The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้
“รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต”
ระดับปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bangplamaschool, 2022-07-11 01:43:35

แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต” ระดับปฐมวัย

แผนการจัดการเรียนรู้
“รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต”
ระดับปฐมวัย

แบบสังเกตการตอบคำ�ถาม

หนว่ ยที่ ๒ ชอื่ หน่วย ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๘ เรือ่ ง การแบ่งปนั

วันท่ี.............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ช้แี จง : ใหผ้ ูป้ ระเมนิ ท�ำ เคร่อื งหมาย  ในช่องระดบั คณุ ภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ทีป่ ระเมิน

ที่ ชอื่ -สกลุ บอกความหมาย พฤตกิ รรมการแบง่ ปัน
ของการแบ่งปนั และปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามละอาย
๓๒๑
และไมท่ นตอ่ การทุจรติ
๓๒๑

รวม ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
เฉลี่ย (...............................................)





94 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกนั การทุจริต”

เกณฑ์การประเมนิ
บอกความหมายของการแบง่ ปนั
ระดับ ๓ : เด็กสามารถบอกความหมายของการแบง่ ปนั ไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : เดก็ สามารถบอกความหมายของการแบ่งปนั ไดแ้ ต่ต้องใหค้ รชู ี้แนะ
ระดับ ๑ : เดก็ ไมส่ ามารถบอกความหมายของการแบง่ ปันได้
พฤติกรรมการแบ่งปนั และปฏบิ ัติตนเป็นผทู้ ี่มีความละอายและไมท่ นตอ่ การทุจริต
ระดบั ๓ : เดก็ มพี ฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามละอายและไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
ได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ มพี ฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามละอายและไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
ไดโ้ ดยมีผูค้ อยช้ีแนะ
ระดบั ๑ : เดก็ ไมม่ พี ฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และไมป่ ฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ มี่ คี วามละอายและไมท่ นตอ่ การ
ทจุ รติ

ระดบั ปฐมวัย 95

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ช่วั โมง

หน่วยท่ี ๒ ช่ือหน่วย ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
ชัน้ ปฐมวยั
แผนการจัดประสบการณ์ท่ี ๙ เร่อื ง ความหมายของการแบง่ ปนั

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต
๑.๒ ปฏิบัตติ นเปน็ ผทู้ ่ีมีความละอายและไมท่ นต่อการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ เด็กมีพฤตกิ รรมการแบ่งปันและปฏบิ ตั ิตนเป็นผทู้ ม่ี คี วามละอายและไม่ทนต่อการทจุ ริต
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การแบ่งปนั หมายถงึ การเสียสละสิง่ ของ หรอื ทรัพยส์ นิ ของตนใหแ้ กผ่ อู้ ืน่ แตส่ ิ่งของ หรอื
ทรัพยส์ ินนนั้ จะต้องได้มาโดยสุจรติ ไม่ใช่ได้มาจากการลักขโมยของผู้อื่น
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) มที กั ษะชวี ิต และอยรู่ ่วมกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ
๒) มที ักษะการคิด การใช้ภาษาสอ่ื สาร และการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกบั วัย
๓.๓ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์/คา่ นิยม
ความเอ้ือเฟื้อเผือ่ แผ่
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขัน้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครรู ว่ มกนั ร้องเพลง “เอ้ือเฟื้อแบง่ ปนั ” พรอ้ มทำ�ทา่ ทางประกอบเพลง
๒) เดก็ และครรู ว่ มกนั สนทนาเก่ยี วกบั เนือ้ หาของเพลง โดยครใู ช้คำ�ถาม ดงั นี้
• เนือ้ หาของเพลงเกีย่ วกบั เร่อื งอะไร (เกย่ี วกบั เรื่องการแบง่ ปัน)
• เราเห็นด้วยกับเนื้อหาของเพลงหรือไม่ เพราะเหตุใด (เห็นด้วย เพราะคนท่ีรู้จัก
การแบ่งปัน เอือ้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่ จะเป็นทร่ี ักของคนทุกคน เป็นคนท่ีสงั คมตอ้ งการ)
๓) เดก็ รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั สถานการณท์ ่ีครกู ำ�หนดข้นึ ดงั น้ี
• ถ้าพบว่าเพื่อนลืมเอาเงินมาซ้ือขนม เราจะทำ�อย่างไร เพราะเหตุใดจึงทำ�เช่นนั้น
(จะแบ่งขนมของตนเองใหเ้ พอื่ นทาน เพราะสงสารเพ่อื น เพื่อนจะได้ไม่หวิ )
• ถา้ เพ่ือนของเราลืมเอาดินสอมาจากบา้ น เราจะทำ�อยา่ งไร เพราะเหตุใดจึงทำ�เช่นนน้ั
(เอาดินสอให้เพ่ือนยืม เพราะเรามีหลายแท่ง เพอื่ นจะไดม้ ีดินสอท�ำ การบ้าน)
• ถ้าเพ่ือนเอาดินสอแท่งใหม่มาให้เรา แต่เรารู้ว่าดินสอน้ันเพ่ือนไปขโมยของผู้อื่นมา
เราจะรบั ของเพอ่ื นหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ไมร่ บั เพราะสง่ิ ของนนั้ ไดม้ าจากการลกั ขโมย มาจากการทจุ รติ )

96 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”

๔) ครใู หเ้ ดก็ แบง่ กลมุ่ ๆ ละ ๔-๕ คน และใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ รว่ มกนั คดิ การแสดงบทบาท
สมมติท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับเรือ่ งการแบ่งปัน
๕) แตล่ ะกลมุ่ ออกมาแสดงบทบาทสมมติ โดยครจู บั ฉลากล�ำ ดบั วา่ กลมุ่ ใดจะไดแ้ สดงกอ่ นหลงั
๖) เดก็ และครรู ว่ มกนั อภปิ รายสรุปเกี่ยวกับเรอื่ งการแบ่งปัน
๔.๒ สอื่ การเรยี นรู/้ แหล่งการเรียนรู้
เพลง “เอือ้ เฟื้อแบ่งปนั ”
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมิน
สงั เกตการแสดงออกถึงการแบ่งปนั
๕.๒ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรมการแบง่ ปนั
๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ
เดก็ ผ่านการประเมนิ ระดบั ๒ ขนึ้ ไปถอื วา่ ผา่ น
๖. บันทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครูผูส้ อน
(...............................................)

ระดับปฐมวัย 97

๗. ภาคผนวก

เพลง เอื้อเฟ้อื แบ่งปัน

https://www.youtube.com/watch?v=oU๓๔HKM๕UtI

มกี ็เอามาเผอื่ เอ้อื เฟื้อแบ่งปัน มกี แ็ บง่ ให้กนั ฉนั แบ่งปันให้เธอ
ใจโอบออ้ มอารมี ใี หเ้ ธอเสมอ รักกันฉันและเธอ เรารักกัน
เอ้ือเฟอ้ื เผอ่ื แผ่ น้ำ� ใจแกท่ กุ คน ไดร้ ับก็สขุ ล้น น้ำ� ใจจากคนเออ้ื เฟื้อ
แบ่งปนั ขนมที่มี ยามเรามเี หลอื เฟอื มีกเ็ อามาเผ่อื แบ่งปนั
ภูมใิ จไดเ้ ปน็ ผใู้ หไ้ ม่หวงั ส่งิ ใดตอบแทน ยามใดเราขาดแคลน ไม่มีใครทอดท้งิ เรา

98 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการแบ่งปนั และการปฏบิ ัติตนเป็นผูท้ ี่มคี วามละอาย
และไมท่ นตอ่ การทุจรติ

หน่วยที่ ๒ ช่ือหน่วย ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ
แผนการจัดประสบการณท์ ่ี ๙ เรือ่ ง ความหมายของการแบง่ ปัน

วนั ท่ี.............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ชแ้ี จง : ใหผ้ ูป้ ระเมินท�ำ เคร่อื งหมาย  ในชอ่ งระดับคุณภาพของเด็กในแต่ละประเด็นท่ปี ระเมิน

เด็กมพี ฤตกิ รรมการแบ่งปัน
และปฏิบตั ติ นเป็นผ้ทู มี่ ีความละอาย
ที่ ชอื่ -สกุล และไม่ทนตอ่ การทุจรติ

๓๒๑

รวม
เฉล่ยี


ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑก์ ารประเมนิ
ระดบั ๓ : เดก็ มพี ฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามละอายและไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
ได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ มพี ฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามละอายและไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ได้
โดยมีผ้คู อยชี้แนะ
ระดับ ๑ : เดก็ ไมม่ พี ฤตกิ รรมการแบง่ ปนั และไมป่ ฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามละอายและไมท่ นตอ่ การ
ทจุ ริต

ระดบั ปฐมวัย 99

แผนการจัดประสบการณ์
หนว่ ยท่ี ๒ ชอ่ื หน่วย ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต
ช้ันปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ท่ี ๑๐ เรือ่ ง การแต่งกายด้วยตนเอง เวลา ๑ ช่วั โมง
และการไม่น�ำ เอาเครื่องแต่งกายของผูอ้ ื่นมาเป็นของตนเอง

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต
๑.๒ ปฏบิ ัติตนเป็นผทู้ ่ีมคี วามละอายและไม่ทนต่อการทจุ ริตทกุ รปู แบบ
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ เดก็ สามารถบอกขั้นตอนการแต่งกายได้
๒.๒ เดก็ สามารถแตง่ กายด้วยตนเองได้ โดยไมน่ �ำ เอาเคร่อื งแตง่ กายของคนอนื่ มาเปน็ ของตนเอง
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การแต่งกาย หมายถึง ความสามารถของเด็กในการสวมเสื้อ กางเกง ติดกระดุมเส้ือ
ผูกเชือกรองเท้า สวมถุงเท้า ความสามารถในการแต่งกายของเด็กขึ้นอยู่กับพัฒนาการด้านการใช้
กล้ามเนื้อเล็กของเด็ก การแต่งกายเป็นการปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันของเด็กที่ควรได้รับการฝึกฝน
นอกจากนน้ั ตอ้ งไม่น�ำ เอาเครื่องแต่งกายของคนอน่ื มาเป็นของตนเอง
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
๑) มีทักษะชีวิต และชว่ ยเหลอื ตนเองได้
๒) มีทักษะการคดิ การใช้ภาษาส่อื สาร
๓.๓ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค/์ ค่านยิ ม
มวี นิ ัย ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขัน้ ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) ครูนำ�รูปภาพการแต่งกายของเด็กสองคน มาให้เด็กดู แล้วให้เด็กสังเกต เปรียบเทียบ
โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี
• ภาพท้ังสองภาพที่ครูนำ�มาให้ดูมีความเหมือน หรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
(แตกตา่ งกนั เพราะภาพแรกเปน็ ภาพเดก็ แตง่ กายเรยี บรอ้ ย แตภ่ าพทส่ี องเปน็ ภาพเดก็ แตง่ กายไมเ่ รยี บรอ้ ย)
• ถา้ จะใหเ้ ลอื ก เราอยากเปน็ บคุ คลในภาพไหน เพราะเหตใุ ด (เปน็ บคุ คลในภาพทห่ี นงึ่
เพราะแต่งกายเรยี บร้อย)
• ถา้ เราพบเหน็ เพอ่ื น ๆ แตง่ ตวั ไมเ่ รยี บรอ้ ย เราจะท�ำ อยา่ งไร เพราะเหตใุ ดจงึ ท�ำ เชน่ นน้ั
(จะตักเตือน เพราะการแต่งกายไม่เรียบร้อยเป็นการผิดระเบียบของโรงเรียน คนดีจะต้องไม่ทำ�ผิด
กฎ กติกา ระเบียบ)
100 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๒) เด็กและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับขนั้ ตอนการแต่งกาย
๓) ครใู หเ้ ดก็ ทกุ คนถอดเสอื้ กนั เปอ้ื น ถอดรองเทา้ ของตนแลว้ น�ำ มากองรวมกนั ไวก้ ลางหอ้ ง
จากน้ันครูให้เด็ก ๆ ทุกคนเลือกส่ิงของของตนเองแล้วนำ�กลับมาใส่ให้ถูกต้อง เรียบร้อย ใครสามารถ
แตง่ ตัวเสรจ็ กอ่ นและถกู ต้องโดยไม่น�ำ ของเพอ่ื นมาใส่ เป็นคนแรก ถือวา่ คนนัน้ ชนะ
๔) เด็กและครูร่วมกันอภิปรายสรุป เก่ียวกับเร่ืองการแต่งกายว่า การแต่งกาย หมายถึง
ความสามารถของเด็กในการสวมเสื้อ กางเกง ตดิ กระดมุ เส้ือ ผูกเชือกรองเทา้ สวมถงุ เท้า ความสามารถ
ในการแตง่ กายของเดก็ ขนึ้ อยกู่ บั พฒั นาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเนอื้ เลก็ ของเดก็ การแตง่ กายเปน็ การปฏบิ ตั ิ
กิจวัตรประจำ�วันของเด็กท่ีควรได้รับการฝึกฝน นอกจากนั้นต้องไม่นำ�เอาเครื่องแต่งกายของคนอ่ืน
มาเป็นของตนเอง
๔.๒ สอ่ื การเรียนร้/ู แหล่งการเรยี นรู้
๑) ภาพเด็กแต่งกายเรียบรอ้ ยและภาพเด็กที่แต่งกายไม่เรียบร้อย
๒) อุปกรณก์ ารแต่งกาย เชน่ เสือ้ กันเป้อื น รองเท้า ฯลฯ (ของจรงิ )
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
๑) สงั เกตการตอบคำ�ถาม เรอื่ ง “ขัน้ ตอนการแตง่ ตัว”
๒) สังเกตการฝึกการแตง่ ตวั ของเด็ก
๕.๒ เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ
๑) แบบสังเกตการตอบคำ�ถาม เรือ่ ง “ขนั้ ตอนและวิธกี ารแตง่ ตัว”
๒) แบบสังเกตการฝึกการแต่งตัวของเดก็
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน
เดก็ ผ่านการประเมนิ ระดับ ๒ ข้นึ ไปถอื วา่ ผ่าน
๖. บันทกึ หลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ ครูผ้สู อน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวัย 101

๗. ภาคผนวก ภาพการแตง่ กายของเดก็ ที่ไมเ่ รียบรอ้ ย

ภาพการแต่งกายของเด็กท่ีเรยี บร้อย

ภาพตัวอย่างอปุ กรณ์เครอ่ื งแตง่ ตวั ของเดก็

102 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกันการทจุ รติ ”

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถาม

หน่วยที่ ๒ ช่อื หน่วย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๑๐ เร่ือง การแตง่ กายด้วยตัวเองและการไมน่ ำ�เอาเครือ่ งแตง่ กายของผู้อ่นื

มาเป็นของตนเอง
วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ช้ีแจง : ให้ผูป้ ระเมินท�ำ เคร่อื งหมาย  ในช่องระดบั คณุ ภาพของเด็กในแต่ละประเด็นท่ปี ระเมนิ

ท่ี ชือ่ -สกุล บอกขั้นตอน การแตง่ กาย ฝกึ การแต่งกาย
๓๒๑ ๓๒๑

รวม
เฉลีย่

ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑ์การประเมิน
บอกขน้ั ตอนการแตง่ กาย
ระดบั ๓ : เดก็ สามารถบอกขน้ั ตอนการแต่งกายได้ดว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : เดก็ สามารถบอกขนั้ ตอนการแตง่ กายไดโ้ ดยมีผ้ชู ้แี นะ
ระดับ ๑ : เด็กไมส่ ามารถบอกขน้ั ตอนการแตง่ กายได้

ฝกึ การแต่งกาย
ระดับ ๓ : เดก็ แตง่ กายดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เรยี บรอ้ ย คลอ่ งแคลว่ โดยไมน่ �ำ เอาเครอื่ งแตง่ กาย
ของคนอน่ื มาเปน็ ของตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ แตง่ กายดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เรยี บรอ้ ย แตย่ งั ขาดความคลอ่ งแคลว่ และไมน่ �ำ เอา
เครอ่ื งแตง่ กายของคนอ่ืนมาเปน็ ของตนเอง
ระดบั ๑ : เดก็ แตง่ กายได้ แต่น�ำ เอาเคร่อื งแต่งกายของคนอื่นมาเป็นของตนเอง

ระดับปฐมวัย 103

แผนการจดั ประสบการณ์ เวลา ๑ ชวั่ โมง

หน่วยท่ี ๒ ช่ือหนว่ ย ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ
ชั้นปฐมวยั
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๑๑ เร่อื ง ความหมายของกิจวัตรประจ�ำ วนั

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ
๑.๒ ปฏิบัตติ นเป็นผทู้ มี่ คี วามละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทกุ รูปแบบ
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ ปฏิบัตติ น และบอกวิธกี ารปฏิบัตกิ จิ วัตรประจำ�วันของตนแกบ่ ุคคลอ่ืนได้
๒.๑ สามารถปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้ลู ะอายและเปน็ ผ้ไู ม่ทนตอ่ การทุจรติ ได้
๓.สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
กิจวัตรประจ�ำ วนั หมายถงึ กจิ ท่ีท�ำ เปน็ ประจ�ำ การปฏิบตั ิกจิ วัตรประจำ�วนั เปน็ พฤตกิ รรม
ทีแ่ สดงออกถึงความมีวนิ ัยในตนเอง
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กดิ )
๑) มีทักษะชีวิต และอยูร่ ่วมกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
๒) มที ักษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวยั
๓.๓ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์/ค่านิยม
มีวินัย
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครูศึกษา Stop Motion เรื่อง “กิจวัตรประจำ�วันของหนูแดง” (YouTube
Rungkan Aueafuea)
๒) เด็กและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับเนื้อหา Stop Motion เร่ือง “กิจวัตรประจำ�วัน
ของหนแู ดง” และปฏิบตั ิ ดงั น้ี
• ช่วยกันบอกการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันของหนูแดงที่ปรากฏในเรื่องว่ามีอะไรบ้าง
(ใสบ่ าตร อาบน้ำ� รับประทานอาหาร ไปโรงเรียน เรยี นหนงั สอื )
• ได้รบั ความรอู้ ะไรบ้างจากการศึกษากิจวตั รประจ�ำวนั ของหนูแดง (เดก็ ควรปฏิบัตติ น
ตามหนูแดง ซ่งึ เปน็ การกระท�ำท่ถี กู ต้องและเป็นสงิ่ ดี)
• ครูสอบถามเด็กเกี่ยวกับกิจวัตรประจ�ำวันของเด็กที่โรงเรียนมีอะไรบ้าง (ล้างมือ,
ลา้ งหนา้ , แปรงฟัน, เกบ็ ของใชข้ องเล่น, ดม่ื นม)
• ถา้ เราพบเพอ่ื นทป่ี ฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั ของตนเองไมไ่ ด้ หรอื ท�ำ ไมเ่ ปน็ เราจะท�ำ อยา่ งไร
(จะสอนเพอื่ น ใหเ้ พื่อนฝกึ ทำ�ด้วยตนเอง จนสามารถปฏิบัตไิ ด้)
๓) เด็กและครูร่วมกันสนทนา สรุปข้อดีของการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำ�วัน
104 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกนั การทจุ รติ ”

๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู/้ แหลง่ การเรยี นรู้
๑. Stop Motion เร่ือง “กิจวัตรประจำ�วนั ของหนแู ดง”
๒. จาน ชาม ช้อน ห้องน�้ำ หอ้ งสว้ ม เครือ่ งแตง่ กาย
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมิน
สงั เกตการรว่ มกจิ กรรม สนทนา ตอบค�ำ ถาม
๕.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการร่วมกจิ กรรม สนทนา ตอบคำ�ถาม
๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ
เด็กผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตง้ั แต่ระดับ ๒ ขน้ึ ไปถอื วา่ ผ่าน
๖. บนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ครผู ้สู อน
(...............................................)
๗. ภาคผนวก

Stop Motion เรื่อง กจิ วตั รประจำ�วนั ของหนแู ดง

https://www.youtube.com/watch?v=PGSOajgPN-k
จาก YouTube Rungkan Aueafuea

ระดบั ปฐมวยั 105

แบบสังเกตการปฏิบตั ิกิจวตั รประจำ�วัน

หน่วยท่ี ๒ ชื่อหนว่ ย ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๑๑ เรอ่ื ง ความหมายของกจิ วตั รประจำ�วนั

วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ. ................
ค�ำ ชี้แจง : ให้ผู้ประเมินทำ�เครอ่ื งหมาย  ในช่องระดบั คุณภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ท่ปี ระเมิน

ท่ี ช่ือ-สกุล การปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจำ�วัน
๓๒๑

รวม
เฉล่ีย


ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑก์ ารประเมิน
การปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจ�ำ วัน
ระดบั ๓ : เด็กปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันด้วยตนเองอย่างคล่องแคล่ว และสามารถแนะนำ�เพื่อน
คนทีป่ ฏิบตั ิกิจวัตรประจ�ำ วนั ดว้ ยตนเองไมไ่ ด้
ระดับ ๒ : เด็กปฏบิ ัติกจิ วตั รประจำ�วันด้วยตนเองได้ แตไ่ ม่คลอ่ งแคล่ว และสามารถแนะนำ�เพ่อื น
คนท่ีปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจ�ำ วันดว้ ยตนเองไมไ่ ด้
ระดับ ๑ : เด็กไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันได้ด้วยตนเอง และไม่สามารถแนะนำ�เพื่อน
ท่ปี ฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจ�ำ วนั ดว้ ยตนเองไม่ได้

106 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

แผนการจดั ประสบการณ์
หน่วยที่ ๒ ช่อื หน่วย ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
ช้นั ปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๑๒ เร่อื ง ขอ้ ดีและข้อเสยี ของการปฏบิ ตั ิ เวลา ๑ ช่ัวโมง
และไม่ปฏิบัตกิ ิจวัตรประจ�ำ วนั

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต
๑.๒ ปฏิบตั ติ นเป็นผูท้ ่ีมีความละอายและไม่ทนตอ่ การทุจริตทกุ รูปแบบ
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ บอกขอ้ ดี และข้อเสียของการปฏิบตั แิ ละไม่ปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจำ�วนั ได้
๒.๒ ปฏิบัติตน และบอกวิธีการปฏิบตั กิ ิจวตั รประจ�ำ วันของตนแกบ่ ุคคลอ่ืนได้
๒.๓ สามารถปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผลู้ ะอายและเปน็ ผไู้ มท่ นตอ่ การทจุ รติ ทกุ รปู แบบในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั ร
ประจ�ำ วนั ไมถ่ ูกตอ้ งได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
กิจวัตรประจำ�วัน หมายถึง กิจท่ที ำ�เป็นประจ�ำ การปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจ�ำ วนั เปน็ พฤติกรรม
ที่แสดงออกถึงความมีวินัยในตนเอง
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
๑) มีทกั ษะชีวิต และอยู่ร่วมกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างมีความสุข
๒) มีทกั ษะการคิด การใช้ภาษาสอ่ื สาร
๓.๓ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์/คา่ นยิ ม
มีวินัย ซ่ือสัตย์สจุ รติ
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ์
๑. เดก็ และครศู กึ ษา นทิ าน เรอ่ื ง “กจิ วตั รประจ�ำ วนั หนทู �ำ ได”้ (YouTube แสงอรณุ บญุ ลอื ชา)
๒. เดก็ และครูรว่ มกันสนทนาเกีย่ วกับเน้ือหาของนิทาน โดยครูใช้คำ�ถาม ดังนี้
• เราลองชว่ ยกนั บอกซวิ า่ การปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำวนั ของหนแู สนดมี อี ะไรบา้ ง (อาบนำ้�
ไปโรงเรียน รับประทานอาหาร ท�ำงานบา้ น)
• เราได้รับความรู้อะไรบ้างจากการดูนิทาน เรื่อง “กิจวัตรประจ�ำวันหนูแสนดีท�ำได้”
(เราตอ้ งปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำวนั ดว้ ยตนเอง เชน่ ตนื่ นอน อาบนำ�้ รบั ประทานอาหาร ไปโรงเรยี นใหถ้ กู ตอ้ ง)
• ถา้ พบเหน็ เพอื่ นทเี่ ขา้ หอ้ งนำ�้ แลว้ ไมร่ าดนำ�้ , ขณะแปรงฟนั แลว้ ไมป่ ดิ นำ้� เราจะท�ำอยา่ งไร
(จะไปบอกเพ่ือนว่าการกระท�ำนั้นไม่ถูกต้อง ท�ำให้เกิดความส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายของส่วนรวม (โรงเรียน)
แลว้ พยายามชแี้ นะเพอ่ื นใหป้ ฏิบัตใิ นสิง่ ทีถ่ กู ตอ้ ง)

ระดบั ปฐมวยั 107

๓) เด็กและครูร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันที่ไม่ถูกต้อง เช่น
การรบั ประทานอาหารมมู มาม การพูดคุยขณะอาหารอย่ใู นปาก การแตง่ กายไม่เรียบรอ้ ย ไม่ถูกระเบยี บ
การเข้าห้องนำ�้ ไม่กดชักโครก การเหยียบบนโถชักโครก การท้งิ กระดาษช�ำระลงในโถชักโครก
๔) เดก็ และครรู ว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกบั ผลดี และผลเสยี ของการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั ทถ่ี กู ตอ้ ง
และไม่ถูกตอ้ ง
๔.๒ ส่อื การเรียนรู/้ แหล่งการเรยี นรู้
นิทาน เรือ่ ง “กจิ วัตรประจำ�วนั หนทู ำ�ได้”
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
สงั เกตการรว่ มกจิ กรรม สนทนา ตอบคำ�ถาม
๕.๒ เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
แบบสงั เกตการรว่ มกิจกรรม สนทนา ตอบค�ำ ถาม
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน
เด็กผา่ นการประเมินตง้ั แต่ระดบั ๒ ขึน้ ไปถือว่าผ่าน
๖. บนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ................................................ ครผู ้สู อน
(...............................................)

108 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทุจริต”

๗. ภาคผนวก

Stop Motion นิทาน กิจวัตรประจำ�วนั หนทู ำ�ได้

https://www.youtube.com/watch?v=d๐ixZ๖E๕HkU
จาก YouTube แสงอรุณ บญุ ลอื ชา

ระดบั ปฐมวยั 109

แบบสงั เกตการปฏิบตั กิ จิ วตั รประจำ�วนั

หน่วยที่ ๒ ชือ่ หน่วย ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๑๒ เรอื่ ง ขอ้ ดี และข้อเสยี ของการปฏบิ ตั ิและไม่ปฏิบัติกจิ วัตรประจำ�วนั

วนั ท่ี.............เดือน.............................พ.ศ. ................
ค�ำ ชี้แจง : ให้ผูป้ ระเมนิ ทำ�เคร่อื งหมาย  ในช่องระดับคุณภาพของเด็กในแต่ละประเดน็ ทปี่ ระเมิน

ท่ี ชื่อ-สกลุ การปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจำ�วนั
๓๒๑

รวม
เฉลย่ี


ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑก์ ารประเมิน
การปฏิบตั ิกิจวัตรประจำ�วนั
ระดบั ๓ : เด็กปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันด้วยตนเองอย่างคล่องแคล่ว และสามารถแนะนำ�เพื่อน
คนท่ปี ฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันด้วยตนเองไม่ได้
ระดบั ๒ : เด็กปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันด้วยตนเองได้ คล่องแคล่ว แต่ไม่สามารถแนะนำ�เพ่ือน
คนท่ปี ฏิบัตกิ จิ วัตรประจำ�วนั ด้วยตนเองไม่ได้
ระดบั ๑ : เด็กไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันด้วยตนเองได้ และไม่สามารถแนะนำ�เพื่อน
คนทป่ี ฏิบตั ิกจิ วัตรประจ�ำ วันด้วยตนเองไม่ได้

110 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การป้องกันการทุจริต”

หน่วยที่ ๓

STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชัว่ โมง

หน่วยท่ี ๓ ชื่อหนว่ ย STRONG : จติ พอเพียงต้านทุจริต
ช้นั ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๑ เรื่อง Sufficient : ความหมายของความพอเพียง

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผทู้ ี่ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ สามารถบอกความหมายของความพอเพียงได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
ความพอเพยี ง คอื การรจู้ กั ประมาณ การทำ�อะไรไม่มากเกินไป ไมน่ อ้ ยเกนิ ไป อยู่บนทาง
สายกลาง
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กดิ )
๑) มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ได้อย่างมคี วามสขุ
๒) มที กั ษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร
๓.๓ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค/์ คา่ นยิ ม
อยู่อย่างพอเพียง
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) เดก็ และครูรว่ มกนั รอ้ งเพลง “พอเพยี ง”
๒) เด็กเคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบเพลง “พอเพยี ง” อยา่ งอิสระ
๓) ครแู ละเดก็ เลา่ ประสบการณท์ ี่เคยได้ยิน เรือ่ ง “การใช้ชีวิตพอเพยี ง”
๔) เด็กและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับความหมาย และแนวปฏิบัติอย่างพอเพียง เช่น
การเก็บออม การดื่มนมให้หมด การใชข้ องอยา่ งประหยดั
๕) เด็กและครูร่วมกันสรุป ความหมายของความพอเพียง หมายถึงการรู้จักประมาณ
การท�ำ อะไรไมม่ ากเกนิ ไป ไม่นอ้ ยเกินไป อยบู่ นทางสายกลาง
๔.๒ สือ่ การเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้
๑) เพลง “พอเพยี ง”
๒) สง่ิ ของตา่ ง ๆ ในห้องเรยี นท่ีใช้สว่ นรวม เช่น ดนิ สอสี กรรไกร เปน็ ต้น

ระดับปฐมวยั 111

๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
สังเกตการตอบค�ำ ถาม
๕.๒ เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ
แบบสังเกตการตอบคำ�ถาม
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
เด็กผ่านการประเมินระดับ ๒ ข้นึ ไป ถอื วา่ ผ่าน
๖. บันทึกหลังการจัดประสบการณ์
..................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ครูผู้สอน
(...............................................)
๗. ภาคผนวก
เพลงพอเพยี ง

พออยู่ พอกนิ พอใช้ พอใจ
เดก็ ๆ ไทย จงจำ�ใหม้ ั่น

อดทน อดออม อดกลั้น (ซำ้� )
เธอและฉัน มีความพอเพยี ง

112 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”

แบบสังเกตการตอบคำ�ถามของเดก็

หน่วยท่ี ๓ ชื่อหนว่ ย STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต
แผนการจัดประสบการณ์ท่ี ๑ เรื่อง Sufficient : ความหมายของความพอเพียง

วนั ที่.............เดอื น.............................พ.ศ............................
ค�ำ ช้ีแจง : ใหผ้ ูป้ ระเมินทำ�เคร่ืองหมาย  ในชอ่ งระดับคุณภาพของเด็กในแต่ละประเด็นท่ีประเมิน

ท่ี ชอ่ื -สกลุ บอกความหมายของพอเพยี ง
๓๒๑

รวม
เฉลีย่


ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑก์ ารประเมนิ
บอกถงึ ความพอเพยี ง
ระดบั ๓ : เดก็ สามารถบอกความหมายความพอเพียงได้ดว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กสามารถบอกความหมายความพอเพยี งไดโ้ ดยมีผู้ชแี้ นะ
ระดับ ๑ : เด็กไม่สามารถบอกความหมายความพอเพียงได้

ระดบั ปฐมวยั 113

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชัว่ โมง

หนว่ ยท่ี ๓ ชือ่ หนว่ ย STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจรติ
ช้ันปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๒ เรอื่ ง Transparent : ความหมายของความโปรง่ ใส

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้ท่ี STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ
๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ สามารถบอกความหมายของความโปร่งใสได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
ความโปร่งใส คือ การกระทำ�การใด ที่ผู้อื่นสามารถมองเห็นได้ คาดเดาได้ และเข้าใจได้
การดำ�เนินงาน การมีระบบงานและขั้นตอนการทำ�งานท่ีชัดเจน มีกฎระเบียบ ตรงไปตรงมา และ
ชว่ ยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ การทจุ รติ รวมท้ังนำ�ไปสูก่ ารสร้างความไว้วางใจซง่ึ กนั
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
๑) มีทักษะชวี ติ และอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ
๒) มีทกั ษะการคิด การใชภ้ าษาสือ่ สาร
๓.๓ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค/์ ค่านิยม
มีวนิ ัย ซอ่ื สัตย์สุจรติ
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) เด็กและครูร่วมกันท่องคำ�คล้องจอง “ความรู้คู่คุณธรรม” จากน้ันร่วมกันสนทนา
โดยครใู ชค้ ำ�ถาม ดงั น้ี
• คำ�คล้องจองท่ีเราท่องร่วมกันนั้นเป็นเร่ืองเก่ียวกับอะไร (เรื่องการมีคุณธรรมควบคู่
ไปกบั การมคี วามรู)้
๒) เด็กและครูร่วมกันสนทนา เรอ่ื ง “ความโปร่งใสคอื อะไร” (ความโปรง่ ใส คือ การกระทำ�
การใดท่ีผ้อู นื่ สามารถมองเห็นได้ คาดเดาได้ และเขา้ ใจได้ การดำ�เนินงาน การมีระบบงานและขั้นตอน
การทำ�งานท่ีชัดเจน มีกฎ ระเบียบ ตรงไปตรงมา และช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต รวมทั้งนำ�ไปสู่
การสรา้ งความไว้วางใจซ่งึ กัน)
๓) ให้เด็กชมวีดีโอ เรื่อง “นิมนต์ยิ้มเดลี่คนดีไม่คอร์รัปชัน” ตอนเข้าแถว จากน้ันร่วมกัน
สนทนา โดยครูใช้คำ�ถาม ดงั น้ี
• จากเนื้อเรื่องเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น (มีผู้ชายคนหน่ึงต่อแถวรับค่าแรงจากนายจ้าง
หลายรอบ เปน็ การทุจริต ไม่โปร่งใส)

114 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

• การกระทำ�ของชายคนดังกล่าวถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ถูกต้อง เพราะเป็น
การกระทำ�ท่ที จุ ริต ไม่โปรง่ ใส โกงคนอ่ืน)
๕) เดก็ และครรู ว่ มกนั สรปุ ความโปรง่ ใส การท�ำ ทต่ี รงไป ตรงมาไม่ ผอู้ นื่ สามารถมองเหน็ ได้
ไม่เอาเปรยี บผอู้ ่นื
๖) เดก็ และครรู ว่ มกนั สรา้ งขอ้ ตกลงรว่ มกนั เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ นใหเ้ ปน็ คนโปรง่ ใสไมท่ จุ รติ
เปน็ ขอ้ ตกลงทจ่ี ะใชร้ ว่ มกันในหอ้ งเรยี น
๔.๒ สอื่ การเรียนร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้
๑) ค�ำ คล้องจอง “ความรู้คคู่ ณุ ธรรม”
๒) วีดีโอ “นมิ นตย์ ้ิมเดลค่ี นดไี มค่ อร์รัปชัน ตอน เข้าแถว”
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
สงั เกตการตอบคำ�ถาม
๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถาม
๕.๓ เกณฑ์การประเมนิ
เด็กผา่ นการประเมนิ ระดับ ๒ ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวยั 115

๗. ภาคผนวก

คำ�คลอ้ งจอง “ความรู้คคู่ ุณธรรม”

หากความรู้สงู ลำ�้ คณุ ธรรมเลศิ
แสนประเสรฐิ กอบกิจวินจิ ฉยั
จะพฒั นาประชาราษฎร์ทง้ั ชาติไทย
ต้องฝึกใหค้ วามรคู้ คู่ ณุ ธรรม

(ผแู้ ตง่ : อาจารย์อ�ำ ไพ สจุ ริตกลุ )

วดี โี อนิมนต์ยิม้ เดลค่ี นดีไมค่ อรร์ ัปชัน

https://www.youtube.com/watch?v=H๑lsvIVVdEg

116 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเตมิ การป้องกนั การทจุ ริต”

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หนว่ ยท่ี ๓ ชอ่ื หนว่ ย STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๒ เรอื่ ง Transparent : ความหมายของความโปรง่ ใส

วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ชีแ้ จง: ให้ผูป้ ระเมนิ ทำ�เครอื่ งหมาย  ในช่องระดบั คุณภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ทป่ี ระเมนิ

ท่ี ชื่อ-สกลุ บอกความหมายและพฤตกิ รรม
ความโปรง่ ใส

๓๒๑

รวม
เฉลี่ย


ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑ์การประเมิน
บอกถึงความโปรง่ ใส
ระดับ ๓ : เดก็ สามารถบอกความหมายและพฤติกรรมความโปร่งใสได้ด้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กสามารถบอกความหมายและพฤตกิ รรมความโปรง่ ใสไดโ้ ดยมีผชู้ ี้แนะ
ระดบั ๑ : เด็กไมส่ ามารถบอกความหมายและพฤติกรรมความโปรง่ ใสได้

ระดบั ปฐมวยั 117

แผนการจัดประสบการณ์
หนว่ ยท่ี ๓ ชอ่ื หน่วย STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ รติ
ชัน้ ปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๓ เร่ือง Realise/Knowledge : ความหมาย เวลา ๑ ชัว่ โมง
ของความตืน่ ร้แู ละความรู้

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏิบัตติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ ริต
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ มพี ฤตกิ รรมความตน่ื รู้ และความรู้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
• ความตนื่ รู้ หมายถงึ ความเขา้ ใจตระหนกั รถู้ งึ รากเหงา้ ของปญั หา และพรอ้ มในการปอ้ งกนั
และแก้ไขปัญหาการทจุ รติ
• ความรู้ หมายถึง การพัฒนาองค์ความรู้อย่างสม่ำ�เสมอ เพ่ือให้เท่าทันต่อสถานการณ์
การทุจริต
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด)
๑) มที กั ษะชีวติ และอย่รู ่วมกบั ผอู้ ่นื ได้อยา่ งมีความสขุ
๒) มีทกั ษะการคดิ การใชภ้ าษาส่อื สาร และการแสวงหาความร้ไู ดเ้ หมาะสมกับวยั
๓.๓ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์/คา่ นยิ ม
ใฝ่เรียนรู้
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) เด็กและครรู ่วมกนั ท่องค�ำ คล้องจอง “ต้งั เอย๋ ตง้ั ไข่”
๒) เด็กและครสู นทนากนั ถงึ คำ�คล้องจอง “ต้งั เอย๋ ตัง้ ไข่” โดยครูใชค้ ำ�ถาม ดงั นี้
• ค�ำ คล้องจองทีเ่ รารว่ มท่องกนั มเี น้อื หาเกี่ยวกับเรอื่ งอะไร (ความตง้ั ใจ ใฝเ่ รียนร)ู้
๓) ครูให้เดก็ ชมวิดโี อ “เร่อื ง แพะสามตวั กับเจ้ายักษ์”
๔) ครูต้งั ค�ำ ถามใหเ้ ด็กไดค้ ดิ และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับนิทาน ดงั น้ี
• แพะท�ำ อยา่ งไรจงึ รอดตายจากการถูกยักษจ์ บั กนิ (เพราะแพะฉลาด มีวิธีคดิ แกป้ ญั หา
สามารถฝ่าฟันอปุ สรรค์ไปได้)
• ถ้าเราเป็นแพะเราจะทำ�อย่างไรจึงจะรอดตายจากการถูกยักษ์จับกิน (ก็จะคิดหาวิธี
ตา่ ง ๆ เหมอื นเจา้ แพะเชน่ กนั เพ่อื ให้สามารถขา้ มผ่านสะพานไปได)้

118 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”

๕) เดก็ และครรู ว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกบั วดี โี อทไี่ ดร้ บั ชม ครสู ะทอ้ นความเหน็ และการคน้ ควา้
ในการแก้ปัญหาจากเนอ้ื เรือ่ งในนทิ าน
๖) เด็กและครรู ่วมกนั สรปุ ข้อคดิ ท่ไี ด้จากนิทานเองน้ีดว้ ยกนั
๔.๒ สื่อการเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้
๑) คำ�คลอ้ งจอง “ตั้งเอย๋ ต้งั ไข”่
๒) วีดีโอนทิ าน เรือ่ ง “แพะสามตวั กับเจา้ ยักษ์”
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมิน
สงั เกตการตอบค�ำ ถาม
๕.๓ เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน
แบบสังเกตการตอบค�ำ ถาม
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เดก็ ผ่านการประเมินระดบั ๒ ขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน
๖. บันทึกหลงั การจดั ประสบการณ์
.......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงช่อื ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

ระดับปฐมวัย 119

๗. ภาคผนวก

คำ�คลอ้ งจอง “ตั้งเอ๋ยตั้งไข่”

ตัง้ เอย๋ ตงั้ ไข่
จะตั้งใย ไขก่ ลม กล็ ้มสิน้
ถึงวา่ ไข่ลม้ จะตม้ กนิ
ถ้าตกดนิ เสยี ก็อด หมดฝีมือ

ตั้งใจ เรานี้ จะดกี ว่า
อุตส่าห์ อา่ นเขียน เรยี นหนังสือ
ทง้ั วชิ า สารพดั เพียรหดั ปรอื
อยา่ ดงึ ด้ือ ตง้ั ไข่ รำ่� ไรเอย......

วดี โี อนทิ าน เรอื่ ง แพะสามตัวกับเจ้ายักษ์

https://www.youtube.com/watch?v=๒IuQrpsroSA

120 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”

แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก
หน่วยที่ ๓ ชือ่ หน่วย STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจรติ

แผนการจดั ประสบการณท์ ่ี ๓ เรอ่ื ง Realise/Knowledge : ความหมายของความตื่นร้แู ละความรู้
วันท่ี.............เดือน.............................พ.ศ............................

คำ�ชี้แจง : ให้ผู้ประเมินทำ�เครือ่ งหมาย  ในชอ่ งระดบั คณุ ภาพของเดก็ ในแต่ละประเด็นทปี่ ระเมนิ

ท่ี ชือ่ -สกลุ ความต่นื รู้ และความรู้ในการเรียนรู้
๓๒๑

รวม
เฉล่ยี

ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)
เกณฑก์ ารประเมนิ
ความตน่ื รู้ และความร้ใู นการเรยี นรู้
ระดับ ๓ : เด็กมีความต่ืนรู้ และเรียนร้ไู ด้ด้วยตนเอง
ระดับ ๒ : เดก็ มคี วามตืน่ รู้ และเรียนร้ไู ด้โดยมผี ูช้ ี้แนะ
ระดับ ๑ : เด็กไม่มคี วามตน่ื รู้ และเรยี นรู้

ระดบั ปฐมวยั 121

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชัว่ โมง

หน่วยที่ ๓ ช่ือหนว่ ย STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจรติ
ชัน้ ปฐมวยั
แผนการจดั ประสบการณท์ ี่ ๔ เร่อื ง Onward : ความหมายของการมุง่ ไปข้างหน้า

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏิบัติตนเป็นผูท้ ่ี STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจรติ
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ สามารถบอกถงึ พระราชกรณยี กจิ ของในหลวงทม่ี งุ่ ไปขา้ งหนา้ ในการพฒั นาประเทศไดเ้ หมาะ
สมกบั วัย
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การม่งุ ไปข้างหน้า หมายถึง มุง่ พฒั นาให้เกิดความเจริญอยา่ งยง่ั ยืน โดยรว่ มสร้างวัฒนธรรม
ไมท่ นตอ่ การทุจรติ อย่างไม่ย่อทอ้
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด)
๑) มีทกั ษะชวี ติ และอยรู่ ่วมกับผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ
๒) มที กั ษะการคดิ การใชภ้ าษาสอื่ สาร และการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกับวยั
๓.๓ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค/์ คา่ นยิ ม
ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำ�งาน
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ขั้นตอนการจดั ประสบการณ์
๑) ให้เด็กดูคลิปวีดีโอ เรอ่ื ง “เศรษฐกจิ พอเพียง” จากนัน้ ร่วมกันสนทนา โดยครูใช้ค�ำ ถาม
ดังนี้
• พอ่ ทนี่ ้องพอใจกลา่ วถงึ ในเรอ่ื งนี้ คือใคร (ในหลวงรัชกาลท่ี ๙)
• น้องพอใจกล่าวถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙ ว่าท่านทรงเป็นอะไรบ้าง (เป็นชาวนา
เป็นนกั ภูมิศาสตร์ เป็นนักประดิษฐ์ เป็นนักดนตรี เปน็ นกั ออกแบบ เปน็ นักถา่ ยภาพ)
๒) ใหเ้ ดก็ ดภู าพพระราชกรณยี กจิ ของในหลวงรชั กาลท่ี ๙ แลว้ รว่ มกนั สนทนาถงึ การมงุ่ มนั่
พฒั นาชาตไิ ทย ทใ่ี นหลวงรชั กาลที่ ๙ ท่านทรงทมุ่ เท เพ่ือให้ประเทศไทยมีความพัฒนา เจรญิ ก้าวหนา้
เทยี บทันกับนานาประเทศ วา่ ทรงพัฒนาชาติไทยในเร่อื งใดบ้าง
๓) เดก็ และครรู ่วมกนั สรปุ ถงึ ความมุ่งมั่นในการพฒั นาประเทศของในหลวงรชั กาลท่ี ๙
๔) เด็กและครรู ว่ มกันรอ้ งเพลง “ภมู แิ ผ่นดนิ นวมนิ ทรม์ หาราชา”

122 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเตมิ การป้องกันการทจุ ริต”

๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) การต์ ูนแอนิเมชั่น “เศรษฐกจิ พอเพียง แข่งขนั ทกั ษะวชิ าชีพ animation ๒d”
๒) เพลง “ภมู แิ ผน่ ดนิ นวมินทร์มหาราชา”
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
สังเกตการตอบคำ�ถาม
๕.๒ เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการตอบคำ�ถาม
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ
เด็กผ่านการประเมินระดบั ๒ ข้ึนไป ถือว่าผา่ น
๖. บันทึกหลังการจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงช่อื ................................................ ครผู ้สู อน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวัย 123

๗. ภาคผนวก

การต์ ูนแอนเิ มชนั่ เศรษฐกิจพอเพยี ง แขง่ ทักษะวชิ าชพี animation ๒d

https://www.youtube.com/watch?v=R๗๖Q-TNAvC๐

เพลงพอ่ ของแผ่นดนิ

(ญ.) บญุ ของแผ่นดนิ ไทย พอ่ หลวงบันดาลให้ ทีใ่ นยุง้ ฉางมีขา้ ว นำ้� รนิ ดินดใี ครเลา่
ทกุ ขใ์ ดเหนิ ไปบรรเทาด้วยพระบาท เกือบศตวรรษ ธ น�ำไทยทั้งชาติพน้ ภยั

(ช.) แผน่ ดินถิ่นเมืองทอง ผ่านพ้นโพยภยั เนืองนอง พระทรงคมุ้ ครองไทยไว้ ธ เปน็ พลัง
แผน่ ดนิ สมานพลงั ชวี นิ ของชนชาวไทย อนุ่ ใจไพรฟ่ า้ พระบญุ ญาเกรกิ ไกรภมู พิ ลมหาราชา

(พรอ้ ม) อ่าองค์สรุ ยี ศ์ รมี ีธรรมสอ่ ง ปกครองอย่างทรงพระเมตตา ดจุ บดิ รเหล่าประชา
ทุกขร์ ้อนใดใดกราย มาโอ้ฟา้ เปน็ ดง่ั ฝน ดับไฟ

(ญ.) ภมู ิใจไทย รว่ มร้อยหวั ใจร่วมใฝร่ ่วมหวัง
(ช.) ภูมิพลงั แผน่ ดินถน่ิ นี้ยงิ่ ใหญ่
(ญ.) ภมู ิประวตั ิ ประชาชาติภมู ิไผท
(ช. ภาคภูมปิ ระชาชยั ภมู ิพลงั แผน่ ดนิ
(พร้อม) เทิดไทน้ บนอ้ มเทิดทูล ธ เหนอื เกลา้ สราญนานเนา หทยั สขุ ล�ำ้ สมจินต์ เพริศแพร้ว

พิพฒั นเ์ ภทภัยพา่ ยแพ้ส้นิ นวมนิ ทร์มหาราชาภูมพิ ล
124 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกันการทจุ รติ ”

แบบสังเกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก

หน่วยที่ ๓ ชอื่ หน่วย STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต
แผนการจัดประสบการณท์ ่ี ๔ เรอ่ื ง Onward : ความหมายของการมุง่ ไปข้างหน้า

วันที.่ ............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชแี้ จง: ใหผ้ ู้ประเมินท�ำ เครือ่ งหมาย  ในชอ่ งระดับคณุ ภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ทป่ี ระเมิน

บอกถงึ พระราชกรณยี กิจของในหลวง
ในการมงุ่ ไปข้างหนา้ เพ่อื พัฒนาประเทศ
ที่ ช่อื -สกลุ ไดเ้ หมาะสมกบั วยั

๓๒๑

รวม
เฉลี่ย

ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑ์การประเมนิ
บอกถึงพระราชกรณียกิจของในหลวงในการพฒั นาประเทศไดเ้ หมาะสมกบั วัย
ระดบั ๓ : เดก็ สามารถบอกถงึ พระราชกรณยี กจิ ของในหลวงในการมงุ่ ไปขา้ งหนา้ เพอ่ื พฒั นา
ประเทศไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ สามารถบอกถงึ พระราชกรณยี กิจของในหลวงในการมุง่ ไปขา้ งหนา้ เพ่ือพฒั นา
ประเทศได้โดยมีผชู้ แี้ นะ
ระดบั ๑ : เดก็ ไมส่ ามารถบอกถงึ พระราชกรณยี กจิ ของในหลวงในการมงุ่ ไปขา้ งหนา้ เพอ่ื พฒั นา
ประเทศได้ด้วยตนเองได้

ระดบั ปฐมวยั 125

แผนการจดั ประสบการณ์

หน่วยที่ ๓ ช่อื หนว่ ย STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจรติ
ชนั้ ปฐมวัย
แผนการจดั ประสบการณ์ที่ ๕ เร่ือง Generosity : ความหมายของความเอื้ออาทร เวลา ๑ ช่ัวโมง

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏิบัตติ นเป็นผ้ทู ี่ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ รติ
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ เดก็ สามารถบอกพฤตกิ รรมความเออื้ อาทรกันได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
ความเออื้ อาทร คอื การอยรู่ ว่ มกนั ของสมาชกิ ในสงั คมหนงึ่ นน้ั ตอ้ งอาศยั ความเออื้ เฟอื้ เผอ่ื แผ่
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน รวมท้ังการเป็นสมาชิกในสังคม คิดและทำ�เพ่ือส่วนรวม รู้จักการให้เพ่ือน
ในสงั คม ไมเ่ หน็ ประโยชนส์ ว่ นตนเปน็ ใหญ่ และพรอ้ มทจ่ี ะเสยี สละหรอื ชว่ ยปกปอ้ งผลประโยชนข์ องสว่ นรวม
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
๑) มีทกั ษะชวี ิต และอยู่รว่ มกับผ้อู ื่นได้อยา่ งมีความสุข
๒) มที ักษะการคดิ การใชภ้ าษาสอื่ สาร
๓.๓ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค/์ ค่านยิ ม
ความเอือ้ เฟอื้ เผ่ือแผ่
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจดั ประสบการณ์
๑) ครูถามเด็กวา่ รู้จักรถไฟหรือไม่ รถไฟมีสว่ นประกอบอะไรบา้ ง (ประกอบด้วย หัวรถจกั ร
และตู้ หรอื โบกโ้ี ดยสาร) ใหเ้ ด็กดรู ูป หรือวาดรปู รถไฟประกอบ
๒) จัดขบวนรถไฟ
• ชวนเด็กเลน่ ต่อขบวนรถไฟ โดยหนงึ่ ขบวนใหม้ จี ำ�นวนเด็กไม่เกนิ สบิ คน
• จดั แถวเด็กเปน็ ขบวน แลว้ ให้เด็กช่วยนบั จำ�นวน
• ให้เด็กใช้แขนเกาะบ่าเพื่อนข้างหน้า สมมติคนหน้าสุดเป็นหัวรถจักร คนที่เหลือเป็น
โบกโี้ ดยสาร แลว้ เดนิ เปน็ ขบวน รอ้ งเปน็ เสียงหวดู รถไฟ “ปนู๊ ปนู๊ ฉกึ ฉกั ฉกึ ฉัก”
๓) เดนิ ทางสจู่ ดุ หมายปลายทาง
• ตงั้ ชอ่ื ขบวนรถ แลว้ ก�ำ หนดสถานทท่ี เี่ ปน็ จดุ หมายปลายทางใหแ้ ตกตา่ งกนั (ครอู าจจะ
ต้ังชื่อให้ เชน่ สถานดี อกไม้ สถานีสถานีสายรุ้ง)
• ให้เดก็ ผลดั เปลี่ยนกนั เป็นหัวจักรรถไฟ
• ครูให้แต่ละขบวนออกเดินทางไปยังสถานีจุดหมายปลายทาง เช่น “รถไฟสายสีส้ม
เดินทางไปสถานีหวั ลำ�โพง” ต่อมาให้เด็กรว่ มตัดสนิ ใจด้วยตนเองวา่ ตอ้ งการไปสถานีใด
• ตอ่ ขบวนให้ยาวขน้ึ แล้วออกเดินทาง
126 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกันการทุจริต”

๔) ธงสแี ดง ธงสเี ขยี ว (รถไฟหยดุ รถไฟเดนิ ทาง)
• ครูกำ�หนดกติกา อธิบายถ้าครูยกธงสีแดง ให้ขบวนรถไฟหยุด ถ้ายกธงสีเขียว
ให้ออกเดินทาง
๕) ให้เด็กคดิ และตอบค�ำ ถามว่า เหตกุ ารณท์ ี่เกิดขนึ้ ต่อไปนี้จะทำ�ให้เกดิ อะไรขนึ้
• รถไฟไม่ยอมออกเดินทาง โบก้ีรถไฟแย่งกันเป็นหัวรถจักร (เกิดความวุ่นวาย รถไฟ
เดินทางไปไม่ถึงจุดหมาย)
• โบกี้รถไฟตัดสนิ ใจไปคนละสถานี (เกดิ ความวุ่นวาย รถไฟเดินทางไปไมถ่ ึงจดุ หมาย)
• โบกร้ี ถไฟเหลอื เพยี งหนง่ึ ตู้ ขบวนรถไฟเหลอื เพยี งหวั รถจกั ร (รถไฟไมส่ ามารถเดนิ ทางได)้
• หวั รถจกั รหลงทาง ขบวนรถไฟทง้ั ขบวนหลงทาง (รถไฟหลงทาง เดนิ ทางไมถ่ งึ จดุ หมาย)
• รถไฟไมห่ ยุดตามสัญญาณธง (รถอาจจะชนกัน เกิดอุบตั ิเหตุ)
• โบกี้รถไฟเอาแต่ใจตนเอง โบก้ีไม่อยากเดินตามหัวรถจักร (รถไฟจะไม่สามารถ
ออกเดินทางได้ ต่างคนต่างไปคนละทิศ คนละทาง)
๖) เดก็ และครรู ่วมกันสรุปถงึ ความเออ้ื อาทรกนั ทุกคนในสงั คมตอ้ งช่วยเหลอื เก้อื กูลกัน
๔.๒ สอ่ื การเรียนรู/้ แหล่งการเรียนรู้
๑) รูปภาพ รถไฟ
๒) ธงที่ประดิษฐจ์ ากกระดาษสี
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมิน
สังเกตการตอบคำ�ถาม
๕.๒ เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ
แบบสังเกตการตอบคำ�ถาม
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เด็กผา่ นการประเมินระดับ ๒ ขน้ึ ไป ถอื ว่าผ่าน
๖. บนั ทึกหลงั การจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................ ครูผสู้ อน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวยั 127

๗. ภาคผนวก ภาพรถไฟ

ธงให้สญั ญาณ ธงสีเขยี ว

ธงสีแดง

128 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

แบบสงั เกตการตอบคำ�ถามของเดก็

หน่วยที่ ๓ ช่ือหนว่ ย STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
แผนการจดั ประสบการณ์ที่ ๕ เรอื่ ง Generosity : ความหมายของความเอ้อื อาทร

วนั ท่.ี ............เดือน.............................พ.ศ............................
ค�ำ ชีแ้ จง : ใหผ้ ู้ประเมนิ ทำ�เครือ่ งหมาย  ในช่องระดบั คณุ ภาพของเด็กในแต่ละประเดน็ ทีป่ ระเมนิ

ที่ ช่ือ-สกลุ บอกถงึ พฤติกรรมของการเอื้ออาทรกันได้
๓๒๑

รวม
เฉล่ีย

ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑ์การประเมิน
บอกถงึ พฤตกิ รรมของการเออ้ื อาทรกันได้
ระดับ ๓ : เด็กสามารถบอกถงึ พฤตกิ รรมของการเออ้ื อาทรไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : เด็กสามารถบอกถงึ พฤติกรรมของการเออ้ื อาทรไดโ้ ดยมีผูช้ ้แี นะ
ระดับ ๑ : เดก็ ไมส่ ามารถบอกถงึ พฤติกรรมของการเออื้ อาทรได้

ระดับปฐมวัย 129

แผนการจดั ประสบการณ์ เวลา ๑ ชัว่ โมง

หนว่ ยท่ี ๓ ช่ือหนว่ ย STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต
ช้นั ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ่ี ๖ เรอ่ื ง ความหมายของการตา้ นทุจรติ

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ ปฏิบัติตนเป็นผู้ที่ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ บอกพฤติกรรมการต้านทุจรติ ได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การตา้ นทจุ รติ หมายถงึ การท�ำ หนา้ ทอ่ี ยา่ งซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ เขา้ ใจและฝกึ พฤตกิ รรมการไมเ่ อาของ
ของคนอ่ืนมาเปน็ ของตนเอง เก็บของได้แลว้ ส่งคืน การพูดความจริง ไมโ่ กหก และการไม่ใช้เล่หเ์ หลย่ี ม
คดโกงเอาเปรยี บผู้อ่ืน
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) มีทกั ษะชีวติ และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข
๒) มที ักษะการคดิ การใชภ้ าษาส่อื สาร
๓.๓ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค/์ คา่ นยิ ม
ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขัน้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) เด็กและครูร่วมกันทอ่ งคำ�คลอ้ งจอง “ดนิ สอแกว้ ตา”
๒) เด็กและครูสนทนากนั ถงึ ค�ำ คล้องจอง “ดนิ สอแก้วตา” โดยใช้คำ�ถามวา่
• ถ้าเราพบดินสอสใี นหอ้ งเรียนเราจะทำ�อยา่ งไร (ประกาศหาเจ้าหา เอาไปคืนเจ้าของ)
• ถ้าเราอยากใชด้ ินสอสขี องเพ่อื นเราจะทำ�อย่างไร (ขอยืมเพอื่ น)
๓) สนทนากบั เดก็ เรอ่ื ง “เตา่ ”โดยใชบ้ ตั รภาพมาใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรลู้ กั ษณะของเตา่ และเชอ่ื มโยง
เข้าสู่การเล่านิทาน เร่ือง “แหวนแห่งความซ่ือสัตย์” โดยใช้หุ่นถุงกระดาษมาใช้ประกอบการเล่านิทาน
เพ่ือให้เด็กเกดิ ความสนใจ
๔) เดก็ และครรู ว่ มกนั สนทนาเกย่ี วกบั นทิ าน เรอื่ ง “แหวนแหง่ ความซอื่ สตั ย”์ โดยใชค้ �ำ ถาม
ดังนี้
• แหวนเป็นของใค
• ต้วมเตยี้ ม ทำ�อะไรทเ่ี รยี กว่า “ซ่ือสัตย”์ (เอาแหวนไปคืนเจา้ ของ)
• ต้วมเต้ยี ม ท�ำ อะไรท่เี รียกว่า “ไมซ่ อื่ สัตย”์ (เกบ็ แหวนได้แล้วไมเ่ อาไปคนื เจา้ ของ)

130 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

• ต้วมเต้ียม รสู้ กึ อยา่ งไรเม่อื ไมพ่ ูดความจรงิ (ไม่สบายใจ ปน่ั ป่วนในทอ้ ง)
• ต๊อกแต๊ก พ่ีสาวของต้วมเต้ียม ช่วยให้ต้วมเต้ียมหายปวดท้องอย่างไร (แนะนำ�ให้
ต้วมเตีย้ มเอาแหวนไปคนื เจ้าของ)
• การท่ี ต๊อกแต๊ก พูดว่า “ต้วมเตี้ยมทำ�ถูกต้องแล้ว” คือการกระทำ�อะไร
(การช่วยกันแนะนำ� เพ่อื ชว่ ย ต่อตา้ นการทุจรติ )
• ถ้าเราพบสิง่ ของทีเ่ จา้ ของทำ�ตกไว้ เราจะท�ำ อย่างไร (จะเอาไปคืนเจา้ ของ)
๕) เดก็ และครูรว่ มกนั สรุปขอ้ คดิ ที่ได้จากนทิ านเองนี้ด้วยกัน
๔.๒ สอื่ การเรียนรู/้ แหล่งการเรียนรู้
๑) คำ�คล้องจอง “ดนิ สอแก้วตา”
๒) นทิ าน เร่ือง “แหวนแหง่ ความซ่อื สตั ย”์
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธีการประเมิน
สังเกตพฤติกรรม
๕.๒ เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรม
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ
เด็กผ่านการประเมนิ ระดบั ๒ ขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
..................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

ระดับปฐมวัย 131

๗. ภาคผนวก

“ดนิ สอแกว้ ตา”
ดินเอย๋ ดินสอ ขอยมื ได้ไหม
เห็นแล้วอยากได้ เพราะวา่ สวยดี
เธอซือ้ ท่ีไหน ขอได้ไหมนี่
ดูสิดซู ี ชา่ งสวยบาดตา
ดนิ สอของเธอ ฉนั เผลอถอื มา
คนื ใหแ้ กว้ ตา ไม่ใช่ของเรา
แม้วา่ อยากได้ แต่ไมก่ ลา้ เอา
เปน็ ของใครเขา เขาตา่ งก็รกั
ฉนั สง่ คืนเธอ เธอยมิ้ ทายทกั
ดินสองามนัก ฉันจักแบ่งเธอ

132 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

นทิ าน เรอ่ื ง แหวนแหง่ ความซอื่ สตั ย์

ตอ๊ กแตก๊ และตว้ มเตยี้ มเปน็ เตา่ ทะเล ชอบวา่ ยนำ�้ กลางแสงแดด วนั หนงึ่ ขณะทต่ี ว้ มเตยี้ มก�ำลงั
ว่ายน�้ำใกล้กับชายหาดที่มีผู้คนมาเล่นน�้ำจ�ำนวนมาก ต้วมเตี้ยมมองเห็นแหวนทองค�ำแสนสวยแวววาว
ทสี่ ุดเทา่ ทเ่ี คยเหน็ มา ตกอยูท่ ่ีพ้ืนใต้น�้ำ “ใครท�ำแหวนตกไว้นะ” “แต่มนั ไม่ใช่ของฉันน่ีนา” “แลว้ ท�ำไม
มนั จะเปน็ ของฉนั ไมไ่ ดล้ ะ่ ” ตว้ มเตย้ี มพดู กบั ตวั เอง “ฉนั เปน็ คนเจอกต็ อ้ งเปน็ ของฉนั ส”ิ ตว้ มเตยี้ มวา่ ยนำ�้
ไปพร้อมกับสวมแหวนทองค�ำแสนสวยแวววาวไว้บนน้ิวเล็กๆ สีเขียว เวลาท่ีต้วมเต้ียมแหวกว่าย
แหวนบนน้ิวสีเขียวย่ิงดูสวยงามเป็นประกายแวววาว “ดูท่ีแหวนของฉันสิ ช่างสวยเหลือเกิน เพื่อน ๆ
ตอ้ งชอบแหวนของฉนั แน่ ๆ” ขณะท่บี นชายหาด ตว้ มเต้ยี มไดย้ นิ เสียงใครบางคนตะโกนวา่ “มีใครเห็น
แหวนของฉันไหม” “มีใครเห็นแหวนทองค�ำแสนสวยแวววาวที่สุดไหม” ต้วมเตี้ยมชักลังเลสงสัยว่า
จะเปน็ แหวนทตี่ ว้ มเตยี้ มเกบ็ ไดห้ รอื เปลา่ นะ “ไมใ่ ชห่ รอกนา่ ” ตว้ มเตย้ี มบอกตวั เอง “ไมใ่ ชห่ รอก ไมใ่ ชแ่ น่ ๆ
ไมใ่ ชแ่ หวนของฉนั หรอก” เมอ่ื ตว้ มเตย้ี มวา่ ยนำ�้ จากชายฝง่ั ไปกลางทะเลลกึ เพอ่ื น�ำแหวนแสนสวยไปอวด
เพอื่ น ๆ เพอื่ น ๆ ของตว้ มเตยี้ มเหน็ แหวนทองค�ำแสนสวยแวววาวทส่ี ดุ บนนว้ิ ของตว้ มเตย้ี ม “สวยทส่ี ดุ เลย
สวยท่ีสดุ เลย” แล้วถามตว้ มเตยี้ มว่า “ตว้ มเต้ียมเธอได้แหวนวงนม้ี าจากไหนจะ๊ ” “โอ เอ่อ ฉนั ฉัน เอ่อ
ซื้อมาจะ้ ” ต้วมเตี้ยมอกึ อกั เม่ือตอ้ งตอบค�ำถามเพือ่ น ต้วมเต้ยี มรตู้ ัวดวี า่ เธอไมไ่ ด้พูดความจรงิ ท้องของ
ต้วมเต้ียมเรม่ิ ปนั่ ป่วน เหมอื นมีผเี สอื้ เปน็ ร้อย ๆ ตัวบินวนเวยี นอยูใ่ นทอ้ ง ตว้ มเต้ียมรสู้ ึกไม่สบาย จงึ รบี
วา่ ยนำ�้ ไป ตอ๊ กแตก๊ พสี่ าวของตว้ มเตย้ี มไดย้ นิ เรอื่ งแหวนของตว้ มเตย้ี มจากเพอื่ น ๆ จงึ วา่ ยนำ�้ ออกตามหา
ต้วมเตยี้ มและเหน็ แหวนแสนสวยวงนัน้ “ตว้ มเต้ียมจ๊ะ นอ้ งเอาแหวนมาจากไหน” “เอ่อ เอ่อ ฉนั เอ่อ มี
คนใหฉ้ ันมา เอย้ ฉนั ซอ้ื มา เอ่อไมใ่ ช่ ฉันเกบ็ ได้ เออ่ ฉัน ฉนั …” ตว้ มเตีย้ มพยายามตอบค�ำถามพี่สาวอย่าง
ตะกกุ ตะกกั “ตว้ มเตยี้ ม” ตอ๊ กแตก๊ พดู เสยี งออ่ นโยนแลว้ ถามอกี ครงั้ วา่ “นอ้ งไปเอาแหวนมาจากไหนจะ๊ ”
“คือฉันเกบ็ มันได้ท่ีชายหาด แถว ๆ ทม่ี คี นเล่นน้�ำจะ้ พต่ี ๊อกแต๊ก” ตว้ มเตี้ยมก้มหน้า ตอบพึมพ�ำ “น้อง
คดิ วา่ ใครอาจจะท�ำแหวนตกหายหรอื เปลา่ จ๊ะ” ต๊อกแตก๊ ถามตอ่ ต้วมเตย้ี มมองหน้าพีส่ าวและพยักหนา้
“น่าจะเป็นอย่างนั้นล่ะจ้ะ” “น้องคิดว่า น้องน่าจะท�ำอย่างไรดีกับแหวนที่น้องเก็บได้” ต๊อกแต๊กถาม
ตว้ มเตย้ี ม ตว้ มเตยี้ มหยดุ คดิ สกั ครหู่ นงึ่ แลว้ ตอบวา่ ฉนั คดิ วา่ ฉนั นา่ จะวา่ ยนำ�้ กลบั ไปทชี่ ายหาดและเอาแหวน
ไปให้ต�ำรวจ ต�ำรวจจะได้ตามหาเจ้าของจะ้ ” “พค่ี ดิ วา่ นนั่ เปน็ สง่ิ ดที ี่สุดเลยจ้ะ ตว้ มเตยี้ ม นอ้ งคดิ ว่านอ้ ง
ท�ำถกู ตอ้ งหรอื เปลา่ จะ๊ ”ตว้ มเตย้ี มรบี พยกั หนา้ “แนน่ อนจะ้ พต่ี อ๊ กแตก๊ ”ในทสี่ ดุ ตว้ มเตย้ี มกเ็ อาแหวนทองค�ำ
แสนสวยแวววาวทส่ี ุดเทา่ ท่ีเธอเคยเหน็ มา มอบใหต้ �ำรวจ แล้วต�ำรวจก็น�ำไปคนื เจา้ ของที่แท้จริงต่อไป
ตว้ มเตย้ี มวา่ ยนำ�้ กลบั บา้ น และเจอพส่ี าวก�ำลงั รออย“ู่ พตี่ อ๊ กแตก๊ จา๋ ฉนั ไมช่ อบเปน็ คนไมซ่ อ่ื สตั ยเ์ ลย
ฉันรู้สึกดีข้ึนต้ังเยอะเวลาพูดความจริง ตอนนี้ผีเสื้อในท้องของฉันหายไปหมดแล้ว ไม่ปวดท้องแล้ว”
ตอ๊ กแตก๊ จงึ บอกต้วมเตี้ยมวา่ “เมอ่ื เราพูดความจรงิ เราจะร้สู ึกดีทงั้ ขา้ งในทัง้ ข้างนอก แต่เวลาเราท�ำไม่ดี
เรากจ็ ะรสู้ กึ ไมส่ บายตวั ไมส่ บายใจ พด่ี ใี จมากทตี่ ว้ มเตย้ี มท�ำสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ ง ดจี รงิ ทนี่ อ้ งหายปวดทอ้ งและรสู้ กึ
สบายทอ้ งแลว้ ถา้ ง้นั เรามากนิ ขนมเคก้ กนั ดีกว่า”

http://dl.dropbox.com/u/๗๗๘๗๕๘๑/ring_of_honesty.mp๓%๕D
Click to hear the story of The Ring of Honesty.

The original story is posted on the โตไปไมโ่ กง website here
ระดับปฐมวัย 133

แบบสงั เกตพฤติกรรมของเด็ก

หนว่ ยที่ ๓ ชื่อหน่วย STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๖ เรอ่ื ง ความหมายของการตา้ นทจุ รติ

วนั ท่ี.............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ชีแ้ จง : ใหผ้ ู้ประเมนิ ทำ�เครื่องหมาย  ในชอ่ งระดบั คณุ ภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเด็นทป่ี ระเมนิ

ท่ี ชอ่ื -สกลุ มีพฤตกิ รรมซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
๓๒๑

รวม
เฉลยี่

ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑก์ ารประเมิน
มพี ฤตกิ รรมซอื่ สัตย์สุจรติ
ระดับ ๓ : เดก็ มพี ฤติกรรมทีซ่ ่อื สัตยส์ จุ ริตไดด้ ว้ ยตนเอง
ระดับ ๒ : เดก็ มพี ฤตกิ รรมทซ่ี อื่ สัตย์สุจริตได้โดยมผี ู้ชี้แนะ
ระดับ ๑ : เดก็ ไม่มีพฤติกรรมทซี่ ่อื สตั ยส์ จุ รติ

134 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

แผนการจดั ประสบการณ์

หนว่ ยท่ี ๓ ชอ่ื หนว่ ย STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจรติ
ชนั้ ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๗ เรื่อง การรบั ประทานอาหารท่ีสอดคล้องกบั STRONG เวลา ๑ ชว่ั โมง
๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ ปฏบิ ัติตนเป็นผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ สามารถบอกวิธีการรับประทานอาหารอย่างพอเพียง แบ่งปัน และเคารพกฎ กติกา หรือ
ข้อตกลงของการรับประทานอาหารได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การรับประทานอาหารอย่างพอเพียง หมายถึง การรับประทานอาหารให้เพียงพอต่อ
ความต้องการของร่างกายไม่รับประทานมากเกินไปหรือน้อยเกินไป โดยรู้จักกิน รู้จักแบ่งปันและ
เคารพกตกิ า ข้อตกลงของการรบั ประทานอาหาร
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
๑) มที ักษะชีวิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒) มีทกั ษะการคดิ การใชภ้ าษาสื่อสาร
๓.๓ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์/ค่านิยม
อยู่อย่างพอเพยี ง ความเอ้อื เฟ้ือเผอ่ื แผ่
๔. การจัดประสบการณ์
๔.๑ ขั้นตอนการจดั ประสบการณ์
๑) เดก็ และครู ร่วมกันร้องเพลง “มากินข้าวสิ ”
๒) ครูสนทนากับเด็กถึง เร่ือง “อาหารไทย” ครูยกตัวอย่างอาหารไทย มา ๕ อย่าง
มีต้มข่าไก่ ผัดผกั ไขเ่ จียว ตม้ ย�ำกุ้ง นำ้� พริกปลาทู ผักต้ม
๓) ครบู อกเดก็ วา่ วนั นเี้ ราจะมาท�ำ อาหารทานกนั นะคะ ครเู ตรยี มของมา ส�ำ หรบั ท�ำ ไขเ่ จยี ว
โดยก�ำ หนดขอ้ ตกลงใหเ้ ดก็ ดงั น้ี
• ให้เดก็ แบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๕ คน
• ครแู จกไขใ่ ห้เด็กกลุ่มละ ๓ ฟอง
• ครมู เี ครอื่ งปรงุ รสให้กับเดก็ กลมุ่ ละ ๑ ชุด โดยใหเ้ ด็กได้ตวงสว่ นผสมเอง
• เมอ่ื ทำ�เสร็จให้เด็กนำ�ไข่เจียวไปทานร่วมกันในกลุ่ม โดยแบ่งกนั ทาน

ระดับปฐมวยั 135

๔) เด็กและครูร่วมกันสรุปเก่ียวกับการทำ�ไข่เจียวและรับประทานไข่เจียวร่วมกัน โดยใช้
คำ�ถาม ดังนี้
• เรามวี ิธีการรับประทานไขเ่ จยี วรว่ มกันอย่างไร (แบ่งกนั ทานทกุ คน)
• แลว้ เราคิดว่าเราจะแบ่งไข่ อย่างไร (แบ่งใหเ้ ท่าๆกนั )
• เรามกี ตกิ าของกลมุ่ ในการรบั ประทานอาหารหรอื ไม่ ถา้ ไมม่ ใี หร้ ว่ มกนั คดิ กตกิ าในการ
รับประทานอาหาร (มี คือ ทกุ คนต้องแบ่งปนั กนั ทานแต่พอประมาณ ไม่แย่งกนั ทานเสร็จแลว้ ก็ต้องชว่ ย
กนั เกบ็ )
๔.๒ สอื่ การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรียนรู้
๑) อุปกรณท์ �ำไขเ่ จยี ว (ไข/่ กระทะ/ซอส/นำ้� มนั /ผัก)
๒) รปู ภาพอาหารไทย
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมิน
สงั เกตการตอบค�ำ ถามและการเลา่ เร่อื งของเด็ก
๕.๒ เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมิน
แบบสังเกตการตอบคำ�ถามและการเล่าเรือ่ ง
๕.๓ เกณฑ์การประเมิน
เด็กผา่ นการประเมนิ ระดบั ๒ ขึน้ ไป ถอื วา่ ผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครผู ูส้ อน
(...............................................)

136 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

๗ ภาคผนวก

ภาพอาหารไทย

เพลง มากนิ ข้าวสิ

มากินขา้ วซิ มากินขา้ วซิ
กบั ดีดี กบั ดีดี มีทัง้ แกงและตม้ ย�ำ
อ�ำ อ�่ำ อ�ำ อรอ่ ยดี

ระดบั ปฐมวัย 137

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเดก็

หน่วยที่ ๓ ชื่อหนว่ ย STRONG : จติ พอเพียงต้านทุจรติ
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๗ เรอ่ื ง การรบั ประทานอาหารท่สี อดคล้องกับ STRONG

วนั ที่.............เดือน.............................พ.ศ............................
คำ�ชี้แจง : ใหผ้ ปู้ ระเมินท�ำ เคร่อื งหมาย  ในช่องระดบั คณุ ภาพของเด็กในแต่ละประเดน็ ทป่ี ระเมนิ

บอกวธิ ีรบั ประทานอาหารอย่างพอเพยี ง
แบง่ ปันและเคารพกติกา ขอ้ ตกลง
ที่ ชื่อ-สกุล ของการรับประทานอาหาร

๓๒๑

รวม
เฉลี่ย

ลงชอื่ ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑ์การประเมิน
บอกวิธีรับประทานอาหารอยา่ งพอเพยี ง แบ่งปนั และเคารพกฏิกาข้อตกลงของการรบั ประทานอาหาร
ระดบั ๓ : เด็กสามารถบอกวิธีรับประทานอาหารอย่างพอเพียง แบ่งปันและเคารพกติกาของ
การรบั ประทานอาหารไดด้ ้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เด็กสามารถบอกวิธีรับประทานอาหารอย่างพอเพียง แบ่งปันและเคารพกติกาของ
การรบั ประทานอาหารได้โดยมีผชู้ ้ีแนะ
ระดบั ๑ : เดก็ ไมส่ ามารถบอกวธิ รี บั ประทานอาหารอยา่ งพอเพยี ง แบง่ ปนั และไมเ่ คารพกตกิ าของ
การรับประทานอาหารได้
138 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกันการทุจริต”

แผนการจดั ประสบการณ์ เวลา ๑ ชั่วโมง

หน่วยที่ ๓ ช่อื หน่วย STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ รติ
ชนั้ ปฐมวยั
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ี ๘ เรอ่ื ง การช่วยเหลอื เพ่อื นที่สอดคล้องกับ STRONG

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏิบตั ิตนเป็นผ้ทู ่ี STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ เด็กสามารถอธบิ ายวธิ กี ารชว่ ยเหลอื เพอ่ื นได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การช่วยเหลือเพ่ือน คือ การมีน้�ำใจ เมตตากรุณา ช่วยเหลือแบ่งปัน แสดงความรักเพื่อน
เห็นอกเหน็ ใจผอู้ ืน่ เดก็ ไดเ้ รยี นรู้ ท�ำกจิ กรรมร่วมกนั กบั เพอื่ นได้อย่างมคี วามสุข
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด)
๑) มที ักษะชวี ิต และอยู่รว่ มกับผ้อู ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสขุ
๒) มีทักษะการคดิ การใชภ้ าษาสอ่ื สาร
๓.๓ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์/คา่ นิยม
ความเออ้ื เฟ้ือเผ่อื แผ่
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ข้นั ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ให้เด็กดนู ิทาน เรอื่ ง “เราผองเพือ่ น” จากน้ันรว่ มกนั สนทนา โดยครูใช้คำ�ถาม ดงั นี้
• เกดิ เหตกุ ารณ์อะไรขนึ้ กับเจา้ กวาง (เสอื จะมาจบั กนิ )
• เจา้ กวางโดนเสอื จบั กนิ ไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ไมไ่ ด้ เพราะเพอ่ื น ๆ เหลา่ สตั วท์ ง้ั หลาย
มาช่วยเจา้ กวางไว)้
• ท�ำ ไมเจา้ เสอื ถงึ ตอ้ งหนไี ป (เพราะเจา้ เสอื ปวดหู จากเสยี งสตั วต์ า่ ง ๆ ทม่ี าชว่ ยเจา้ กวาง)
• ถา้ เราเปน็ เพอ่ื นของเจา้ กวาง เราจะท�ำ อยา่ งไร (กจ็ ะชว่ ยเหลอื เจา้ กวางใหร้ อดจากการ
เปน็ อาหารของเจ้าเสือเชน่ กัน)
๒) ใหเ้ ดก็ เลา่ ประสบการณข์ องตนเองเกีย่ วกับการชว่ ยเหลอื เพอ่ื น ใหเ้ พ่ือนๆ ในช้นั ฟัง
๓) เดก็ และครรู ว่ มกันสรุปเกย่ี วกบั วธิ กี ารปฏิบัตติ นทีด่ ีตอ่ เพอ่ื น การช่วยเหลอื เพ่อื น
๔.๒ สื่อการเรียนร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้
นทิ าน เรื่อง “เราผองเพ่ือน”

ระดับปฐมวัย 139

๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมิน
สงั เกตการตอบคำ�ถามและการเลา่ เร่ืองของเด็ก
๕.๒ เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการประเมิน
แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามและการเลา่ เรือ่ ง
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
เดก็ ผา่ นการประเมนิ ระดับ ๒ ข้ึนไป ถือวา่ ผ่าน
๖. บันทกึ หลงั การจัดประสบการณ์
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงช่อื ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)
๗. ภาคผนวก

นิทาน เรอื่ ง เราผองเพอื่ น

https://www.youtube.com/watch?v=aP๘PtAhk๐Zc

140 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถามของเด็ก

หนว่ ยท่ี ๓ ชื่อหน่วย STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต
แผนการจัดประสบการณ์ที่ ๘ เร่อื ง การช่วยเหลอื เพ่อื นที่สอดคลอ้ งกับ STRONG

วันท.ี่ ............เดอื น.............................พ.ศ............................
คำ�ชี้แจง : ใหผ้ ูป้ ระเมินท�ำ เครือ่ งหมาย  ในชอ่ งระดบั คุณภาพของเดก็ ในแตล่ ะประเดน็ ที่ประเมิน

ที่ ชอื่ -สกุล การช่วยเหลอื เพอื่ น
๓๒๑

รวม
เฉลี่ย

ลงชอ่ื ................................................ ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

เกณฑก์ ารประเมิน
การช่วยเหลอื เพ่ือน
ระดบั ๓ : เด็กสามารถช่วยเหลือเพ่อื นไดด้ ้วยตนเอง
ระดบั ๒ : เดก็ สามารถช่วยเหลือเพ่ือนได้โดยมีผู้ชีแ้ นะ
ระดับ ๑ : เดก็ ไม่สามารถช่วยเหลอื เพ่อื นได้

ระดบั ปฐมวยั 141

แผนการจัดประสบการณ์ เวลา ๑ ชัว่ โมง

หนว่ ยท่ี ๓ ชอ่ื หนว่ ย STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต
ชัน้ ปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณท์ ี่ ๙ เรอ่ื ง การใชก้ ระดาษที่สอดคล้องกับ STRONG

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏิบัตติ นเป็นผูท้ ี่ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ เราสามารถบอกวธิ กี ารใช้กระดาษอย่างประหยดั ได้
๒.๒ เราสามารถใช้กระดาษได้อยา่ งประหยัด
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การใช้กระดาษอย่างประหยัด หมายถึง การรู้จักใช้กระดาษอย่างพอเพียง ใช้เท่าที่จำ�เป็น
ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ และคุ้มคา่
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กดิ )
๑) มีทักษะชีวติ
๒) มที ักษะการคิด การใชภ้ าษาสอ่ื สาร
๓.๓ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์/ค่านยิ ม
ความประหยดั อยูอ่ ย่างพอเพียง
๔. การจดั ประสบการณ์
๔.๑ ขนั้ ตอนการจัดประสบการณ์
๑) ใหเ้ ดก็ ดคู ลปิ วดี โี อ เรอื่ ง “ใชส้ งิ่ ของอยา่ งไร ใหป้ ระหยดั และคมุ้ คา่ ” จากนน้ั รว่ มกนั สนทนา
โดยครูใช้คำ�ถาม ดังน้ี
• เนอ้ื เรื่องในวดี ีโอ เก่ียวกบั เรอื่ งอะไร (การใช้สงิ่ ของอย่างประหยัด)
• ในเรอื่ งตวั ละครมพี ฤตกิ รรมอยา่ งไรทแ่ี สดงถงึ การประหยดั (ทานอาหารหมด ไมเ่ หลอื ,
ซอ่ มแซมเสอื้ ผา้ , ปดิ ไฟ ปิดพดั ลม หลังเลิกใช้, ปดิ น�้ำขณะแปรงฟัน)
๒) ครนู ำ�งานศิลปะ ฉกี ตดั ปะ มาท�ำ ร่วมกบั เดก็ โดยครูสาธิตการท�ำ งาน ฉกี ตดั ปะ และ
กำ�หนดขอ้ ตกลงกับเด็ก
• ครมู กี ระดาษสีส�ำ หรับเดก็ คนละ ๓ สี ใหเ้ ดก็ สร้างรูปผกั จากการฉกี แปะลงกระดาษ
โดยทเ่ี ด็กต้องใช้กระดาษอยา่ งประหยดั
• เด็กทำ�เสร็จแลว้ ใหน้ ำ�มาเลา่ ให้ครฟู ังว่าหนูได้ใชก้ ระดาษท�ำ อะไรไดบ้ ้าง
๓) ครแู ละเด็กรว่ มกนั สรปุ เก่ยี วกับการใชก้ ระดาษที่พอดเี หมาะสม

142 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๔.๒ สอ่ื การเรยี นร้/ู แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลิปวดี โี อ เรอ่ื ง “ใชส้ งิ่ ของอย่างไร ให้ประหยดั และค้มุ ค่า”
๒) กระดาษสีต่าง ๆ
๓) กาว
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
๑) สงั เกตการตอบคำ�ถาม
๒) สังเกตพฤตกิ รรมการใช้กระดาษอย่างประหยัด
๕.๒ เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการประเมิน
๑) แบบสงั เกตการตอบค�ำ ถาม
๒) แบบพฤติกรรมการใชก้ ระดาษอย่างประหยดั
๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ
เดก็ ผ่านการประเมินระดับ ๒ ขึ้นไป ถอื วา่ ผา่ น
๖. บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์
..................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงช่อื ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

ระดบั ปฐมวัย 143


Click to View FlipBook Version