื [Web blog message]. สืบค้น
5 เมษายน 2564, จาก
https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=260099342222400&id=10482266775006
9&sfnsn=mo

The Moklan Tour มอแกลนพาเทยี่ ว. (2563). สารคด“ี รจู้ กั ไหม...มอแกลนพาเท่ยี ว” [Video file]. สืบค้น

14

5 เมษายน 2564, จาก
https://www.facebook.com/MoklanIndigenousPepleoftheAndaman/videos/249118589
1105222/

The Moklan Tour มอแกลนพาเท่ยี ว. (2564). หอ้ งเรียนวิถชี าวเล [Video file]. สบื คน้
5 เมษายน 2564, จาก
https://www.facebook.com/104822667750069/videos/833016580887369


Click to View FlipBook Version