โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ก คำนำ เอกสารแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะผู้เรียนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาฉบับนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อ เข้ารับการพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างสมรร ถะผู้เรียนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงศตวรรษที่ 21 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เพื่อพัฒนา ผู้เรียนด้วยวิธีการที่เน้นแนวคิด การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning โดยคำนึงถึงบริบทของ แต่ละพื้นที่ (Area-based Education) และการเรียนรู้ตามความถนัดของบุคคล (Personalized Learning) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 โรงเรียนบางปลาม้าขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียนที่มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารรายงานฉบับนี้และหวังว่าเอกสารรายงาน ฉบับนี้ จะได้รับการพิจารณาและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาต่อไป โรงเรียนบางปลาม้า กรกฎาคม 2566
โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 แบบฟอร์มที่ รร.1 สรุปข้อมูลการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ตามทักษะการเรียนรู้ 3Rs 8Cs - ข้อมูลจำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการพัฒนาฯ 1 ส่วนที่ 2 แบบฟอร์มที่ รร.2 การถอดบทเรียน (Lesson learned) - สังเคราะห์ข้อมูลการดำเนินงานตามโครงการฯ ของโรงเรียนและสรุปรายงาน 3 ส่วนที่ 3 แบบรายงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) - ถอดประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และคัดเลือกวิธีปฏิบัติที่ดี(Best Practice) 14 ส่วนที่ 4 เอกสารประกอบอื่น ๆ /หลักฐาน/ร่องรอย - แผนการจัดการเรียนรู้ตัวอย่างสื่อ/นวัตกรรม 16
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 1 โรงเรียน บางปลาม้า จำนวนครูที่ร่วมดำเนินงาน ........................................10.......................................คน จำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด …............................68.........................…… คน กิจกรรมที่ดำเนินการส่งผลให้ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เกิดทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ดังนี้ จำนวนนักเรียน (คน) เอกสาร/ หลักฐาน/ ร่องรอย ช่วงชั้นที่ 1 (คน) ช่วงชั้นที่ 2 (คน) ช่วงชั้นที่ 3 (คน) ผลรวมทุกช่วงชั้น ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ร้อยละ 3Rs 1. Reading (อ่านออก) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 2. (W) Riting (เขียนได้) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 3. (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 8Cs 1. Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 2. Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 3. Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่าง วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 4. Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (สำหรับโรงเรียน) แบบฟอร์มที่ รร.1 สรุปข้อมูลการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามทักษะการ เรียนรู้ 3Rs8Cs
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 2 กิจกรรมที่ดำเนินการส่งผลให้ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เกิดทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ดังนี้ จำนวนนักเรียน (คน) เอกสาร/ หลักฐาน/ ร่องรอย ช่วงชั้นที่ 1 (คน) ช่วงชั้นที่ 2 (คน) ช่วงชั้นที่ 3 (คน) ผลรวมทุกช่วงชั้น ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ทั้งหมด ได้รับ การพัฒนา ร้อยละ 5. Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 6. Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 7. Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ 8. Compassion(ความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม และ จริยธรรม) 28 28 40 40 - - 68 68 100 เอกสารประกอบ หมายเหตุ ช่วงชั้นที่ 1 หมายถึง ระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น (ประถมศึกษาปีที่ 1-3) ช่วงชั้นที่ 2 หมายถึง ระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น (ประถมศึกษาปีที่ 4-6) ช่วงชั้นที่ 3 หมายถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 3 โรงเรียน บางปลาม้า ชื่อผู้รายงาน นางสาวดวงตา ศรีวิเชียร ตำแหน่ง ครู นางจุฑามาศ นุชโพธิ์พันธุ์ ตำแหน่ง ครู หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้080- 4244570 E-mail : [email protected] หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้087- 6903257 E-mail : [email protected] 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.เพื่อพัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณโดยใช้กิจกรรมส่งส เริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้กิจกรรมส่งเสริม ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3.เพื่อพัฒนารูปแบบวิธีการสอน รวมถึงนวัตกรรรมทางการศึกษา ในรูปแบบกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบ active learning 2. เป้าหมายในการดำเนินงานโครงการ 2.1 เชิงปริมาณ 1.ผู้เรียนร้อยละ 100 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณโดยใช้กิจกรรม ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.ผู้เรียนร้อยละ 100 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้กิจกรรม ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3.ครูผู้สอนร้อยละ 100 มีการพัฒนารูปแบบวิธีการสอน รวมถึงนวัตกรรรมทางการศึกษา ใน รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ active learning 2.2 เชิงคุณภาพ 1.ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3.ครูผู้สอนมีการพัฒนารูปแบบวิธีการสอน รวมถึงนวัตกรรรมทางการศึกษา ในรูปแบบ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ active learning แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (สำหรับโรงเรียน) แบบฟอร์มที่ รร.2 การถอดบทเรียน (Lesson learned)
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 4 กิจกรรมที่ 1 มีการดำเนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามบริบทของพื้นที่และผู้เรียน โครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ดำเนินงาน 1. ส่งเสริมการอ่านการเขียน 1.1 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ที่นักเรียนได้รับการพัฒนา 1) 3Rs 2) 8Cs 1.2 แนวทางการดำเนินงาน 1. คณะครูร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) เพื่อระบุประเด็นปัญหาที่พบในการจัด การเรียนรู้ และสิ่งที่ต้องการพัฒนา 2. รวบรวมข้อมูล แนวคิด วิธีการที่จะนำมาใช้ในการแก้ปัญหา 3. วางแผนการดำเนินกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการสอนโดยเน้นกระบวนการ active learning ดังนี้ 3.1) ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง เพื่อให้ได้รับ ประสบการณ์ตรง 3.2) จัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้วางแผน ดำเนินงาน นำเสนอผลงาน และประเมินผล การปฏิบัติงานของตนเองและเพื่อน 3.3) จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม 3.4) การสร้างและใช้สื่อ แบบฝึกต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนทักษะการอ่านการเขียนของ ผู้เรียน 4. ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม active learning เน้นการปฏิบัติจริงผ่าน กระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน การคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 5. จัดกิจกรรมเสริมที่ส่งเสริมทักษะการอ่าน การเขียน ดังนี้ 5.1) กิจกรรมเขียนตามคำบอก 5.2) กิจกรรมคัดลายมือ 5.3) กิจกรรมอ่านหนังสือทุกวัน (จัดทำสื่อการอ่าน) 5.4) กิจกรรมทดสอบการอ่านการเขียน (จัดทำแบบทดสอบการอ่านการเขียนแต่ละ ระดับชั้นและประเมินผลทุกเดือน) 6. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 5 1.3 ผลการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง 2. ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการอ่าน การเขียนที่หลากหลาย และกระตุ้นให้ นักเรียนมีส่วนร่วม มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) สูงกว่าระดับประเทศ ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ปีการศึกษา 2565 สูงกว่าระดับประเทศ
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 6 2. กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา 2.1 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ที่นักเรียนได้รับการพัฒนา 1) 3Rs 2) 8Cs 2.2 แนวทางการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โรงเรียน บางปลาม้ามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ เช่น กิจกรรมชุมนุมรักษ์ สิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมตามหลักสูตรท้องถิ่น สิ่งแวดล้อมศึกษา 5 เรื่อง คือ ขยะ น้ำ พลังงาน มลพิษ และอนามัย การจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา 7 ฐาน ได้แก่ ฐานสวนสมุนไพร ฐานบ้านเห็ด ฐานผักปลอดสารพิษ ฐานปุ๋ยหมักชีวภาพ ฐานไม้ผล ฐานไม้ประดับ และฐานผักสวน ครัว การบูรณาการเข้าไปในการจัดการเรียนการสอนในชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สอดแทรกบูรณา การในชั่วโมงเรียน ซึ่งมีรูปแบบการดำเนินงานดังนี้ กิจกรรมชุมนุมรักษ์สิ่งแวดล้อม : กิจกรรมชุมนุมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ นักเรียนตระหนักถึงการรักษา ส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม นักเรียนรู้จักแลกเปลี่ยน เผยแพร่ และ เสริมสร้างความรู้ความคิด ประสบการณ์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการช่วยเหลือในการให้ ความร่วมมือในกิจกรรมขององค์กรภายในและภายนอกโรงเรียนทางด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรม Zero Center ศูนย์กลาง สูญขยะ กิจกรรม ครีเอท center ขยะสร้างสรรค์ กิจกรรมผักสดใกล้ครัว กิจกรรม 2 รู้1 รักษ์ กิจกรรมหลักสูตรท้องถิ่น สิ่งแวดล้อมศึกษา โรงเรียนบางปลาม้ามีการจัดทำหลักสูตร ท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมให้แก่นักเรียน 5 เรื่อง ได้แก่ ขยะ น้ำ พลังงาน มลพิษ และอนามัย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ด้วย กระบวนการกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม จนก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในองค์ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตน เกิดแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชนได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้โรงเรียนและชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสม เอื้อต่อการดำรงชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืน กิจกรรมฐานการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา โรงเรียนบางปลาม้าจัดกิจกรรมฐานการ เรียนรู้ ด้านสิ่งแวดล้อมจำนวน 7 ฐาน ได้แก่ ฐานสวนสมุนไพร ฐานบ้านเห็ด ฐานผักปลอดสารพิษ ฐานปุ๋ยหมักชีวภาพ ฐานไม้ผล ฐานไม้ประดับ และฐานผักสวนครัว เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ตลอดจนทักษะในการลงมือปฏิบัติจริง จนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและ สามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองและชุมชนได้อย่างเหมาะสม 2.3 ผลการดำเนินงาน 1. นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการคัดแยก การกำจัดขยะที่ถูกวิธี เห็นคุณค่า ความสำคัญในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และนำขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้มาสร้างสรรค์ให้เกิด ประโยชน์ ทำให้ขยะในโรงเรียนและชุมชนมีปริมาณลดลงเพื่อเป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยัง
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 7 ส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนบางปลาม้าเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ และ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 2. นักเรียนได้เรียนรู้การประดิษฐ์ของใช้จากขยะ และสิ่งประดิษฐ์ที่นักเรียนได้สร้างสรรค์ขึ้น สามารถก่อให้เกิดประโยชน์ทางอ้อมตามมาอีกมากมาย เช่น การลดปริมาณขยะและของเหลือใช้ที่ บ้าน โรงเรียน และชุมชน ปลูกฝังจิตสำนึกให้นักเรียนเห็นคุณค่าของขยะและนำขยะกลับมาใช้อย่าง สร้างสรรค์ และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และช่วยสร้างมูลค่าให้กับขยะอีกด้วย รูปภาพการดำเนินกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 8 3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.1 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ที่นักเรียนได้รับการพัฒนา 1) 3Rs 2) 8Cs 3.2 แนวทางการดำเนินงาน โรงเรียนบางปลาม้าตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีดุลยภาพ ทั้งทางด้านทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ จึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนาเยาวชนใน ความรับผิดชอบของโรงเรียน โดยมุ่งให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ โลก มุ่งสู่ความเป็นสากลบนพื้นฐานความเป็นไทย โดยบูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เพื่อนำความรู้ในด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาเป็นกิจกรรมสำคัญเพื่อ จะส่งเสริมเยาวชนได้เรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นไทย และเป็นพื้นฐานของการประกอบอาชีพในอนาคต สามารถนำไปใช้พัฒนาผู้เรียนโดยตรง ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาอารมณ์และสังคม ทั้งยัง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองและรักษ์ความเป็นไทย ซึ่งมีรูปแบบการดำเนินงานดังนี้ กิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านการบรรเลงดนตรีไทย กิจกรรมการฝึกฝนให้นักเรียนทุกคนเล่นดนตรีไทยเป็น อย่างน้อย คนละ ๑ ชนิด เพื่อให้ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงวัฒนธรรม และเป็นการอนุรักษ์ สืบสาน ต่อยอด การเล่นดนตรีไทย ไม่ให้สูญหาย โดยมีวิทยากรท้องถิ่นที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลตำบลตะค่าเป็นผู้ ฝึกซ้อม ซึ่งโรงเรียนบางปลาม้าได้มีการอนุรักษ์ดนตรีไทยพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะคือ การบรรเลงเพลงไทยโดยใช้อังกะลุงมาอย่างต่อเนื่อง มีการฝึกอ่าน ฝึกเขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล การขับร้องเพลงอีแซวซึ่งเป็นศิลปะพื้นบ้านของชาวสุพรรณบุรี กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน กิจกรรมที่ช่วยปลูกฝังให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย เป็นการฝึกให้นักเรียนมี ทักษะในกาถ่ายความรู้สึกผ่านภาษากาย หรือการท่าทางการรำ โดยนักเรียนจะได้ฝึกการแสดง พื้นบ้านต่างๆ เพื่อนำมาประกอบพิธีในวันสำคัญที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น เช่น งานวันครู งานวันแม่ งาน พิธีเปิดต่างๆ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเห็นคุณค่าในความเป็นคนไทย และรู้จักอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ รวมถึงสร้างความภาคภูมิใจให้กับผู้ปกครอง คนในชุมชนที่ให้การสนับสนุนใน การทำกิจกรรมของนักเรียน 3.3 ผลการดำเนินงาน 1. นักเรียนทุกคนสามารถเล่นดนตรีไทยได้อย่างน้อย ๑ ชนิด สามารถบรรเลง หรือขับร้อง เพลงร่วมกับการประกอบจังหวะได้ นำเสนอผลงานผ่านรูปแบบการแสดง สามารถนำทักษะที่ปฏิบัติ ได้เผยแพร่ในกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 2. นักเรียนทุกคนผ่านการเรียนทักษะดนตรีไทยในรายวิชาศิลปะ โดยผลการเรียนเฉลี่ยวิชา ศิลปะดนตรีไทยของนักเรียนทั้งโรงเรียนอยู่ที่ร้อยละ 82.67 ซึ่งกว่าเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 9 กิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านการบรรเลงดนตรีไทย
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 10 กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 11 กิจกรรมที่ 2 จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และผู้เรียน การนำเสนอผลงานนักเรียน ประกวด แข่งขัน จัดค่าย ฯลฯ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 แนวทางการจัดกิจกรรม โรงเรียนบางปลาม้าได้ดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่และผู้เรียน โดยมีการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เนื่องในวันสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2565 เพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณและเทิดพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย” โดยมีการจัดกิจกรรมทางวิชาการต่างๆ การ จัดฐานกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ร่วมปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรมการประกวดชุดรีไซเคิล การแสดงหุ่นยนต์ กิจกรรมการแสดงต่างๆมากมาย เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญและความก้าวหน้าของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเสริมสร้างทักษะกระบวนการและตอบสนองกับการเรียนรู้ของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ได้รับความร่วมมือจากคณะครูและ ผู้เรียนทุกคน โดยผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้น และร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ อย่าง สนุกสนานส่งผลให้เกิดความรู้และทักษะต่างๆ ซึ่งตอบสนองกับการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมแต่ละฐานน้อยเกินไป ข้อเสนอแนะ 1. ควรเพิ่มเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละฐานเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติอย่าง เต็มที่ 2. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมให้เพียงพอ
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 12 ภาพกิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2565
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 13 กิจกรรมที่ 3 นิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา แนวทางการจัดกิจกรรม รูปแบบการนิเทศเชิงสมรรถนะ วิธีดำเนินการ 1. จัดทำโครงการในแผนปฏิบัติการประจำปี 2. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน 3. ดำเนินการตามรูปแบบการนิเทศเชิงสมรรถนะ 1. วิเคราะห์และค้นหาสมรรถนะของครูผู้สอน 1.1 ด้านการจัดการเรียนรู้ - วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดและจัดลำดับการพัฒนา - วิเคราะห์ประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนในแต่ละระดับชั้น/กลุ่มสาระการเรียนรู้ (หาจุดอ่อน/จุดแข็ง) 1.2 ด้านเทคโนโลยี สำรวจ ประเมินการใช้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์ การใช้ระบบปฏิบัติการ การใช้โปรแกรมพัฒนาสื่อและจัดการเรียนการสอน 1.3 ด้านภาษาและการสื่อสาร ประเมินการทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ด้วย ภาษาไทย จาการนิเทศการสอน และสัมภาษณ์นักเรียน 2. พัฒนาสมรรถนะ 2.1 ใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อแก้ไชปัญหาในการจัดการเรียนรู้และ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสบความสำเร็จตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๙
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 14 2.2 สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้โดยการแบ่งปันภูมิความรู้ และสมรรถนะส่วนบุคคลให้แก่กลุ่ม เพื่อนครู เช่น การใช้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดการเรียนรู้ การใช้โปรแกรมในการพัฒนา สื่อการเรียนรู้ 2.3 พัฒนาศักยภาพครูผู้สอนตามแผนพัฒนาศักยภาพรายบุคคล (ID Plan) ผ่านระบบ การอบรมออนไลน์ การจัดอบรมภายในโรงเรียน การจัดอบรมภายนอกโรงเรียน 3. จัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะกระบวนการเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 และจุดเน้นของโรงเรียนและต้นสังกัด ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานหลักสูตรสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน 4. สะท้อนผลและเติมเต็ม โดยใช้กระบวนการนิเทศ ติดตาม แบบกัลยาณมิตร โดยให้ - นิเทศแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยฝ่ายวิชาการ เพื่อนครูระดับชั้นใกล้เคียงหรือครูประจำกลุ่ม สาระเป็นผู้นิเทศการจัดการเรียนรู้ - นิเทศเพื่อการพัฒนา โดยผู้บริหารสถานศึกษาและฝ่ายวิชาการ และสรุปผลการนิเทศในที่ ประชุมเพื่อหาแบบอย่างการจัดการเรียนรู้ที่ควรเป็นแบบอย่างร่วมกัน - สร้างขวัญและกำลังใจโดยการสร้างบุคคลตัวอย่างในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นเลิศในแต่ ละด้าน/แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. สรุปและรายงานผล สรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี โดยนำผลการจัดการเรียนรู้ และผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับ มาวิเคราะห์และประเมินผลการพัฒนา และรายงานผลต่อ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และต้นสังกัด ผลการดำเนินงาน ด้านผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ และเจตคติ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐาน และสอดคล้องกับ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางพหุปัญญา โดยผู้เรียนมีความรู้ในด้านการอ่าน เขียน คิดคำนวณ การใช้ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การรู้รักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปะ ดนตรีไทย ดนตรีสากล การละเล่นพื้นบ้าน การกีฬา การทำงานร่วมกัน มีคุณธรรม จริยธรรมและใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ด้านครูผู้สอน ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยครูผู้สอนมีทักษะใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ดังนี้ 1. วิเคราะห์บริบทการจัดการเรียนรู้ได้แก่ วิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์ สมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน วิเคราะห์บริบทของโรงเรียน 2. วางแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร คุณลักษณะ สมรรถนะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ตามแนวทางจัดการเรียนรู้ Active Learning และ พหุปัญญา
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 15 3. จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน โดยใช้เทคโนโลยี กระบวนการกลุ่มและกิจกรรมที่เอื้อต่อการ พัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ 4. วัดและประเมินผลตามหลักสูตร ตามสภาพที่แท้จริง โดยยึดแนวทางการพัฒนาตาม ศักยภาพของผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยจำแนกนักเรียนตามความสามารถ ความถนัด และความในใจ มีการวัดผลและประเมินผลอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ 5. นำผลการจัดการเรียนรู้ ผลการวัดและประเมินผลมาพัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน สภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ครอบครัว ของผู้เรียนมีความแตกต่างกัน จึงมี ความแตกต่างในการเรียนรู้ ครูผู้สอนจึงต้องดูแลในเรื่องความพร้อมของผู้เรียนนอกจากการเรียนรู้ ตามหลักสูตร ภาระงานที่ไม่ใช่งานสอนของครูผู้สอนมีมาก ทำให้ครูผู้สอนไม่มีเวลาเตรียมการจัดการเรียนรู้ เตรียมสื่อการเรียนการสอน ได้เต็มตามศักยภาพ
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 16 3. แบบรายงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 3.1 ชื่อและบริบทของสถานศึกษา โรงเรียนบางปลาม้า ก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2499 ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลตะค่า อำเภอ บางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี มีเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งานโดยนายบุญ ศรีดี กำนันตำบลตะค่า ในสมัย นั้นเป็นหัวหน้าขอจัดตั้ง เดิมใช้ชื่อโรงเรียนบางปลาม้า “มัธยมสามัญ” เปิดทำการสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1–3 ใช้ศาลาการเปรียญวัดบางยี่หนเป็นที่จัดการเรียนการสอนต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนบางปลาม้า ปัจจุบันเปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้ปกครองของนักเรียนนับถือศาสนาพุทธและยึดมั่นอยู่ในศีลธรรมอันดี ปฏิบัติตนตาม วัฒนธรรมที่ดีและร่วมกิจกรรมทางศาสนาของหมู่บ้านทุกประเพณี วันพระไปร่วมทำบุญ คนสูงอายุจะ อยู่วัดปฏิบัติธรรม มีความเคารพนับถือพระ มีการปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวพุทธใน เรื่องของประเพณี การทำบุญวันตรุษ สงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันสารท วันออกพรรษา และวันสำคัญ ทางพุทธศาสนา รวมทั้งวันสำคัญของพระมหากษัตริย์ยังเป็นแนวปฏิบัติที่ดีของชุมชน ประเพณีต่างๆ การร่วมงานบุญ เช่น งานบวช ทำบุญบ้าน ทำบุญอายุประชาชนในหมู่บ้านยังยึดมั่น เป็นสิ่งที่ดีงาม เป็นการปลูกฝังแนวทางปฏิบัติที่ดีให้กับนักเรียนซึ่งเป็นการเสริมสร้างการเป็นคนดีต่อไป 3.2 ชื่อนวัตกรรม/ผลงานความเป็นมาและความสำคัญ โรงเรียนดนตรีไทย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ 3.3 วัตถุประสงค์ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ที่ส่งเสริมให้เด็กไทยทุกคนเล่นดนตรีไทยเป็นอย่าง น้อยคนละ 1 ชนิด ทั้งนี้ กิจกรรมโรงเรียนดนตรีไทย 100 เปอร์เซ็นต์มุ่งผลสัมฤทธิ์ให้เกิดการเรียนการ สอนดนตรีไทยต่อเด็กนักเรียนในสถานศึกษา จนนำไปสู่การเล่นดนตรีไทยเป็นทุกคนต่อไป 3.4 การดำเนินงาน - กรอบแนวคิด ส่งเสริมให้เด็กไทยทุกคนเล่นดนตรีไทยเป็นอย่างน้อยคนละ 1ชนิด - กรอบการดำเนินงาน โรงเรียนบางปลาม้า จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการวิชาดนตรีไทยลงในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ ซึ่งแบ่งเป็น 3 สาระ คือ ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับ ความรู้ด้านดนตรี ที่สอดแทรกอยู่ในสาระทัศนศิลป์และนาฏศิลป์ด้วย นอกจากนี้ได้จัดให้มีการเรียน วิชาดนตรีไทยในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ในช่วงเย็นของทุกวัน โดยนักเรียนจะฝึกปฏิบัติดนตรี ไทยในเวลานี้ ไม่ว่าจะเป็นการร้องเพลงไทยเดิม เพลงพื้นบ้าน ดนตรีไทยวงปี่พาทย์ วงอังกะลุง ดนตรี พื้นบ้าน กลองยาว เป็นต้น
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 17 3.5 ผลสำเร็จของการดำเนินงาน - ผลที่เกิดกับผู้เรียน - ด้านการปฏิบัติ นักเรียนทุกคนสามารถปฏิบัติดนตรีไทยได้อย่างน้อย 1 ชนิด สามารถ บรรเลง หรือขับร้องเพลงร่วมกับการประกอบจังหวะได้ นำเสนอผลงานผ่านรูปแบบการแสดง สามารถนำทักษะที่ปฏิบัติได้เผยแพร่ในกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม - ด้านการจัดการเรียนการสอน นักเรียนทุกคนผ่านการเรียนทักษะดนตรีไทยในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยผลการเรียนเฉลี่ยวิชาศิลปะดนตรีไทยของนักเรียนทั้งโรงเรียนอยู่ที่ 82.67 - ผลที่เกิดกับครู - ด้านครูผู้สอน ได้รับรางวัล ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการ แข่งขันวงอังกะลุง ระดับชั้น ป.1-ป.6 งานศิลปะหัตกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 - ปัจจัยความสำเร็จ - โรงเรียนได้รับโล่รางวัลโรงเรียนดนตรีไทย 100 เปอร์เซ็น ระดับดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม - ผู้บริหารส่งเสริมกิจกรรมดนตรีไทย จัดให้มีการเรียนการสอนรายวิชาดนตรีไทยเพิ่มเติม ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ - กรรมการสถานศึกษาร่วมกันหาแนวทางสนับสนุนโรงเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนด้านดนตรีไทย อำนวยความสะดวกการจัดหาวิทยากร ตลอดจนสนับสนุนงบประมาณจัดหา เครื่องดนตรี - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนงบประมาณในการจัดจ้างบุคลากรด้านดนตรีไทย ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ข่าวสาร ด้านดนตรีไทยสู่ชุมชน - ชุมชนให้ความร่วมมือในการส่งเสริมบุตรหลานให้มีทักษะทางดนตรีไทย สนับสนุนการ เรียนดนตรีไทยนอกเวลา จัดหาอาหารว่างเลี้ยงนักเรียน ให้กำลังใจครูและนักเรียนด้วยความชื่นชม อย่างต่อเนื่อง - วัดบางยี่หน จัดหาพื้นที่ในการแสดงดนตรีไทย ในงานพิธีต่าง ๆ สนับสนุนงบประมาณ ในการดูแลวงดนตรีไทย 3.6 การเผยแพร่นวัตกรรม/ผลงาน - เว็บไซต์ของโรงเรียนบางปลาม้า https://www.bangplamaschool.com - เว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาลตำบลตะค่า)
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 18 4. เอกสารประกอบอื่น ๆ /หลักฐาน/ร่องรอย การเผยแพร่ผลงาน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 19 ผลงานรางวัล
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 20 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (ท11101) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 17 สระ โ – ะ เวลา 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง คำประสมสระ โ – ะ ที่มีตัวสะกด เวลา 1 ชั่วโมง ชื่อผู้สอน นางสาวดวงตา ศรีวิเชียร ๑. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป. ๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้น ๆ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ป. ๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ มาตรฐาน ท ๔/๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ ๒. สาระสำคัญ สระ โ-ะ เมื่อมีตัวสะกด รูปสระ โ-ะ จะถูกตัดออกไป เรียกว่า สระลดรูป เหลือเพียงแค่ พยัญชนะต้นกับตัวสะกด 3. สาระการเรียนรู้ คำที่ประสมด้วยสระ โ-ะ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด ๑. บอกวิธีการอ่านคำสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้(K) ๒. สรุปความรู้เรื่อง สระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ (K) ๓. อ่านออกเสียงคำและประโยคที่ประสมด้วยสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ (P) ๔. แต่งประโยคคำที่ประสมด้วยสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ (P) ๕. รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย (A)
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 21 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(ประเมินหลังจากจบหน่วยการเรียนรู้) ๑. ความสามารถในการสื่อสาร - ทักษะการอ่าน - ทักษะการเขียน - ทักษะการฟัง การดู และการพูด ๒. ความสามารถในการคิด - การให้เหตุผล - การสรุปความรู้ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(ประเมินหลังจากจบหน่วยการเรียนรู้) ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน รักความเป็นไทย ตัวชี้วัดที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 7. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) ใบงานเรื่อง ประโยคสระ โ – ะ 8. บูรณาการ คณิตศาสตร์ (การบวกเลข) 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ครูใช้ปริศนาคำทายให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ จากนั้นสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาเขียน คำตอบบนกระดาน เช่น ไม่มีตัวตน คนมองไม่เห็น ผ่านพัดมาเย็น ฉันคืออะไร (ลม) ฉันใช้เครื่องยนต์ บนถนนมากมี แล่นเร็วไม่ดี เดี๋ยวซี้ตายไว (รถ) โปรยปรายลงมา จากฟ้าถึงดิน ชาวนาทั่วถิ่น ต่างเฝ้ารอคอย (ฝน) ฉันมีสามสี ลมดีปลิวไสว
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 22 ทุกเช้เด็กไทย ตั้งใจเคารพฉัน (ธง) เด็กชอบดื่มฉัน ทุกวันแข็งแรง เพิ่มพลังแข็งแกร่ง แบ่งจากแม่วัว (นม) โดยนักเรียนในชั้นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ 2. นักเรียนสังเกตคำตอบที่ได้แล้วร่วมกันสนทนาจากคำตอบว่ามีสิ่งใดเหมือนกัน ขั้นสอน 3. นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับสระ โ - ะ เมื่อมีตัวสะกด สระ โ – ะ จะหายไป เรียกว่าสระลดรูป จากนั้น ให้นักเรียนฝึกอ่านคำประสมสระ โ - ะ และสะกดคำให้ครูฟัง 4. นักเรียนเล่มเกมสระ โ – ะ หรรษา โดยครูกำหนดรูปภาพ แล้วมีคำให้นักเรียนเลือก จำนวน 3 คำ ให้นักเรียนเลือกคำที่เขียนได้ถูกต้องและมีความหมายตรงกับรูปภาพที่ กำหนด โดยผลัดกันเล่นทีละคน จำนวนคนละ 3 รอบ จากนั้นครูสรุปผลคะแนนของนักเรียนแต่ละคน 5. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม การแต่งประโยคคำประสมสระ โ - ะ โดยครูแบ่งนักเรียน ออกเป็น 2 กลุ่มคละความสามารถ 6. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องประโยค 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม โดยให้นักเรียนนำคำที่ประสมสระ โ – ะ มาแต่งประโยค กลุ่มละ 5 ประโยค แต่ละกลุ่มจะต้องร่วมมือกันและให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้มีส่วนร่วมและฝึกอ่านจน คล่อง เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการปฏิบัติงานหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียน ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่องสระ โอะ ว่าสระ โ-ะ เมื่อมีตัวสะกด รูปสระ โ-ะ จะถูกตัดออกไป เรียกว่า สระลดรูป เหลือเพียงพยัญชนะต้นกับตัวสะกด 9. นักเรียนทำใบงานเรื่อง ประโยคสระ โ – ะ และแบบฝึกทักษะการอ่านการเขียน สระ โ-ะ 10. การจัดบรรยากาศเชิงบวก ให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน ช่วยกันคิด ช่วยกันเขียน ทุกคนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม 11. สื่อการเรียนรู้ ๑. สื่อ PowerPoint เนื้อหาการสอน 2. สื่อ PowerPoint เกมสระ โ-ะ หรรษา 3. กระดาษ 4. ใบงาน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 23 12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประเด็นการประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. บอกวิธีการอ่านคำสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้(K) การตอบคำถาม ประเด็นคำถาม นักเรียนร้อยละ ๗๐ สามารถ บอกวิธีการอ่านคำสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ถูกต้อง ๒. สรุปความรู้เรื่อง สระ โ-ะ ที่ มีตัวสะกดที่มีตัวสะกดได้ (K) การตอบคำถาม ประเด็นคำถาม นักเรียนร้อยละ ๗๐ สามารถ สรุปความรู้เรื่อง สระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ถูกต้อง ๓. อ่านออกเสียงคำและ ประโยคที่ประสมด้วยสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ (P) สังเกตพฤติกรรมการ ปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินการ ปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนอ่านออกเสียงคำที่ ประสมด้วยสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ถูกต้อง ระดับดีขึ้นไป ๔. แต่งประโยคคำที่ประสม ด้วยสระ โ-ะ ที่มีตัวสะกดได้ (P) -สังเกตพฤติกรรม การปฏิบัติกิจกรรม -ตรวจใบงาน -แบบประเมินการ ปฏิบัติกิจกรรม -ใบงาน -นักเรียนแต่งประโยคคำที่ ประสมด้วยสระ โ-ะ ที่มี ตัวสะกดได้ถูกต้อง ระดับดี ขึ้นไป -นักเรียนทำใบงานได้ถูกต้อง จำนวน 4 ข้อขึ้นไป ๕. รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) สังเกตพฤติกรรมการ ปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินการ ปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย ระดับ ดี ขึ้นไป สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะ ชีวิต -สังเกตพฤติกรรม -แบบประเมิน สมรรถนะของ ผู้เรียน นักเรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมินสมรรถนะของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒.มุ่งมั่นในการทำงาน 3. รักความเป็นไทย - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ นักเรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 24 เกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ 10 – 12 ดีมาก 7 – 9 ดี 5 – 6 พอใช้ 3 - 4 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์ในระดับ ดี ขึ้นไป ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) อ่านออกเสียงคำ และประโยคที่ ประสมด้วยสระ โ-ะ อ่านออกเสียงคำ และประโยคที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ทุกคำ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่วและ สามารถอ่านนำ ผู้อื่นได้ อ่านออกเสียงคำ และประโยคที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง เกือบทุกคำและ สามารถแก้ไข คำที่อ่านผิด ได้ด้วยตนเอง อ่านออกเสียงคำ และประโยคที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ และเมื่อมีผู้แนะนำ คำที่อ่านผิด ก็สามารถแก้ไข ตามได้ อ่านออกเสียงคำ และประโยคที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง บางคำ นอกนั้นต้อง มีผู้อ่านนำจึง สามารถอ่านตามได้ แต่งประโยคคำที่ ประสมด้วยสระ โ-ะ แต่งประโยคคำที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง สื่อความหมายได้ ชัดเจนทุกประโยค และเขียนคำได้ ถูกต้องทุกคำ แต่งประโยคคำที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง สื่อความหมายได้ แต่เขียนคำผิด 1-2 คำ แต่งประโยคคำที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง สื่อความหมายได้ แต่เขียนคำผิด 3-4 คำ แต่งประโยคคำที่ ประสมด้วย สระ โ-ะ ได้ถูกต้อง บางประโยค สื่อความหมาย ไม่ชัดเจน เขียนคำ ผิดเกิน 5 คำ รับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย มีความรับผิดชอบ ต่องานที่ตนเอง ได้รับมอบหมาย ตั้งใจปฏิบัติงาน ไม่ เล่น ไม่คุย จนงาน สำเร็จลุล่วง และ ส่งทันตามเวลาที่ กำหนด มีความรับผิดชอบ ต่องานที่ตนเอง ได้รับมอบหมาย จนงานสำเร็จลุล่วง และส่งทันตาม เวลาที่กำหนด มีความรับผิดชอบ ต่องานที่ตนเอง ได้รับมอบหมาย มีคุย เล่นบ้าง ต้องตักเตือน แต่ งานสำเร็จลุล่วง ขาดความ รับผิดชอบต่องานที่ ตนเองได้รับ มอบหมาย ไม่ตั้งใจ ปฏิบัติงาน ต้อง ตักเตือนบ่อยครั้ง
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 25 เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓ (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้เข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ใน การเรียน ไม่ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความ เพียรพยายาม ในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ มุ่งมั่นในการ ทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและรับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้สำเร็จ มีการปรับปรุงการทำงาน ให้ดีขึ้น เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ การงาน ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนา การทำงานด้วยตนเอง รักความเป็น ไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลข ไทยในการสื่อสารได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดีในการ ใช้ภาษาไทย เลขไทยในการสื่อสาร บอกให้ผู้อื่นใช้ภาษาไทย ที่ถูกต้อง ใช้ภาษาไทยและ เลขไทยในการสื่อสารได้ ไม่สนใจใช้ภาษาไทย อย่างถูกต้อง ๒. ชักชวน แนะนำให้ ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ ภาษาไทยที่ถูกต้อง เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ 7 – 9 ดี 5 – 6 พอใช้ 3 - 4 ปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน ผ่านเกณฑ์ในระดับ พอใช้ขึ้นไป ( 5 คะแนน ขึ้นไป)
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 26 คลิปวิดีโอการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนการ active learning ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 27
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 28
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 29 สื่อ PowerPoint เนื้อหาการสอน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 30 สื่อ PowerPoint เนื้อหาการสอน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 31 สื่อ PowerPoint เนื้อหาการสอน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 32 สื่อ PowerPoint เกมสระ โ-ะ หรรษา
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 33 สื่อ PowerPoint เกมสระ โ-ะ หรรษา
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 34 ใบงานเรื่อง ประโยคสระ โ - ะ ชื่อ..........................................................................................ชั้น ...........เลขที่......
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 35 ผลงานนักเรียน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 36 แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 13101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 การเขียนประโยคเพื่อการสื่อสาร เวลา 1 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 1 แต่งประโยคอย่างง่าย วันที่ 14 กันยายน 2565 ครูผู้สอน นางจุฑามาศ นุชโพธิ์พันธุ์ ********************************************************* มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป. ๓/๔ แต่งประโยคง่าย ๆ จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายและบอกความหมายของประโยคได้(K) 2. แต่งประโยคอย่างง่าย ๆ ได้(P) 3. เห็นความสำคัญของประโยคต่าง ๆ และนำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง (A) สาระสำคัญ ประโยค คือ คำหรือกลุ่มคำต่าง ๆ มาเรียบเรียงแล้วได้ใจความที่สมบูรณ์ ประโยคทุกประโยค ประกอบด้วย ๒ ส่วน ได้แก่ ภาคประธาน คือ ผู้กระทำหรือผู้ที่แสดงกริยาอาการต่าง ๆ เป็นคำนาม หรือ คำสรรพนาม ภาคแสดง คือส่วนที่เป็นกริยาและกรรม ภาคกริยาเป็นคำที่แสดงการกระทำและ สภาพของคน สัตว์ สิ่งของ ซึ่งเป็นประธานของประโยค ส่วนกรรมคือผู้ถูกกระทำ สาระการเรียนรู้ การแต่งประโยคให้ถูกต้องและสมบูรณ์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร - ทักษะการอ่าน - ทักษะการเขียน - ทักษะการฟัง การดู และการพูด
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 37 ๒. ความสามารถในการคิด - การให้เหตุผล - การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ - การปฏิบัติ - การสรุปความรู้ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน ตัวชี้วัดที่ ๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย รักความเป็นไทย ตัวชี้วัดที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ชิ้นงานหรือภาระงาน (ร่องรอย หลักฐานแสดงความรู้) การเรียงคำและแต่งประโยคด้วยชุดฝึกการแต่งประโยค การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้8 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างประสบการณ์ 1. ครูทักทาย สนทนาพูดคุยกับนักเรียนในเรื่องประโยคที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันเพื่อเป็นการ เตรียม ความพร้อมก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ครูบอกจุดประสงค์ให้นักเรียนทราบว่า เมื่อเรียนจบนักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจในการแต่ง ประโยคเพื่อการสื่อสารที่มีความสมบูรณ์ สามารถนำไปต่อยอดและประยุกต์ใช้กับวิชาอื่น ๆ ได้อย่าง ถูกต้อง ขั้นที่ 2 ขั้นตอนวิเคราะห์ประสบการณ์ 3. ครูชวนนักเรียนเล่น เกม..ฉันอยากสื่อสารกับเธอ โดยครูให้นักเรียนนำคำที่กำหนดให้ ได้แก่ คำ ว่า กระเป๋า ขยะ แข่งขัน ครอบครัว โต๊ะจีน มาฝึกแต่งประโยคอย่างง่าย พร้อมกับจับเวลา ประโยคละ 30 วินาที เพื่อเป็นการกระตุ้นความรู้ความจำเดิมของนักเรียนและเก็บคะแนนทดสอบ ก่อนเรียนเป็นรายบุคคล 4. เมื่อครูได้ทราบความรู้พื้นฐานจากการทำกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียนแล้ว ครูให้นักเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการทำงานแบบเป็นกลุ่ม เป็นการระดมความรู้ ความจำของนักเรียน ให้นักเรียนเกิดความสนุกสนาน เกิดความร่วมมือ และฝึกความสามัคคีในการทำงานแบบเป็นทีม
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 38 ขั้นที่ 3 ขั้นบูรณาการสังเกตไปสู่ความคิดรวบยอด 5. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ใช้รูปแบบเกมการแข่งขัน โดยนำคำบัญชีพื้นฐานของชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ครูสุ่มได้ มาแต่งให้เป็นประโยคที่สมบูรณ์ พร้อมจับเวลาคำละ 30 วินาที กลุ่มใดชนะจะได้เปิดแผ่นป้ายคำศัพท์สัตว์ภาษาอังกฤษ ด้านหลังแผ่นป้ายจะมีคะแนนสะสมซึ่ง อยู่ในรูปแบบของโจทย์คณิตศาสตร์ ให้นักเรียนได้ฝึกการคิดคำนวณเพื่อให้ทราบผลคะแนนที่ กลุ่มของตนเองได้ และมีคะแนนโบนัสในการทำงานเป็นทีมให้กลุ่มละ 10 คะแนน 6. ครูและนักเรียนรวมคะแนนที่ได้ว่ากลุ่มใดชนะ และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทราบ ทันทีว่าผลของความสามัคคีและการช่วยกันคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น จึงส่งผลให้กลุ่มนั้น ประสบความสำเร็จ ขั้นที่ 4 ขั้นพัฒนาทฤษฎีและความคิดรวบยอด 7. ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยเรื่องของประโยคว่า ประโยค คือ คำหรือกลุ่มคำที่นำมาเรียบเรียง แล้วได้ ใจความ สมบูรณ์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ภาคประธานและภาคแสดงประกอบด้วย กริยา และกรรม ตัวอย่างเช่น ครูร้องไห้ ครูเป็นภาคประธาน ร้องไห้เป็นภาคแสดง พ่อรดน้ำต้นไม้ พ่อ เป็นภาคประธาน รดน้ำ เป็นภาคแสดง ต้นไม้ เป็นกรรม 8. ครูยกตัวอย่างประโยคบนจอให้นักเรียนช่วยกันแยกส่วนประกอบของประโยค เพื่อเป็นการเพิ่ม ความเข้าใจเรื่องส่วนประกอบของประโยคมากยิ่งขึ้น ดังนี้ ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน กริยา กรรม นก บิน - คุณแม่ ตาก ผ้า ขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบัติตามความคิดรวบยอด 9. ครูแจกแบบชุดฝึกเรียงประโยคหรรษา โดยนักเรียนจะต้องวิเคราะห์ว่าคำใด คือ ประธาน กริยา และกรรม จากนั้นให้นักเรียนเติมตัวเลขใต้คำที่กำหนด ซึ่งเรียงจาก ประธาน คือหมายเลข 1 กริยา คือ หมายเลข 2 กรรม คือหมายเลข 3 ให้ได้ประโยคที่สมบูรณ์ และฝึกอ่านพร้อมกัน ขั้นที่ 6 ขั้นปรับแต่งเป็นแนวคิดของตนเอง 10. ครูแจกชุดฝึกแต่งประโยค ซึ่งในชุดฝึกจะมีคำกำหนดให้ว่ามีใคร ทำอะไร กับใคร ที่ไหน และ เมื่อไหร่ ให้นักเรียนนำคำในส่วนประกอบต่าง ๆ มาแต่งให้เป็นประโยคที่ถูกต้อง สมบูรณ์ เมื่อฝึกอ่าน แล้ว สามารถเข้าใจความหมายของประโยคได้ชัดเจน เช่น ทิพย์พายเรือกับแววที่คลองเมื่อวันเสาร์ Ant = มด 3 x 3 + 1 Tiger =เสือ 100 ÷ 10 Lion = สิงโต 35 ÷ 7 Rabbit = กระต่าย Ant = มด โบนัส 5 x 2
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 39 ขั้นที่ 7 ขั้นวิเคราะห์เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ 11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความหมายว่าประโยค คือ คำหรือกลุ่มคำที่นำมาเรียงกันแล้วได้ ใจความสมบูรณ์ ว่ามีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบไปด้วย ภาค ประธาน ได้แก่ ประธาน (คน สัตว์ สิ่งของ) และภาคแสดง ได้แก่ กริยา (เดิน วิ่ง กิน ร้องไห้) และ กรรม (สิ่งที่ถูกกระทำ) 12. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน โดยการนำคำที่ครูกำหนดให้ที่ใช้ในการทดสอบก่อน เรียนมาทดสอบหลังเรียนใหม่อีกครั้ง เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ที่นักเรียนได้เพิ่มเติม หลังจากเรียนจบแล้ว 13. ครูพูดคุยกับนักเรียนเรื่องการนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ไปปรับใช้ในรายวิชาอื่น ๆ เน้นย้ำถึง ความสำคัญในการแต่งประโยคที่ถูกต้องและสมบูรณ์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับ ผู้อื่นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นที่ 8 ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ของตนกับผู้อื่น 14. ครูตรวจชิ้นงานนักเรียนและนำเสนอผลงาน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การจัดบรรยากาศเชิงบวก ให้นักเรียนฝึกคิด วิเคราะห์ ช่วยกันแสดงความคิดเห็นผ่านการทำกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มเก่ง กลาง อ่อน โดยครูสร้าง บรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขและสนุกสนานด้วยเกม สื่อการเรียนรู้ ๑. บัตรคำบัญชีพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2. สื่อเกม/สื่อ Power point 3. ชิ้นงานชุดฝึกเรียงประโยคและแต่งประโยค การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๑.วิธีการวัดและประเมินผล ๑) ประเมินพัฒนาการในการเรียนรู้ของนักเรียน 2) สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในชั้นเรียน 3) ตรวจชิ้นงาน ๒. เครื่องมือ 1) แบบประเมินพัฒนาการในการเรียนรู้ของนักเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในชั้นเรียน 2) แบบประเมินชิ้นงาน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 40 ๓. เกณฑ์การประเมิน 1) การประเมินพัฒนาการในการเรียนรู้ของนักเรียน (ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน) การประเมินผล คะแนน 9 – 10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 7 – 8 คะแนน ระดับ ดี คะแนน 5 – 6 คะแนน ระดับ ปานกลาง คะแนน 1 – 4 คะแนน ระดับ ปรับปรุง 2) การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมของนักเรียนในชั้นเรียน 3) การประเมินชิ้นงาน ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 3 2 1 1. ความสนใจในการทำ กิจกรรม ดี ปานกลาง ปรับปรุง 2. การมีส่วนร่วมในการ แสดงความคิดเห็น ดี ปานกลาง ปรับปรุง 3. การตอบคำถาม ดี ปานกลาง ปรับปรุง 4. การยอมรับฟังความ คิดเห็นผู้อื่น ดี ปานกลาง ปรับปรุง 5. ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมาย ดี ปานกลาง ปรับปรุง การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี คะแนน 12 - 9 = พอใช้ คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุง ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 3 2 1 1. การคิดวิเคราะห์ มีการจับประเด็นสำคัญ ขยายความ เปรียบเทียบ และสรุปความคิดรวบยอด ได้ดี มีการจับประเด็นสำคัญได้ แต่ขยายความหรือสรุป ความคิดรวบยอดไม่ได้ มีการจับประเด็นสำคัญ ได้น้อย 2. การเขียนสื่อความ เขียนสื่อความได้ถูกต้อง ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย เขียนสื่อความไม่ถูกต้อง 2-3 แห่ง แต่ตรงประเด็น เขียนสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 41 การประเมินผล คะแนน 10 – 12 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 7 – 9 คะแนน ระดับ ดี คะแนน 5 – 6 คะแนน ระดับ ปานกลาง คะแนน 1 – 4 คะแนน ระดับ ปรับปรุง คลิปวิดีโอการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนการ active learning ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 3 2 1 มีความคิดสร้างสรรค์ ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มี ความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ กำหนด ระบายสีได้ สวยงาม ผลงานมีความสัมพันธ์กับ หัวข้อที่กำหนด แต่ไม่ดึงดูด ความสนใจ ผลงานมีความสัมพันธ์กับ หัวข้อที่กำหนดน้อย ประโยชน์ของการนำ ข้อมูลไปใช้ สามารถนำไปประยุกต์กับ สถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม สามารถนำไปประยุกต์กับ สถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันได้บ้าง สามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้น้อยมาก
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 42
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 43
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 44 สื่อ PowerPoint การแต่งประโยคเพื่อสื่อสาร
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 45
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 46
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบางปลาม้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 47