The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรม "บันได 4 ขั้น สู่สุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ประจำปี 2562"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krc_pr, 2019-11-25 02:56:59

บันได 4 ขั้น สู่สุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเขารูปช้าง

นวัตกรรม "บันได 4 ขั้น สู่สุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเขารูปช้าง ประจำปี 2562"

Keywords: เขารูปช้าง,ผู้สูงอายุ

เทศบาลเมืองเขารปู ชา้ ง

KHAOROOPCHANG MUNICIPALITIES

นโควรัตงกการรรม

“บนั ได 4 ขัน้ สูส่ ุขภาวะทด่ี ี
ของผู้สงู วัยเมอื งเขารูปช้าง”

คำ� น�ำ

จากการคาดการณว์ า่ ในปี พ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะกา้ วเขา้ สกู่ ารเปน็ สงั คมผสู้ งู อายุ
โดยสมบรู ณ ์ ปญั หาดา้ นสขุ ภาพทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ จากการเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายคุ อื ความเจบ็ ปว่ ยและ
ความบกพรอ่ งในการทำ� งานของร่างกายในทุกๆ ดา้ นรวมถงึ ปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ กบั สภาพจติ ใจ
ประกอบกับผู้สูงอายุบางส่วนยังขาดความรู้ ความสามารถในการดูแลสุขภาพท่ีเหมาะสม
รวมทง้ั ไมม่ อี าชพี ทำ� ใหข้ าดรายได้ ในขณะทค่ี า่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� รงชพี และรกั ษาโรคมแี นวโนม้
สงู ขน้ึ ทำ� ใหผ้ สู้ งู อายเุ กดิ ภาวะเจบ็ ปว่ ยมากขนึ้ ดงั นน้ั เพอื่ ปอ้ งกนั ปญั หาดงั กลา่ ว จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมี
การวางแผนในการดแู ลผสู้ งู อายทุ ง้ั ในเรอ่ื งของการปอ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ย การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
ผสู้ งู อายุ และการเตรยี มความพรอ้ มของผสู้ งู อายุ นอกจากนน้ั ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งมรี ะบบการบรหิ าร
จัดการท่ีดีในการดูแล รักษา และฟื้นฟูในกรณีที่มีการเจ็บป่วยเพื่อให้ผู้สูงอายุมีศักยภาพ
และสขุ ภาวะที่ดี
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงได้จัดกระบวนการบันได 4 ข้ัน เพื่อสุขภาวะที่ดีของ
ผสู้ งู วยั เมอื งเขารปู ชา้ ง (2SHL) เพอ่ื พฒั นาการดแู ลผสู้ งู อายทุ มี่ สี ขุ ภาพดี และผสู้ งู อายทุ อ่ี ยใู่ น
ภาวะพึ่งพิงโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิต
ที่ดี มคี วามสขุ ทั้งกายและใจ และไดอ้ าศัยอยูก่ ับครอบครวั อย่างอบอนุ่

คณะผจู้ ดั ท�ำ

สารบญั

01 บทนำ� ๅ
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปญั หา 2
4
02 เอกสารและบทความทีเ่ กยี่ วข้อง
แนวคดิ เกี่ยวกับการมีส่วนรว่ ม 8
แนวคดิ ผู้สูงอายุ

03 วธิ ีดำ� เนินโครงการ
กรอบแนวความคิด
วิธีการด�ำเนินโครงการ
สถติ ิทใี่ ชใ้ นโครงการ

0044 แผลละบกทารเรดยีำ� เนนทนิ ไ่ีงดา้รนับ

ผลการด�ำเนนิ งานตามวตั ถุประสงค์
ผลการดำ� เนนิ งานตามตวั ชี้วัด
บทเรยี นท่ไี ด้รับ

1บทน�ำ

ความเปน็ มาและความส�ำคญั ของปญั หา

เทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ งมปี ระชากรทงั้ สน้ิ 42,048 คน (ปพี .ศ. 2561) และมปี ระชากรผสู้ งู อายุ
จำ� นวน 6,069 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.43 ของประชากรทงั้ หมด ซงึ่ เขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ สอดคลอ้ งกบั
สถานการณ์ของประเทศไทยทค่ี าดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะกา้ วเขา้ ส่กู ารเปน็ สังคม
ผู้สงู อายโุ ดยสมบูรณ ์ ปญั หาดา้ นสขุ ภาพประชาชนท่ีจะเกดิ จากการเข้าสสู่ งั คมผูส้ ูงอายุที่พบบ่อย
แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
กลุ่มแรกคือ กลุ่มโรคสามัญทั่วไปท่ีเป็นได้แม้ยังไม่เข้าสู่วัยผู้สูงอายุ เช่น
เบาหวาน ความดัน หัวใจ ไต ซึ่งเกิดได้กับคนทุกวัย แต่พออายุมากข้ึน ก็ย่ิงมีโอกาส
เป็นมากขึ้น เกิดความเจ็บป่วยมากข้ึน ความบกพร่องในการท�ำงานของร่างกายมากขึ้น
สว่ นกลมุ่ ทสี่ อง เปน็ กลมุ่ อาการทเี่ กดิ เฉพาะกบั ผสู้ งู อายุ คอื เกดิ จากความชราภาพของรา่ งกาย
หรอื จากผลขา้ งเคยี งจากโรคทรี่ มุ เรา้ ทำ� ใหก้ ารดแู ลตนเองความสามารถในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำ�
วนั ถดถอยลง ส�ำหรับกลุม่ อาการท่ีเป็นปญั หาเฉพาะหรอื พบบ่อยในผ้สู งู อายุนั้น ไดแ้ ก่
1.อาการสบั สนและสญู เสยี ความทรงจำ� เปน็ อาการทพี่ บไดเ้ มอ่ื อายมุ ากขนึ้ โดยสญั ญาณเตอื น
วา่ ผสู้ งู อายอุ าจมอี าการสมองเสอ่ื ม เชน่ เรยี นรหู้ รอื จดจำ� สงิ่ ใหมๆ่ ลำ� บาก พดู ซำ�้ ถามซำ�้ เรม่ิ บกพรอ่ ง
ในการทำ� สง่ิ ทซ่ี บั ซอ้ น หลงหรอื ลมื ทศิ ทางในทที่ ค่ี วรคนุ้ เคย ไมอ่ ยากเขา้ สงั คมหรอื พดู นอ้ ยลง อารมณ์
หรอื นสิ ยั เปลยี่ นแปลงไป เป็นตน้
2.ภาวะกระดกู พรนุ เปน็ ภาวะทผ่ี สู้ งู อายมุ กั ไมท่ ราบวา่ ตวั เองเปน็ เพราะแทบไมม่ อี าการแสดง
กว่าจะทราบก็เมื่อหกล้มกระดูกหักแล้ว ภาวะกระดูกพรุนคือการที่เน้ือกระดูกบางลง ท�ำให้เปราะ
หกั ง่าย ส่วนใหญ่พบได้ในผู้หญิงวยั หลังหมดประจ�ำเดอื นและผชู้ ายอายุมากกวา่ 70 ปี

3.ปัญหาการทรงตวั และการหกล้ม อาจเกดิ ไดจ้ ากหลายปัจจัย เชน่ ขอ้ เส่ือม กล้ามเน้อื ลบี
และออ่ นแรง โรคทางสมอง ความดนั โลหติ ตกเมอ่ื ลกุ ขน้ึ ยนื จากทา่ นงั่ หรอื นอน หวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ
ยาทมี่ ีผลตอ่ ความดนั โลหิตหรอื ทำ� ให้งว่ ง สภาพแวดล้อมท่มี แี สงสวา่ งไม่เพยี งพอ
4.อาการนอนไมห่ ลบั ผสู้ งู อายมุ กั มปี ญั หาคณุ ภาพการนอนทลี่ ดนอ้ ยลง อาจหลบั ยากขนึ้ ตน่ื
บ่อย หลบั ไม่ลึก และต่ืนมาไม่สดชืน่ โดยมสี าเหตจุ ากสภาพรา่ งกายที่เปลย่ี นแปลงตามวัย รวมถงึ
อาจมีสาเหตอุ ่นื ๆ เชน่ ภาวะซมึ เศรา้ ความเครยี ด ความวิตกกังวล อาการปวดตา่ งๆ กรดไหลยอ้ น
ปญั หาการหายใจหรอื โรคนอนกรน ปสั สาวะบ่อยตอนกลางคืน ผลข้างเคียงจากยา
5.ปญั หาการกลน้ั การขบั ถา่ ยไมอ่ ยู่ ซงึ่ เกดิ ไดจ้ ากหลายปจั จยั เชน่ กลา้ มเนอ้ื องุ้ เชงิ กรานหยอ่ น
หรอื ออ่ นลา้ กระเพาะปสั สาวะออ่ นไหวเกนิ ไป ความบกพรอ่ งในการควบคมุ การกลน้ั การขบั ถา่ ยท่ี
เกดิ จากสมองหรอื เสน้ ประสาท การรับประทานยาบางชนิด กระเพาะปสั สาวะอกั เสบ ภาวะทอ้ ง
ผกู ต่อมลูกหมากโต และโรคเบาหวาน
6.อาการมึนงง เวียนศีรษะ เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุและเป็นสาเหตุที่น�ำไปสู่
การหกลม้ ตามมาได้ อาการนีเ้ กิดไดจ้ ากหลายสาเหตุ เชน่ ความดันโลหติ ต่ำ� ผลขา้ งเคียงจากยา
(ยาแก้ปวดบางชนิดยาคลายเครียด ยากันชัก) ภาวะน�้ำในหูไม่เท่ากัน ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โลหิตจาง ความวิตกกังวล เป็นตน้
7.ปญั หาภาวะทพุ โภชนาการและความผดิ ปกตใิ นการรบั ประทานอาหาร ซงึ่ เกดิ ไดจ้ ากหลาย
สาเหตุ เชน่ ปญั หาสขุ ภาพฟนั ภาวะกลนื ลำ� บาก ความอยากอาหารนอ้ ยลง นำ�้ หนักลด ผลข้าง
เคียงจากยาทำ� ให้เบื่ออาหาร ภาวะซึมเศร้าหรือหลงลืมทำ� ให้ไม่ดูแลโภชนาการตนเอง โรคเร้ือรัง
ต่างๆ ท่สี ง่ ผลตอ่ ความอยากอาหาร เป็นตน้ สาเหตุเหล่าน้ีลว้ นส่งผลให้ผสู้ งู อายไุ ด้รับสารอาหาร
และพลังงานไม่เพียงพอ ซ่ึงอาจท�ำให้เกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ตามมา เช่น การติดเช้ือ
ภาวะกระดกู พรนุ กลา้ มเน้ือลีบลง และแขนขาออ่ นแรง
8.ปัญหาการได้ยิน ผู้สูงอายุจะมีความสามารถในการรับเสียงท่ีแย่ลง มักมีอาการหูอื้อหรือ
หูตงึ โดยมอี าการเริม่ แรกคือ ไม่ค่อยได้ยินเสยี งแหลมๆ หรอื เสียงทมี่ คี วามถสี่ ูง เช่น เสยี งผูห้ ญิง
เสยี งดนตรคี ยี ส์ ูงๆ
9.ปัญหาการมองเห็น นอกเหนือจากวัยที่เพิ่มขึ้นแล้ว โรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน
ต้อหิน ต้อกระจก จอประสาทตาเสื่อม ก็อาจเป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดปัญหาการมองเห็นท่ีลดลง
และส่งผลตอ่ คุณภาพชีวิตของผ้สู งู อายุได้

นอกจากปญั หาสขุ ภาพกายแลว้ ปัญหาสำ� คัญอกี ประการคอื ปัญหา
สขุ ภาพทางใจของผูส้ งู อาย ุ ซ่งึ ปัจจบุ ันเป็นปัญหาท่พี บได้บ่อยมากข้นึ โดย
ปญั หาสุขภาพทางใจ คอื

1. ผู้สูงอายุมีความวิตกกังวลกลัวว่าจะต้องพ่ึงลูกหลาน โดยแสดงออกในลักษณะขาดความ
เช่อื ม่ัน นอนไมห่ ลบั กลัวถกู ทอดทงิ้ ฯลฯ ทำ� ให้เกดิ ภาวะไมส่ บายใจและกาย เชน่ ใจส่นั แน่นหน้าอก
หายใจไมอ่ มิ่ ทำ� ใหอ้ อ่ นเพลยี ไมม่ แี รง ฯลฯ โดยแนวทางแกค้ อื การเปลย่ี นความคดิ ของตนเอง พยายาม
มองในแงค่ วามเปน็ จรงิ มากกว่าคดิ ไปล่วงหนา้ ฯลฯ
2. การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุบางคนเป็นโรคซึมเศร้า เพราะวัย
สูงอายุจะพบความสูญเสียได้บ่อย นอกจากนี้ยังมีอาการหงุดหงิด ระแวง เอาแต่ใจตนเอง ฯลฯ
ดงั นน้ั ลูกหลานจะตอ้ งแกไ้ ขดว้ ยการพบปะ พดู คุย และเปลีย่ นความคดิ เห็นกบั ผู้สูงอายุ หางานหรอื
กจิ กรรมใหผ้ สู้ งู อายทุ ำ� เพอ่ื ความเพลดิ เพลนิ และเกดิ ประโยชน์ อยา่ ปลอ่ ยใหผ้ สู้ งู อายอุ ยคู่ นเดยี ว ฯลฯ
3. การเปลี่ยนแปลงทางความคิด ผู้สูงอายุมักจะคิดซ้�ำซาก ลังเล ระแวง หมกมุ่นเร่ืองของ
ตวั เองและเรอ่ื งในอดตี และคดิ ถงึ ปจั จบุ นั ดว้ ยความหวาดกลวั กลวั ถกู ทอดทง้ิ กลวั ถกู เขารงั เกยี จ ฯลฯ
4. การเปล่ียนแปลงทางพฤติกรรม ผู้สงู อายุมกั เอาแต่ใจตัวเอง จู้จ้ี ขีบ้ ่น อย่ไู มส่ ุข ชอบยุ่งเรื่อง
คนอ่ืน หรืออาจมีปัญหาทางเพศ ในสังคมไทยมักไม่พูดถึงเรื่องเพศ ความเป็นจริงผู้สูงอายุเพศชาย
มีความตอ้ งการทางเพศอยตู่ ลอดเวลา แต่ในเพศหญงิ อาจไม่พบว่ามีความต้องการทางเพศ ท�ำใหเ้ กิด
ปญั หาขน้ึ ระหวา่ งคสู่ มรส แนวทางแกไ้ ขปญั หาคอื การเข้าพบแพทย์เพื่อรับคำ� ปรกึ ษา
5. การเปล่ียนแปลงของความจ�ำ ผู้สูงอายุมักจ�ำปัจจุบันไม่ค่อยได้และชอบย�้ำค�ำถามซ�้ำๆ
กบั คนทคี่ ยุ ดว้ ย ทำ� ใหเ้ กดิ ความเบอ่ื หนา่ ย บางรายจำ� ผดิ พลาด เปน็ ภาวะทเ่ี รยี กวา่ สมองเสอื่ ม แตถ่ า้ ไม่
รบกวนชวี ติ ประจำ� วนั ของผสู้ งู อายถุ อื วา่ ไมผ่ ดิ ปกติ แตใ่ นผสู้ งู อายทุ มี่ โี รคสมองเสอื่ ม การสญู เสยี ความ
จำ� จะรุนแรงมากจนมีผลในชวี ิตประจำ� วนั
จากการแบ่งกลมุ่ ผู้สูงอายใุ นเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง จ�ำนวนผู้สูงอายุท้ังหมด 6,069 คน
ตามกล่มุ ศกั ยภาพความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ิจวตั รประจำ� วนั (Barthel Activities of Daily Living
: ADL) เปน็ 3 กลมุ่ คือ กลุ่มตดิ สงั คม กลมุ่ ติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง พบวา่

- ผู้สงู อายุกลุ่มติดสังคม คดิ เป็นร้อยละ 94.90 ( 5,759 คน)
- กลุม่ ติดบา้ นคิดเปน็ รอ้ ยละ 3.29 (200 คน)
- กลุม่ ตดิ เตียงคิดเป็นร้อยละ 0.76 (46 คน)
- ไม่ได้รับการคดั กรองคดิ เป็นร้อยละ 1.05 (64 คน)
ซ่ึงพบว่า กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงมีแนวโน้มสูงข้ึน ประกอบกับหน่วยงานภาครัฐ
และภาคเอกชนท่ีมีบทบาทหน้าที่เก่ียวข้องกับการดูแลสุขภาพ สิทธิและสวัสดิการของผู้สูงอายุ
ยังคงแยกส่วนในการด�ำเนินการ การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีน้อย ส่งผลให้ข้อมูล
เกดิ ความคลาดเคลื่อน ผู้สูงอายุไมไ่ ด้รับการดูแลชว่ ยเหลอื ตามความจำ� เปน็ หรอื อาจไดร้ บั ความช่วย
เหลอื ซ้�ำซ้อน
ดังน้ันเพ่ือป้องกันปัญหาดังกล่าว จึงจ�ำเป็นต้องมีการวางแผนในการดูแลผู้สูงอายุ ท้ังในเรื่อง
ของการป้องกนั การเจ็บป่วย การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพผูส้ งู อายุ และการเตรียมความพรอ้ มของผสู้ งู อายุ
นอกจากนน้ั ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งมรี ะบบการบรหิ ารจดั การทดี่ ใี นการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั รกั ษา และฟน้ื ฟสู ขุ ภาพ
เพ่ือใหผ้ ูส้ งู อายุมศี ักยภาพและสขุ ภาวะที่ดี โดยมีแนวทางร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุ ญาติและเครอื ขา่ ย
ทีใ่ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือ
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ซ่ึงมีพันธกิจในการการดูแลคุณภาพชีวิต ตามแผนยุทธศาสตร์
ตวั ชวี้ ดั ท ่ี 6ดา้ นคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ปญั หาดงั กลา่ วจงึ ไดจ้ ดั โครงการ“บนั ได4ขน้ั เพอื่
สขุ ภาวะทดี่ ขี องผสู้ งู วยั เมอื งเขารปู ชา้ ง (2SHL)” เพอ่ื พฒั นากระบวนการดแู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี สี ขุ ภาพดแี ละ
ผสู้ งู อายทุ อี่ ยใู่ นภาวะพงึ่ พงิ โดยการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ยเพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายมุ สี ขุ ภาพดี มคี ณุ ภาพ
ชวี ิตทดี่ ี มีความสุขทง้ั กายและใจ และได้อาศยั อยู่กับครอบครัวอย่างอบอนุ่

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ใหผ้ ูส้ ูงอายใุ นเขตเทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ งมีสขุ ภาวะทีด่ ี
2. เพอ่ื ให้ผสู้ ูงอายุทกุ คนได้รับการคัดกรอง และมีระบบ ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟแู ละการดูแลรกั ษา
ตามระดบั ความจ�ำเป็นในการดูแลระยะยาว ให้สามารถด�ำรงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมีศักดศ์ิ รี
3. เพอ่ื พัฒนากระบวนการดูแลผสู้ งู อายใุ ห้มปี ระสิทธิภาพและครอบคลุม
4. เพ่อื สรา้ งภาคีเครือข่ายในการดูแลผสู้ งู อายุของเทศบาลเมืองเขารปู ชา้ ง

ตวั ชีว้ ดั

1. ผู้สงู อายุไดร้ ับการคดั กรองความสามารถในการประกอบกิจวตั รประจำ� วันดัชนีบารเ์ ธลเอแอล
(ADL : Barthel Activities of Daily Living) ร้อยละ 80
2. ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ สังคมไดร้ บั ดแู ลตามชดุ สิทธปิ ระโยชน์ ร้อยละ 80
3. ผู้สูงอายกุ ลมุ่ ติดบ้านไดร้ ับการตดิ ตามเยี่ยมบา้ น รอ้ ยละ 50
4. ผสู้ ูงอายุกลมุ่ ติดเตียง มสี ุขภาวะดขี น้ึ /คงที/ไม่เกดิ ภาวะแทรกซ้อน รอ้ ยละ 50

กลุม่ เป้าหมาย

1. ผสู้ งู อายุในเขตเทศบาลเมอื งเขารปู ช้างจำ� นวน 6,069 คน
2. เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน แกนนำ� ประชาชนกลมุ่ จติ อาสา และชมุ ชน

คำ� จ�ำกดั ความ

1. บันได 4 ขั้น สสู่ ุขภาวะท่ดี ีของผสู้ งู วยั เทศบาลเมอื งเขารูปช้าง หมายถึง กระบวนการ แนวทาง
ในการดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเขารูปชา้ ง โดยการมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ย
2. ผสู้ ูงอายุ หมายถึง ผ้ทู ่ีมอี ายุ 60 ปี ขึ้นไป ทอี่ าศยั ในเขตเทศบาลเมอื งเขารูปชา้ ง
3. ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ สงั คม หมายถงึ ผสู้ งู อายุ ทส่ี ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองไดด้ ี มสี ขุ ภาพดี มคี ะแนนรวม
ความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจำ� วัน เท่ากับหรือมากกว่า 12/20 คะแนน
4. ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน หมายถึง กลุ่มท่ีเคลื่อนไหวได้บ้าง มีปัญหาการกิน/การขับถ่าย
แตไ่ ม่มภี าวะสบั สน และกลุม่ ทเ่ี คลอื่ นไหวไดบ้ ้าง มีภาวะสบั สนและอาจมีปญั หาการกิน/การขบั ถ่าย
มคี ะแนนรวมความสามารถในการปฏิบัติกจิ วัตรประจำ� วัน อย่ใู นชว่ ง 5-11/20 คะแนน
5. ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ เตยี ง หมายถงึ กลมุ่ ทเี่ คลอ่ื นไหวเองไมไ่ ดไ้ มม่ ปี ญั หาการกนิ /การขบั ถา่ ย หรอื เจบ็
ปว่ ยรนุ แรง และกลมุ่ ทเ่ี คลอื่ นไหวเองไมไ่ ดเ้ จบ็ ปว่ ยรนุ แรงหรอื อยใู่ นระยะทา้ ยของชวี ติ มคี ะแนนรวม
ความสามารถในการปฏิบตั กิ ิจวตั รประจ�ำวัน อยใู่ นชว่ ง 0-4/20 คะแนน

ความร่วมมอื ของภาคีเครือข่าย 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา : มีบทบาทในการเป็นท่ี
ปรึกษาในการจัดต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุและการจัดหลักสูตรใน
เอกชน สมาคม การเรยี น
อบจ ห้างร้าน ศิษย์เกา่ 2 . ส� ำ นั ก ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข อ� ำ เ ภ อ เ มื อ ง ส ง ข ล า
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล : มีบทบาทในการ
CM, 2SHL เทศบาล สนับสนุนบุคลากรให้บริการทางด้านสาธารณสุข เช่น
CG Care manager Care giver
ประชาชน วทิ ยาลัย 3. องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดสงขลา : มีบทบาทในการฝกึ
ชมุ ชน / จิตอาสา พยาบาล อบรมพัฒนาบุคลากร เช่น อาสาสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน
ราชภฎั เชี่ยวชาญ, ผู้ชว่ ยนักกายภาพบ�ำบดั
หมบู่ ้าน ชมรมตา่ ง ๆ สงขลา 4. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา : มีบทบาทใน
การสนบั สนนุ บุคลากรท่ปี รกึ ษาในกระบวนการดูแลผสู้ ูงอายุ
ป. พนั 5 รพ. สงขลา

5. มลู นธิ ชิ ุมชนสงขลา : มบี ทบาทในการฝกึ อบรมและรว่ มจัดท�ำข้อมลู ผู้สงู อายแุ ละผู้พิการในโปรแกรม (iMed@home)
6. แกนนำ� สขุ ภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม/ชมรมผสู้ งู อายุ : มบี ทบาทในการทำ� กจิ กรรมสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั ฟน้ื ฟสู ภาพแกผ่ สู้ งู อายใุ นชมุ ชน
7. บรษิ ทั เชฟรอน ประเทศไทย จำ� กดั : มบี ทบาทในการสนบั สนนุ งบประมาณในการจดั ซอ้ื วสั ดอุ ปุ กรณท์ จ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ
8. ชมุ ชน : มบี ทบาทในการมีส่วนรว่ มการใช้ข้อมูล การชว่ ยเหลอื ผู้สูงอายุ
9. กองพันทหารปืนใหญท่ ี่ 5 : มีบทบาทในการช่วยซอ่ มแซมบา้ นเรือนผสู้ งู อายุ ผ้ดู อ้ ยโอกาส

ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ

1. ชมุ ชนในเขตเทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา ไดร้ บั ทราบสถานการณ์
ดา้ นสขุ ภาพของผสู้ งู อายใุ นเขตเทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ ง เพอื่ ใชใ้ นการวางแผนพฒั นารปู แบบการ
ดแู ลผสู้ ูงอายตุ อ่ ไป
2. ได้รปู แบบการดแู ลผ้สู งู อายุ โดยใช้กระบวนการ “บันได 4 ขน้ั สู่สุขภาวะที่ดีของผ้สู ูง
วยั (2SHL)” ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีเกิดจากการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคีเครือข่าย สอดคล้องกับบรบิ ท
ของพ้ืนที่

2บเอทกคสวาารมทแลเ่ี กะ่ียวข้อง

เทศบาลเมืองเขารูปชา้ ง ได้จดั ทำ� กระบวนการ “บนั ได 4 ขนั้ สูส่ ุขภาวะท่ีดขี องผ้สู งู วยั
เมอื งเขารปู ช้าง (2SHL)” ในครั้งน ้ี ได้มกี ารน�ำแนวคดิ และทฤษฎที ่ีเกีย่ วขอ้ งมาใชด้ งั น้ี
1. แนวคดิ การเกี่ยวกบั การมสี ่วนร่วม
2. แนวคดิ ผสู้ ูงอายุ

1. แนวคดิ การเก่ียวกับการมสี ่วนร่วม
การมีส่วนร่วมมีความส�ำคัญอย่างย่ิงในการพัฒนาคุณภาพองค์กร เพราะเมื่อบุคคลได้เข้ามามี
สว่ นรว่ มแลว้ จะไมค่ อ่ ยเกดิ การตอ่ ตา้ นเกยี่ วกบั แนวคดิ และการดำ� เนนิ งาน รวมทงั้ ชว่ ยลดความขดั แยง้
และความเครียดจากการท�ำงาน ท�ำให้บุคคลได้ร่วมกันพิจารณาแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการท�ำงาน
เพอ่ื มงุ่ ไปสเู่ ปา้ หมายและการยอมรบั การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ เกดิ ความมงุ่ มนั่ ในการสรา้ งความสำ� เรจ็
ใหก้ บั องคก์ ร ซึ่งบุคลากรจะรูส้ กึ พงึ พอใจในผลงานท่เี กิดขน้ึ และเกดิ ความรู้สกึ มีคุณคา่ ในตนเอง ความ
รสู้ กึ เปน็ เจา้ ของและผกู พนั กบั องคก์ ร ผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยคอื องคก์ รมคี ณุ ภาพ (ประทปี จนั ทรสงิ ห,์ 2549)
ซงึ่ มผี ใู้ หค้ วามหมายของการมสี ว่ นรว่ ม ความสำ� คญั ของการมสี ว่ นรว่ ม ลกั ษณะการมสี ว่ นรว่ ม ปจั จยั ที่
มีผลตอ่ การมสี ว่ นร่วม และกระบวนการหรือขัน้ ตอนของการมีส่วนร่วมไว้ ดังนี้

ความหมายของการมสี ่วนรว่ ม
ความหมายของการมสี ่วนร่วมมีผใู้ หค้ วามหมายของการมสี ่วนรว่ มไว้มากมายดังนี้
จฬุ าภรณ์ โสตะ (2543) กลา่ วถงึ การมสี ่วนร่วม หมายถึง การท่ีบุคคลหรือคณะบุคคล
เข้ามาชว่ ยเหลือ สนับสนุนท�ำประโยชนต์ า่ งๆ หรือกจิ กรรมต่างๆ อาจเปน็ การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการ
ตดั สนิ ใจหรอื กระบวนการบรหิ ารและประสทิ ธผิ ลขององคก์ รขนึ้ อยกู่ บั การรวมพลงั ของบคุ คลทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กับองค์การนั้นในการปฏิบัติภารกิจให้บรรลุเป้าหมาย วิธีการหน่ึงในการรวมพลังความคิดสติปัญญาก็
คือ การให้มสี ่วนรว่ ม การให้บคุ คลมสี ่วนรว่ มในองค์การน้ัน บุคคลจะต้องมีส่วนร่วมเกยี่ วขอ้ งในการ
ดำ� เนนิ การหรอื ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตา่ งๆ เปน็ ผลใหบ้ คุ คลนน้ั มคี วามผกู พนั (Commitment) ตอ่ ภารกจิ และ
องค์การในที่สุด

ปารชิ าติวลยั เสถยี รและคณะ(2543)การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการพฒั นาเปน็ การใหป้ ระชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาต้ังแต่เร่ิมต้นจนส้ินสุดโครงการ ได้แก่การร่วมค้นปัญหา
การวางแผน การตดั สนิ ใจ การระดมทรพั ยากรและเทคโนโลยใี นทอ้ งถน่ิ การบรหิ ารจดั การ การตดิ ตาม
ผล รวมทงั้ การรบั ผลประโยชนท์ เี่ กดิ ขนึ้ จากโครงการ โดยโครงการจะตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ
และวฒั นธรรมของชมุ ชน
นรนิ ทร์ชัย พัฒนพงศา (2547) ใหค้ วามหมายของการมีสว่ นรว่ มวา่ เป็นการเปิดโอกาสให้
ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนแบ่งในอ�ำนาจการตัดสินใจในระดับต่างๆ ของการด�ำเนินงานใน
หนว่ ยงาน เป็นผลให้เกิดสง่ิ ทีต่ กลงใจรว่ มกัน
วันชยั วฒั นศกั ด์ิ (2549) การทำ� งานแบบมีส่วนร่วมนัน้ ไม่วา่ จะเปน็ ระดับครอบครวั ระดบั
โรงเรียน ระดับชุมชน ระดับองค์กร หรือระดับประเทศน้ัน มีความส�ำคัญอย่างย่ิงในกระบวนทัศน์
ปัจจุบัน เพราะจะช่วยให้ผู้มีส่วนร่วมเกิดความรู้สึกความเป็นเจ้าของ (Ownership) และจะท�ำให้ผู้
มสี ่วนรว่ ม หรอื ผทู้ มี่ ีสว่ นได้สว่ นเสียนัน้ ยนิ ยอมปฏิบัติตาม (Compliance) และรวมถงึ ตกลงยอมรับ
(Commitment) ไดอ้ ยา่ งสมัครใจ, เต็มใจและสบายใจ
Davis & Newstrom (1989) ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมไว้ว่า การมีส่วนร่วมเป็นเรอื่ ง
ของความเกี่ยวขอ้ งทางด้านจติ ใจ และความรู้สึกนกึ คดิ ของแต่ละคน ท่มี ีตอ่ กจิ กรรมใดกจิ กรรมหนึง่
ของกลุม่ หรือเป็นแรงกระตุน้ ทชี่ ว่ ยทำ� ให้มคี วามสำ� เรจ็ ซึ่งเป็นเปา้ หมายของกลุ่ม หรอื เปน็ ความรับ
ผดิ ชอบตอ่ กิจกรรมร่วมกันด้วยการเข้าไปเก่ยี วขอ้ ง (Involvement) ช่วยเหลือ (Contribution) และ
รว่ มรับผิดชอบ (Responsibility)

ดงั นนั้ การมสี ว่ นรว่ มจงึ หมายถงึ การทก่ี ลมุ่ บคุ คลมสี ว่ นรว่ มในทกุ ขนั้ ตอน ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ ทงั้ ทาง
ร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ไม่วา่ จะเป็นปัจเจกบคุ คลหรอื กล่มุ คน ร่วมคิด ร่วมมือ รว่ มปฏิบัติ รว่ มแรง
ร่วมใจ และรว่ มรับผดิ ชอบ เพอ่ื ให้เกดิ การดำ� เนนิ การพฒั นา และการเปลีย่ นแปลง เปน็ เทคนิคอยา่ ง
หน่ึง ทผี่ บู้ รหิ ารตอ้ งการ เพราะเมอ่ื บคุ คลได้เขา้ มามีส่วนรว่ มแล้ว จะไมค่ ่อยเกดิ การตอ่ ตา้ น
รวมทั้งช่วยลดความขัดแย้งและความเครียดจากการท�ำงาน ท�ำให้บุคคลได้ร่วมกันพิจารณา
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการท�ำงาน บุคคลจะรู้สึกพึงพอใจในผลงานที่เกิดข้ึน และเกิดความรู้สึก
มคี ณุ คา่ ในตนเอง เกดิ ความมงุ่ มน่ั ในการสรา้ งความสำ� เรจ็ ใหก้ บั องคก์ ร เกดิ ความรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของและ
ผกู พนั กบั องคก์ ร เพอ่ื นำ� ไปสเู่ ปา้ หมายขององคก์ รและสามารถบรรลผุ ลสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายทกี่ ำ� หนดไว้

ความสำ� คญั ของการมสี ว่ นร่วม
ปาริชาติ วลยั เสถียร และคณะ (2543) กล่าวว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนมคี วามส�ำคัญ
ดงั น้ี
1) การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนเปน็ สทิ ธพิ น้ื ฐานอนั ชอบธรรมของคนทกุ คนทตี่ อ้ งเคารพใหก้ าร
ยอมรบั และยกยอ่ ง โดยการให้ประชาชนเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการแสดงออกเกยี่ วกับการปรบั ปรุงวิถี
ชีวิตของเขา
2) งานพัฒนาเป็นงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับประชาชนเป็นจ�ำนวนมาก จ�ำเป็นต้องให้
คนหมูม่ ากเหลา่ น้ีมสี ิทธม์ิ เี สียงในการแสดงออก
3) กลยทุ ธท์ ง้ั หลายในการพฒั นาทผี่ า่ นมา ยงั ไมส่ ามารถสง่ ผลถึงกลมุ่ ประชาชนผดู้ ้อยโอกาส
และยากจน และในทางตรงกนั ขา้ มกลบั สง่ ผลใหก้ ลมุ่ คนผไู้ ดเ้ ปรยี บมโี อกาสมากขน้ึ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งปรบั
กลยทุ ธใ์ นการพฒั นาใหม่ โดยใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนรว่ มในการวางแผนมากข้นึ
4) ประสบการณท์ ่ผี ่านมาพบว่า มีโครงการจ�ำนวนไม่น้อยทป่ี ระสบความสำ� เร็จ โดยอาศัยวธิ ี
ใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มในรูปของการวมกลุ่ม และจดั ต้งั องคก์ รประชาชน ในขณะเดยี วกันมตี วั อย่าง
ของโครงการทล่ี ้มเหลวจ�ำนวนมาก อนั เนอ่ื งจากไม่เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเข้ามามสี ่วนรว่ ม
5) การมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นเร่ืองของการปฏิบัติการเป็นกลุ่ม หรือของกลุ่ม
(Group action) อนั เปน็ ผลมาจากความรสู้ กึ ผกู พนั ของสมาชกิ แตล่ ะคนทเี่ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม เพอ่ื พทิ กั ษ์
ประโยชนข์ องเขา และในขณะเดียวกนั ก็ได้ประโยชน์แกส่ ว่ นรวมด้วยการมสี ่วนรว่ มจงึ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็
6) การมสี ่วนร่วมของประชาชนเป็นตัวช้ีวัดของการพัฒนาชุมชน ยิง่ ประชาชนเข้ามามสี ว่ น
รว่ มมากเท่าไหร่ ยิง่ แสดงวา่ ประชาชนจะได้รบั ประโยชนจ์ ากการพฒั นามากย่ิงข้นึ
7) ประชาชนย่อมรู้ดีว่าตนเองนั้นต้องการอะไร มีปัญหาอะไร และอยากจะแก้
ปัญหาอย่างไร ถ้าให้โอกาสแก่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนา ย่อมช่วยให้
โครงการตา่ ง ๆ สนองความต้องการทแี่ ทจ้ ริงของประชาชนไดด้ ีกวา่
8) การมีส่วนร่วมของประชาชน ช่วยให้การปฏิบัตกิ ารทางสังคม (Social action) เปน็ ไป
อยา่ งสงบสนั ติ ก่อใหเ้ กิดรูปแบบการเปลีย่ นแปลงทีม่ รี ะเบยี บ เป็นระบบ และเป็นท่ยี อมรับทกุ ฝา่ ย
9) เป็นนโยบายของรัฐในปัจจุบัน ท่ีให้ทุกโครงการท่ีลงสู่ชนบท ต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วม
เพ่ิมขนึ้ ตามปรชั ญาของการพฒั นา

ณรงค์ ณ เชยี งใหม่ (2545) กลา่ ววา่ การเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการดำ� เนนิ
งานมีความส�ำคัญคือ
1) ประชาชนยอมรับในโครงการน้นั และเป็นโครงการท่ตี รงกับปญั หาและความตอ้ งการของ
ประชาชน
2) ประชาชนมคี วามร้สู กึ ผูกพนั รสู้ ึกเปน็ เจา้ ของมากข้ึน
3) ลดความขดั แย้ง การดำ� เนนิ การโครงการจะราบรน่ื ไดร้ ับความรว่ มมือจากประชาชน
4) โครงการจะใหป้ ระโยชนต์ ่อชุมชนมากข้ึน และระดมทรพั ยากรในการพฒั นา
5) ช่วยพฒั นาขดี ความสามารถของประชาชน



ปจั จยั ที่มีผลต่อการมีส่วนรว่ ม
พรทิพย์ ค�ำพอ และคณะ (2544) ได้สรปุ สาระส�ำคัญของการมีส่วนรว่ มของประชาชนนน้ั อย่ทู ี่
การเปิดโอกาสให้ประชาชนไดเ้ ขา้ มามสี ่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เชน่ การรเิ ร่มิ การวางแผน การตดั สิน
ใจ การรว่ มรบั ผดิ ชอบ ตลอดจนการรว่ มประเมนิ ผลมากนอ้ ยเพยี งใด ขนึ้ อยกู่ บั เรอ่ื งของปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่
การมีสว่ นร่วมดงั นี้ ความสำ� เรจ็ ของการพัฒนาแบบระดมความรว่ มมอื ขึ้นอยกู่ ับปจั จัย 3 ประการ คือ
1) การเข้ามามสี ว่ นร่วมในการตดั สนิ ใจของประชาชนตั้งแตเ่ ร่มิ ตน้ วา่ มีปญั หา สาเหตุการแกไ้ ข
ปัญหา ด้านการคิดว่าจะท�ำโครงการอะไรที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน โดยใช้ประโยชน์จากแรงงาน
ทรพั ยากรท้องถ่ินอย่างเต็มที่
2) การผสมผสานแผนงานและโครงการของส่วนราชการ ด้วยการพัฒนาความรู้ทักษะ
ความสามารถด้านประชาชนและคณุ ภาพของเจา้ หนา้ ที่ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาเดอื ดร้อน สนองผลประโยชน์
ได้ถกู ต้องตามเวลาและสถานที่
3) การสรา้ งองคก์ รทอ้ งถนิ่ กลไกการประสานงาน งบประมาณ ปจั จยั ดำ� เนนิ งานทงั้ ภาครฐั และ
เอกชน ตามความต้องการอนั จำ� เป็นของประชาชน

กระบวนการหรอื ข้ันตอนการมีส่วนรว่ ม
อคนิ รพีพัฒน์ (2547) ได้เสนอขั้นตอนการมสี ว่ นร่วมออกเป็น 4 ข้นั ตอน คอื
ข้ันท่ี 1 การมีส่วนรว่ มในการกำ� หนดปญั หา สาเหตขุ องปัญหา ตลอดจนแนวทางแก้ไข
ขน้ั ที่ 2 การมสี ว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจเลือกแนวทาง และวางแผนพฒั นา
ขน้ั ท่ี 3 การมสี ่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิงานในกจิ กรรมการพัฒนาตามแผน
ขั้นที่ 4 การมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลงานกจิ กรรมพฒั นา

2. แนวคิดผสู้ งู อายุ
ผสู้ งู อายุ คอื ผทู้ ม่ี อี ายุ 60 ปี ทงั้ ชายและหญงิ และมสี ญั ชาตไิ ทย (จารี ศรปี าน 2553,วไิ ลวรรณ
ทองเจริญ, 2554) โดยแบ่งเปน็ 3 ช่วง ได้แก่ ผู้สูงอายตุ อนต้นมีอายุ 60-69 ปี ผ้สู ูงอายุตอนกลาง อายุ
70-79 ปี และผ้สู งู อายตุ อนปลาย 80 ปีขน้ึ ไป (วิไลวรรณ ทองเจริญ, 2554) ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ
มากขนึ้ อยา่ งต่อเนอื่ ง
พรรณธร เจริญกุล, (2555) ผู้สูงอายุมีการเปล่ียนแปลงทุกด้าน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง
ด้านร่างกาย การเปล่ียนแปลงด้านจิตใจ และการเปล่ียนแปลงด้านสังคม โดยการเปลี่ยนแปลงด้าน
ร่างกายจะมีลักษณะเส่ือมมากกว่าเสริมสร้าง ในขณะท่ีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจเกี่ยวข้องกับ
ภาวะอารมณ์และการปรับตวั และมักมผี ลจากการเปล่ยี นแปลงทางดา้ นรา่ งกายและสังคม สว่ นการ
เปลีย่ นแปลงทางด้านสังคมจะเป็นลกั ษณะทผ่ี ้สู งู อายุไมส่ ามารถแสดงบทบาทต่าง ๆ ได้ มผี ลให้รสู้ กึ
คุณค่าและความภาคภมู ใิ จในตนเองลดเอง ดงั นี้

การเปลยี่ นแปลงด้านร่างกาย
1. ผวิ หนัง หลอดเลอื ดฝอยใตผ้ วิ หนังจะหนา การซมึ ผา่ นของออกซเิ จนและอาหารเขา้ สูเ่ ซลล์
เนือ้ เยอื่ ตำ�่ ความแขง็ แรงของผวิ หนงั ลดลง แตกง่าย เหย่ี วย่น ผิวหนังขาดการตึงตวั ตอ่ มเหง่อื ทำ� งาน
ลดลง ขบั เหงอื่ ไดน้ อ้ ยลง ทำ� ใหผ้ วิ หนงั แหง้ กระดา้ ง นอกจากนไ้ี ขมนั ใตผ้ วิ หนงั จะลดลงทบ่ี รเิ วณใบหนา้
และหลังมือ แตผ่ วิ หนังบริเวณหนา้ ทอ้ งและตน้ ขาจะเพิม่ ข้ึน
2. ปากและฟัน มปี ญั หาเกยี่ วกบั การรับประทานอาหารจากฟันหลุด กลา้ มเนื้อในการเคีย้ วมี
แรงนอ้ ยลง กลา้ มเนอื้ ในการกลืนเปลย่ี นแปลง ต่อมรับรสจะมจี �ำนวนน้อยลง ประมาณ 2 ใน 3 และ
มสี ว่ นทเี่ หลอื จะฝอ่ ลบี ลง ทำ� ใหผ้ สู้ งู อายรุ บั ประทานอาหารไมอ่ รอ่ ย การรบั รสหวานจะสญู เสยี กอ่ นรส
เปรี้ยว เคม็ ขม ผู้สงู อายุจงึ รบั ประทานอาหารรสหวานมากยิ่งขึน้
3. ตา เลนส์ตาเสื่อม ความสามารถในการปรับระยะภาพสายตายาว เนื่องจากความยดื หยุน่
ของเลนสล์ ดลง การปรับก�ำลงั ขยายเพือ่ ดขู องใกลไ้ ดไ้ มด่ ี วงแหวนขุ่นขาวรอบตาด�ำ เนอื่ งจากมใี ขมนั
มาเกาะจับเนอ้ื เยื่อโดยรอบ ความดันในลกู ตาสงู มโี อกาสเกดิ ต้อหนิ ไดง้ า่ ย การผลติ นำ้� ตาลดลง ท�ำให้
ตาแห้งและเกิดการระคายเคอื งต่อเยื่อบุตาได้งา่ ย
4. หู ประมาณ 1 ใน 4 ของผสู้ งู อายทุ ม่ี อี ายมุ ากกวา่ 65 ปี มอี าการหตู งึ และมกั จะไดย้ นิ เสยี งตำ�่
ๆ ชดั กวา่ เสยี งพดู ธรรมดา การผลติ ขหี้ ลู ดลง แตม่ กี ารสะสมของขหี้ ใู นชอ่ งหเู พม่ิ มากขน้ึ หลอดเลอื ดท่ี
ไปเลยี้ งหชู ้นั ในแข็งตัว ท�ำใหม้ เี ลอื ดไปเลี้ยงได้น้อยลง ผ้สู ูงอายุจึงมกั มอี าการเวียนศีรษะเกดิ อบุ ัติเหตุ
ได้ง่าย

5. ผมและขน อัตราการงอกของผมลดลง และเส้นผมมีขนาดเล็กลง เพศหญิงท่ีอายุ
มากกวา่ 65 ป ี จะมีขนบริเวณรมิ ฝปี ากและคางเพิ่มขน้ึ เส้นผมลดน้อยลง เพศชายผมและเคราลดลง
แตม่ ีขนเพ่มิ ขน้ึ ท่ีบรเิ วณหู ค้วิ และรจู มกู
6. หัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดฝอยในร่างกายส่วนใหญ่จะหนาขึ้น และมีความยืดหยุ่น
ลดลง ท�ำให้การซึมผ่านของออกซิเจนไปสู่เนื้อเยื่อได้น้อยลง เส้นเลือดหนาข้ึนส่งผลให้ความยืดหยุ่น
ของกลา้ มเนอื้ หวั ใจลดลง มผี ลต่อการบบี และคลายตวั ของหัวใจ ทำ� ใหก้ ล้ามเน้อื หวั ใจต้องท�ำงานเพิ่ม
ขึน้ และตอ้ งการออกซเิ จนเพิ่มขึ้น ท�ำให้หัวใจหอ้ งลา่ งซา้ ยโตข้นึ เลก็ น้อย
7. ระบบหายใจ หลอดเลือดฝอยในหลอดลมจะหนาและแข็ง ท�ำให้ขาดความยดื หยนุ่ ส่งผลให้
การซึมผ่านและการแลกเปล่ียนของออกซิเจนในถุงลมปอดไม่ดี เป็นสาเหตุให้ผู้สูงอายุเหนื่อยหอบ
ได้งา่ ย และเกดิ ภาวะถุงลมโปง่ พองได้
8. ระบบทางเดนิ อาหาร กระเพาะอาหารหล่ังกรดลดลง ผ้ชู ายลดลงมากกว่าผหู้ ญิง ท�ำใหเ้ บื่อ
อาหาร ทอ้ งอดื งา่ ย ตบั ทำ� ลายพษิ ลดลงทำ� ใหม้ กี ารสะสมและเกดิ พษิ ของยาได้ การสรา้ งนำ�้ ดลี ดลงทำ� ให้
มปี รมิ าณนำ้� ดลี ดลง แตม่ คี วามหนดื เพม่ิ ขน้ึ มผี ลทำ� ใหเ้ กดิ นวิ่ ในถงุ นำ้� ดไี ดง้ า่ ย ตบั ออ่ นทำ� หนา้ ทเ่ี สอ่ื มลง
ผลติ อนิ ซลู นิ ไดน้ อ้ ยลงและมปี ระสทิ ธภิ าพดอ้ ยลง ทำ� ใหก้ ารนำ� นำ้� ตาลเขา้ สเู่ นอ้ื เยอื่ ตำ่� จงึ เปน็ เบาหวาน
หรือมแี นวโนม้ เปน็ เบาหวานได้ง่าย
9. ระบบขับถ่ายปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะมีความจุลดลงประมาณร้อยละ 50
มีต่อมลกู หมากโต ผูห้ ญิงกล้นั ปสั สาวะไมอ่ ยู่เพราะกล้ามเน้ืออุ้งเชงิ กรานหย่อน
10. ระบบกระดูกและขอ้ กระดูกเปราะและหักงา่ ยเนื่องจากอตั ราการสลายมากกวา่ อัตราการ
สรา้ ง ความยาวของกระดกู สนั หลงั ลดลง หมอนรองกระดูกบางลง กระดกู สนั หลงั ผมุ ากขึน้ หลงั คอ่ ม
เอยี งมากขน้ึ ความสงู ลดลง และการขยายตัวของเซลลก์ ระดกู แตล่ ะครัง้ จะมกี ารปล่อยแคลเซยี มจาก
กระดกู มากขนึ้ แคลเซียมทถ่ี กู ปลอ่ ยจะเขา้ สกู่ ระแสเลอื ด แคลเซียมบางสว่ นไปเกาะกระดูกออ่ นท�ำให้
เกดิ กระดกู งอกทบ่ี รเิ วณตา่ ง ๆ เชน่ ปลายนวิ้ ชายโครง ทำ� ใหก้ ารเคลอื่ นไหวทรวงอกลดลงและมอี าการ
เจ็บ
11. ระบบประสาท ความสามารถในการเรยี นรแู้ ละการจำ� ลดลงเม่อื อายุ 70 ปขี นึ้ ไป แตก่ ็พบ
ว่าผูส้ ูงอายุอาจจะจำ� เรื่องปจั จบุ นั ไดด้ ี แตต่ ้องใชเ้ วลาในการคิดและจดจ�ำนานกวา่
12. ระบบสืบพันธ์ มีการเปล่ียนแปลงในระบบการสืบพันธ์ คือ ในเพศหญิงมีน้�ำหล่อล่ืนช่อง
คลอดลดลงท�ำใหเ้ กิดการระคายเคืองและตดิ เชอื้ ไดง้ า่ ย เพศชายลกู อัณฑะมขี นาดเลก็ ลง
การเปลย่ี นแปลงดา้ นจติ ใจและสงั คม ผสู้ งู อายบุ างคนตอ้ งอยคู่ นเดยี วเนอ่ื งจากคชู่ วี ติ จากไปหรอื
บตุ รแยกครอบครวั ทำ� ใหเ้ กิดปัญหาดา้ นจติ ใจ เชน่ เหงา โดดเด่ยี ว ซมึ เศร้า ร้สู ึกมีคุณคา่ ในตนเองน้อย
ลงเนอ่ื งจากคนรอบขา้ งไมใ่ ห้ความส�ำคัญหรือมองว่าทำ� ประโยชน์ไดน้ อ้ ย แตผ่ ูส้ งู อายบุ างส่วนอาจตอ้ ง
รบั ภาระเลีย้ งดูลูกหลานทำ� ให้เกดิ ความเครยี ด

3 วโคิธรีดง�ำกเนานิร

โครงการ“บันได 4 ขั้น สู่สุขภาวะที่ดีของผู้สูงวัยเมืองเขารูปช้าง (2SHL)”
เทศบาลเมืองเขารูปช้างได้ด�ำเนินการเก่ียวกับประชากร เคร่ืองมือที่ใช้ในการด�ำเนินงาน
การวิเคราะห์ข้อมูล การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั ตอ่ ไปนี้
1. กรอบแนวความคิด
2. วิธดี ำ� เนนิ โครงการ
3. สถติ ทิ ่ีใชใ้ นโครงการ
กรอบแนวความคิด
วยั สูงอายเุ ปน็ วัยทม่ี โี รคเรื้อรงั มคี วามเสื่อมของสมรรถภาพร่างกาย และโรคประจำ� ตวั เพม่ิ ขน้ึ
ตามอายทุ ่มี ากขึ้น ซึ่งนำ� ไปสภู่ าวะพ่ึงพงิ ดังนนั้ การใช้กระบวนการ 2SHL เป็นเครือ่ งมือในการดแู ล
สขุ ภาพผู้สูงอายุ โดยเน้นการมสี ่วนรว่ มของชุมชน
S : Survey คือ กระบวนส�ำรวจข้อมูลท่ัวไปและข้อมูลสุขภาพของผู้สูงอายุ คัดกรองความ
สามารถในการประกอบกจิ วตั รประจ�ำวันดัชนบี ารเ์ ธลเอดีแอล ( ADL : Barthel Activities of Daily
Living ) สิทธแิ ละสวสั ดกิ ารข้ันพื้นฐานทจี่ �ำเป็น
S : Service คือ การให้บริการทางด้านสาธารณสุขให้แก่ผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์
ทงั้ การส่งเสริมสขุ ภาพ การป้องกันโรค โดยผา่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ
H :Home health care คือ การตดิ ตามเยย่ี มบ้านเพอ่ื ดูแลสขุ ภาพและสิ่งแวดลอ้ มผูส้ งู อายุ
ทมี่ ีภาวะติดบา้ นให้มคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ีข้นึ โดยทีมสหวิชาชพี
L : Long term care คอื กระบวนการดแู ลผู้สูงอายุท่มี ีภาวะตดิ เตยี ง สนบั สนุนการบริหาร
จัดการระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขส�ำหรับผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง เพ่ิมบริการฟื้นฟู
สภาพ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการสนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณท์ จ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั ผทู้ ม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม
ของชมุ ชน

“บนั ได 4 ข้นั ส่สู ุขภาวะที่ดขี องผู้สงู วยั เมอื งเขารปู ชา้ ง (2SHL)”

วธิ ดี �ำเนนิ โครงการ

การจัดโครงการ“บันได 4 ขั้น สู่สุขภาวะท่ีดีของผู้สูงวัยเมืองเขารูปช้าง (2SHL)” ครั้งน้ี
มีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนากระบวนการดูแลผู้สูงอายุให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุม
ได้รับการคัดกรอง มีระบบ ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลรักษา ตามระดับความจ�ำเป็น
ในการดูแลระยะยาว โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ส่งผลให้ผู้สูงอายุในเขต
เทศบาลเมืองเขารปู ช้างมสี ุขภาวะที่ดี ใหส้ ามารถด�ำรงชีวิตได้อยา่ งมีศกั ดิ์ศรี โดยเทศบาลเมอื งเขารูป
ชา้ งได้ดำ� เนนิ การ ดังน้ี

1. แจง้ สถานการณ์และแนวโน้มของจ�ำนวนผู้ 2. จัดประชุมเรอื่ งแนวทางการดแู ลผ้สู งู อายใุ น
สงู อายใุ นการประชมุ ของชุมชน หน่วยงานหรอื เขตเทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ ง โดยเชญิ ภาคเี ครอื
องค์กรตา่ ง ๆ ข่าย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน แกนน�ำจิตอาสา
และชุมชน เช่น วิทยาลัยพยาบาล องค์การ
บรหิ ารส่วนจังหวดั สงขลา โรงพยาบาลสงขลา
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล มลู นธิ ชิ มุ ชน
สงขลา ชมรมผ้สู ูงอายุ แกนน�ำสุขภาพและส่งิ
แวดล้อม และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำ
หมบู่ า้ น เป็นตน้

3. ร่วมวางแผนการด�ำเนินการ โดยใช้ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน (Barthel
Activities of Daily Living : ADL) เป็นเคร่อื งมอื ในการแบง่ กลุ่มผ้สู ูงอายอุ อกเป็น 3 กลมุ่ คือ กลุ่ม
ตดิ สังคม กลมุ่ ติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง
4. ร่วมก�ำหนดแนวทางการดูแลผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับความต้องการ สภาพปัญหาของ
ผู้สูงอายุแต่ละกลุ่ม และก�ำหนดผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติ ซึ่งก่อให้เกิดกระบวนการ “บันได 4 ขั้น
สู่ สขุ ภาวะท่ดี ีของผ้สู งู วยั เมืองเขารูปชา้ ง (2SHL) ” โดยมีรายละเอียดดงั น้ี
4.1 บนั ไดข้นั ที่ 1
S : Survey คอื กระบวนสำ� รวจข้อมูลทั่วไปและขอ้ มูลสุขภาพของผสู้ ูงอายุ คัดกรอง
ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ�ำวันดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ( ADL : Barthel Activities
of Daily Living ) สิทธิและสวัสดิการข้ันพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็น โดยบุคคลากรท่ีผ่านการอบรมการใช้
แบบประเมินคัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ�ำวันดัชนีบาร์เธลเอดีแอล เช่น
เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลสงขลา ผู้จัดการการดูแล
ผู้สูงอายุ (care Manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน
แกนน�ำในชมุ ชนทีผ่ า่ นการอบรม
- ภาคเี ครอื ขา่ ยลงพน้ื ทท่ี งั้ 10 หมบู่ า้ น เพอื่ คดั กรองความสามารถในการประกอบกจิ วตั ร
ประจ�ำวันดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ( ADL : Barthel Activities of Daily Living ) สทิ ธแิ ละสวสั ดิการ

- ลงบันทึกขอ้ มลู ในโปรแกรม JHCIS และ iMed@home

- สรปุ ข้อมลู ผ้สู ูงอายุท้ัง 3 กลุ่ม คือ กลมุ่ ตดิ สังคม กลุ่มตดิ บา้ น และกลมุ่ ตดิ เตียง
- นำ� เสนอขอ้ มลู การส�ำรวจผูส้ งู อายใุ นการประชุมเครือขา่ ย
4.2 บันไดข้ันที่ 2
S : Service คือ การให้บริการทางด้านสาธารณสุขให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม
ตามชุดสทิ ธปิ ระโยชนท์ งั้ การสง่ เสริมสุขภาพ การปอ้ งกนั โรค รวมทง้ั สทิ ธแิ ละสวสั ดิการ โดยเนน้ ให้
ผ้สู ูงอายุรสู้ กึ มคี ุณค่าในตนเอง ชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ชุมชนและสังคมได้
1.จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ /ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมมีการด�ำเนิน
กจิ กรรมอย่างต่อเนอ่ื ง ผ่านแผนงานโครงการตา่ ง ๆ
- กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพในแตล่ ะชมรม เชน่ ออกกำ� ลงั กาย บาสโลบ ลลี าศ รำ� ไมพ้ ลอง
เปตอง เปน็ ตน้

- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่องปาก เช่น - กิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพจิต เช่น นงั่ สมาธิ
การสอนแปรงฟัน การดูแลฟันปลอม เขา้ วัดวนั พระ
จดั สถานท่ใี ห้เออื้ ต่อการแปรงฟนั

- กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดยสมาชิก - มีการระดมทุนในชมรมผู้สูงอายุ การ
ชมรมผู้สูงอายุรวมตัวเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ หมุนเวียนทุน มีกองทุนบริการจัดการของ
ท่ีมีภาวะเจ็บป่วย เพื่อพูดคุยให้ก�ำลังใจ ชมรมโดยการมีสว่ นร่วมของสมาชิก ในรูป
และมอบวัสดุ อุปกรณท์ ี่จ�ำเป็น แบบของการบรจิ าคหรอื หาเงนิ เขา้ กองทนุ

-มีการตรวจสุขภาพประจ�ำปีของสมาชิกใน
ชมรม ตามชุดสิทธิประโยชน์และมีการใช้
สมุดบันทกึ สขุ ภาพผ้สู งู อายใุ นชมรมผสู้ งู อายุ

2 . จั ด ต้ั ง โร ง เรี ย น ผู ้ สู ง อ า ยุ โ ด ย มี ก า ร ก� ำ ห น ด ห ลั ก สู ต ร โ ด ย ตั ว ผู ้ เรี ย น
มวี ิทยากรจติ อาสา นอกจากนัน้ ยงั ส่งเสริมใหน้ ำ� ป่นิ โตมารบั ประทานเอง ซง่ึ เปน็ การลดขยะ ลด
การใชง้ บประมาณของรฐั สง่ เสริมการดแู ลสุขภาพชอ่ งปาก

3.โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตโดยใช้
หลักธรรม ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุปฏิบัติธรรม
ตามหลกั คำ� สอนของพระพทุ ธศาสนา ประเมนิ
ภาวะสขุ ภาพจิตของผสู้ ูงอายุ
4. โครงการตรวจวดั สายตาและแกป้ ญั หา
การมองเห็นในผู้สูงอายุ โดยการอบรมให้ความรู้
และตรวจคดั กรองสายตาสนั้ สายตายาว ตอ้ เนอื้
ต้อกระจก โดยเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุข
ท่ีเกี่ยวข้องและสนับสนุนแว่นสายตาให้แก่
ผสู้ ูงอายทุ ่ีมีปญั หาดา้ นการมองเห็น

4.3 บันไดขั้นท่ี 3
H :Home health care คอื ตดิ ตามเยยี่ มบา้ นผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะตดิ บา้ นเพอ่ื ดแู ลสขุ ภาพ
ส่ิงแวดล้อมและสวัสดิการโดยทีมสหวิชาชีพเพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน
ไมเ่ ปลีย่ นกลมุ่ ไปเปน็ ผสู้ งู อายุทีม่ ีภาวะพ่งึ พิง ผา่ นกิจกรรมตา่ ง ๆ

1. โครงการปรับสภาพแวดลอ้ มท่ีอยอู่ าศยั 5. บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
โดยความร่วมมือของชุมชนและกองพันทหารปืน (Home Health Care) จากสถานบรกิ ารสชู่ มุ ชน
ใหญท่ ่ี 5 โดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ
2. โครงการสงเคราะห์ครอบครัวผู้สูงอายุ ใ น ก า ร ใ ห ้ ค� ำ ป รึ ก ษ า ส� ำ ห รั บ ก า ร ดู แ ล ผู ้ สู ง
คนพิการ, ผ้ยู ากไรแ้ ละผดู้ อ้ ยโอกาส อายุตามกลุ่มอาการ เช่น แพทย์ เวชปฏิบัติ
3. โครงการลงทะเบยี นผสู้ งู อายแุ ละผพู้ กิ าร ครอบครัว แพทย์เฉพาะทางกายภาพบ�ำบัด
เคล่อื นท่ี โดยเทศบาลลงพื้นทใ่ี ห้บริการในชุมชน นั ก ก า ย ภ า พ บ� ำ บั ด นั ก โ ภ ช น า ก ร
4. โครงการทำ� บตั รประชาชนเคลอื่ นท่ี รว่ ม นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ โดยระบบ Line
กับอ�ำเภอเมืองสงขลา เพื่ออำ� นวยความสะดวกให้ วีดโี อ คอล โทรศัพท์
กับผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงในเขตเทศบาลเมือง 6. ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับ
เขารูปชา้ ง ต�ำบลอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยผ่านกิจกรรม
สาธารณสขุ เคลอื่ นท่ี กิจกรรมน้ีหมนุ เวยี นไปทุก
หม่บู ้านในตำ� บลเขารูปชา้ งปีละ 2 ครงั้ มหี ลาก
หลายกิจกรรม เช่น ฐานให้ความรู้การบริโภค
อาหาร คุ้มครองผู้บริโภค การควบคุมป้องกัน
โรค และหน่ึงในนั้นมีกิจกรรมทันตสุขภาพ มี
บรกิ ารขดู หนิ ปนู ถอนฟนั ตรวจฟนั สอนการดแู ล
สขุ ภาพชอ่ งปากอยา่ งถกู วธิ ี

4.3 บันไดขั้นท่ี 4
L : Long term care คอื กระบวนการดแู ลผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ เตยี ง สนบั สนนุ การบรหิ าร
จัดการระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง เพิ่มบริการฟื้นฟู
สภาพ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการสนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณท์ จ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั ผทู้ ม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม
ของชุมชน และส่งเสรมิ ใหญ้ าตสิ ามารถดูแลผสู้ งู อายุกลมุ่ นี้ได้ ผ่านกจิ กรรมดังนี้
1. จัดต้ังศูนย์ฟื้นฟูสภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการเมืองเขารูป
ช้างเพ่ือเป็นศูนย์กลางในการด�ำเนินงานในการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง มีการจัดท�ำแผนการดูแล
ผู้สูงอายุรายบุคคล (Care Plan) เพ่ือร่วมประชุมปรึกษาหารือ แนวทางการให้ความช่วยเหลือ
ดูแลผ้สู ูงอายุ

ลงเยยี่ มรว่ มกบั ภาคีเครอื ข่าย รว่ มกับครอบครวั ผู้สงู
Cm ท�ำ Care plan รว่ มกับ Cg

น�ำเสนอคณะอนุกรรมการและกรรมการ
และรว่ ม Care Conference ร่วมกับภาคเี ครือขา่ ย เตรยี มแผนดแู ล

คณะอนกุ รรมการและกรรมการ พจิ ารณาอนมุ ัติ

ปฏิบัตติ ามแผน
ประเมนิ ผล/ปรับแผน

2. จัดตงั้ ศูนยส์ รา้ งสขุ เมอื งเขารูปชา้ ง
เพอื่ ใหบ้ รกิ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะ
พ่ึงพิง และมีบริการรถตู้พยาบาลรับส่ง
ผู้สูงอายุ โดยจะให้บริการ ณ ศูนย์สร้าง
สุข ในวันจันทร์-วันอังคาร และลงพ้ืนที่ให้
บริการท่ีบ้านผู้ป่วยในวันพุธ-วันศุกร์ โดย
มีผู้รับผิดชอบ คือพยาบาลวิชาชีพจ�ำนวน
1 คน นักกายภาพบ�ำบัดจ�ำนวน 1 คน
ประจ�ำอยู่ท่ีศูนย์ฯ นอกจากนั้นยังมีผู้ช่วย
นักกายภาพบ�ำบัด ซ่ึงเป็นกลุ่มจิตอาสาท่ี
ไ ด ้ รั บ ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร ผู ้ ช ่ ว ย นั ก
กายภาพบ�ำบัด หมนุ เวยี นมาให้บริการ

3. จัดต้ังธนาคารกายอุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ในการสนับสนุนดูแลผู้สูงอายุใน
ชุมชน ซึ่งเดิมทีแต่ละสถานบริการได้รับบริจาคอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เตียง รถเข็น ฯลฯ จากญาติ
ผูป้ ่วยที่เสียชีวิตในชุมชน อุปกรณ์ต่าง ๆ เหลา่ น้นั อยู่ในแตล่ ะสถานบริการ เม่อื เข้าร่วมกระบวนการ
“บันได 4 ขนั้ ส่กู ารมสี ุขภาวะที่ดขี องผ้สู งู วัยเมืองเขารปู ชา้ ง (2SHL)”
จึงประชุมร่วมกันท้ังต�ำบลและตั้งให้เทศบาลเป็นจุดศูนย์รวมท่ีมีระบบ การยืม คืน ลงเลข
ทะเบียนวัสดุอุปกรณ์อย่างเป็นระบบ นอกจากน้ันมีการระดมทุน/จัดหางบประมาณของภาคี เครือ
ขา่ ย ในการขา่ ยเหลอื ผสู้ งู อายใุ นชมุ ชนตำ� บลเขารปู ชา้ ง นอกจากเปน็ ทนุ ทรพั ยแ์ ลว้ จะมกี ารชว่ ยเหลอื
ในรปู แบบอื่น ไมว่ ่าจะเป็นวัสดุอปุ กรณท์ างการแพทย์ เตียง เบาะลม ผ้าออ้ มอนามยั อปุ กรณท์ �ำแผล
ฯลฯ จากเครือข่ายต่าง ๆ เชน่
- ชมรมจกั รยานเพื่อสุขภาพ เทศบาลเมืองเขา
รปู ช้าง จัดกิจกรรม “ปน่ั ...ปันน�ำ้ ใจ เพอ่ื ชว่ ย
เหลอื ผปู้ ว่ ย LTC”
- บรษิ ทั ศรตี รงั แอโกรอนิ ดสั ทรี จำ� กดั (มหาชน)
หาดใหญ่ บริจาคถงุ มือส�ำหรับผ้ปู ว่ ยติดเตยี ง
จากการขายขยะรไี ซเคลิ และเงนิ บรจิ าคในครง้ั
นน้ี ำ� ไปซอื้ อปุ กรณ์เพอื่ ผู้ปว่ ย LTC
- บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและ
ผลิต จำ� กดั สนบั สนุนเครื่องวดั ความดันโลหิต
และสุขาเคล่อื นทส่ี �ำหรับผู้สงู อายุ
- กิจกรรม “ทอดผ้าป่าสามัคคีเพื่อสมทบทุน
ชว่ ยเหลอื ผูป้ ว่ ยติดบา้ นติดเตียง”

- ทอดผ้าป่าขยะ “เปลย่ี นขยะเปน็ กองทุน” เพื่อน�ำรายไดม้ าซอ้ื เตยี ง และวสั ดทุ างการแพทย์
- ชุมชนรวมตัวบริจาคแต่ละหมู่บ้าน เป็น
อปุ กรณ์ เช่น เตียง เบาะลม

- กิจกรรม “ซอดาเก๊าะฮ์ วากัฟ ญารียะห์
ขยะรีไซเคิล เปลี่ยนขยะเป็นกองบุญ” ใช้
หลักศาสนาอิสลามมาเป็นกุศลขยะในการลด
ปรมิ าณขยะ

- กิจกรรมท�ำบุญตักบาตรในเทศกาลส�ำคัญ เช่น
วันปีใหม่ ตกั บาตรเทโว ได้มีการแบ่ง อาหารแห้ง
จากวัดใหแ้ กผ่ ู้สูงอายุ ผู้พกิ ารทีด่ อ้ ยโอกาส

4. สรปุ ผลและนำ� เสนอขอ้ มูลในทป่ี ระชมุ เครือขา่ ย โดยนำ� เสนอข้อมูลผลการดูแลผ้สู ูงอายุ
การใชจ้ ่ายงบประมาณ ถอดบทเรียน ปัญหาและอุปสรรค วิเคราะหแ์ ละเสนอแนะแนวทางแก้ปญั หา
เพือ่ ปรบั ปรงุ ในปตี ่อไป สถติ ิทใี่ ชใ้ นโครงการ

ข ้ อ มู ล ไ ด ้ ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ ล ะ วิ เ ค ร า ะ ห ์ ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ แ ล ะ ชี้ วั ด
ในกระบวนการ“บนั ได 4 ขน้ั สกู่ ารมสี ขุ ภาวะทดี่ ขี องผสู้ งู วยั เมอื งเขารปู ชา้ ง
(2SHL)” โดยสถติ ิการวเิ คราะหห์ าคา่ รอ้ ยละ (Percentage)

ผลการด�ำเนินงาน

4 และบทเรียนที่ได้รับ

จากการดำ� เนินการโครงการ “บันได 4 ขัน้ สูก่ ารมีสุขภาวะท่ีดขี องผสู้ งู วัยเมือง
เขารูปชา้ ง (2SHL)” พบผลการด�ำเนนิ งานดงั นี้

ชมรมผู้สงู อายใุ นเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง

ธนาคารกายอปุ กรณม์ วี ัสดุ อุปกรณท์ ีไ่ ด้รบั จาก 4. ไม้เทา้ จ�ำนวน 5 อัน
การบริจาค การจดั กิจกรรมต่างๆ เพือ่ สมทบ 5. Walker จ�ำนวน 4 อัน
ทนุ ดงั นี้ 6. เครือ่ งผลติ ออกซิเจน จ�ำนวน 2 เคร่อื ง
1. เตียงพยาบาลพรอ้ มเบาะ จำ� นวน 36 เตียง 7. เครือ่ งดูดเสมหะ จำ� นวน 2 เครือ่ ง
2. เบาะลม จ�ำนวน 31 อนั 8. ผ้าอ้อมสำ� เรจ็ รปู ,แผน่ รองซบั
3.รถเขน็ จำ� นวน 19 คนั

ผลการด�ำเนินงานตามวตั ถปุ ระสงค์
1. ผสู้ งู อายมุ สี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ทดี่ สี ามารถดำ� เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ไดร้ บั สทิ ธิ
และสวัสดกิ ารทพ่ี ึงได้ก่อใหเ้ กิดคณุ ภาพชีวิตที่ดี
2. ผู้สูงอายุและครอบครัวได้รับความสะดวกจากการจัดกิจกรรมบริการต่าง ๆ นอกจากนั้น
ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายและลดระยะเวลาในการเดินทางไปยังสถานพยาบาล/โรงพยาบาล
และหน่วยงานอนื่
3. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับหน่วยงานราชการเข้ามาศึกษา และแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันใน
กระบวนการดูแลผ้สู ูงอายุ
4. เกิดเครือข่ายในกระบวนการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีและย่ังยืน
ของผสู้ งู อายุ

ผลการด�ำเนินงานตามตัวชี้วดั
1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ADL : จ�ำนวน 6,005 คน จากผู้สูงอายุ 6,069 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.93
2. ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้รับการดูแลตามชุดสิทธิประโยชน์ จ�ำนวน 1,536 คน
จากผู้สงู อายุกลมุ่ ตดิ บา้ น ทงั้ หมด 5,759 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.67
3. ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านได้รับการติดตามเย่ียมบ้านจ�ำนวน 200 คน จากผู้สูงอายุ
กลุ่มตดิ บ้าน ทง้ั หมด 200 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
4. ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง มีอาการดีข้ึน/คงท่ี/ไม่มีภาวะแทรกซ้อน จ�ำนวน 36 คน
จากผสู้ งู อายกุ ล่มุ ตดิ เตียง จำ� นวน 46 คน คดิ เป็นร้อยละ 78.2

หมายเหตุ : ผ้สู งู อายุทมี่ ีภาวะตดิ บ้าน ตดิ เตยี ง ลุกเดนิ ไม่ได้ สามารถกลับมาเดินได้จ�ำนวน 6 คน

นอกจากผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดแล้ว ในการด�ำเนิน
โครงการ “บนั ได 4 ขนั้ สกู่ ารมีสุขภาวะท่ีดีของผสู้ ูงวยั เมอื งเขารปู ชา้ ง (2SHL)”
ยังเกดิ นวัตกรรมระหวา่ งกระบวนการดงั นี้

หมอนโดนทั ลดการเกดิ แผลกดทบั พรมนวดเทา้ กะลามะพร้าว นวดกระตุ้น
บรรเทาอาการปวดเมื่อย เสน้ ประสาท บรเิ วณฝ่าเท้าดา้ นในผู้สงู อายุ

จดุ มหัศจรรยล์ ดป่วยลดโรค นวดกระตุน้ เส้น สายช่วยจับแปรงสีฟนั เพือ่ ใหผ้ ปู้ ่วยติดบา้ น
ประสาทบรเิ วณฝ่าเทา้ ในผสู้ งู อายตุ ิดบา้ น และ ตดิ เตยี งจบั แปรงสีฟันได้กระชับมากขนึ้

ถุงทรายหรรษา เพิ่มความแข็งแรงของ ถงุ มอื กนั ดึงสาย ทำ� จากขวดนำ�้ เกลือ
กลา้ มเนื้อ ป้องกันการดึงสายใหอ้ าหารทางสายยาง

บทเรยี นท่ีได้รับ
1. การจดั บริการด้านสขุ ภาพควรคำ� นงึ ถึงวิธีการด�ำเนินชวี ติ ของผ้สู ูงอายุ บทบาทของเทศบาล
และเครือข่ายในการจัดบริการด้านสุขภาพต้องค�ำนึงถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทางสังคมของชุมชน
เปน็ ส�ำคญั การจดั บรกิ ารต่าง ๆ ตอ้ งสอดคล้องกบั วิถีการดำ� เนนิ ชีวติ จะท�ำให้ผู้สงู อายแุ ละครอบครัว
สนใจในการจัดบริการและน�ำความรู้ทักษะต่าง ๆ มาใช้ในชีวิตประจ�ำวันไม่รู้สึกถูกบังคับให้เข้าร่วม
กจิ กรรม
2. การจัดบริการด้านสวัสดิการ ต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุและครอบครัว
เปน็ หลักการสรา้ งกระบวนการ บนั ได 4 ขั้น ส่กู ารมีสุขภาพที่ดขี องผู้สงู อายุ หลกั การส�ำคญั ยงั คงต้อง
ค�ำนึงถึงความตอ้ งการของผู้สูงอายุและครอบครัวเปน็ ส�ำคัญ เทศบาลไมอ่ าจกำ� หนดรปู แบบบริการที่
ตายตัวแลว้ ใชไ้ ดก้ ับทุกคน
3. นวัตกรรมช่วยสร้างให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าใจยอมรับ
และช่วยเหลือตนเองได้ ซ่ึงเป็นการพัฒนาที่ย่ังยืนมากกว่าการที่เทศบาลโอบอุ้มและจัดบริการแบบ
เหมารวม นอกจากนก้ี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ยงั ทำ� ใหค้ รอบครวั ของผสู้ งู อายเุ ขา้ มามบี ทบาทในการจดั บรกิ าร
แทนท่จี ะมองว่าเปน็ หนา้ ท่ขี องเทศบาลหรือหนว่ ยงานของรฐั เพียงฝ่ายเดยี ว
4 . จ า ก ก า ร ท่ี เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง เข า รู ป ช ้ า ง ไ ด ้ รั บ ร า ง วั ล ช น ะ เ ลิ ศ ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด
ต�ำบล Long Term Care รางวัลรองชนะเลิศระดับเขตอันดับ 2 ของศูนย์อนามัยท่ี 12 ยะลา
ซึ่งกระบวนการต�ำบล Long Term Care เป็นส่วนหน่ึงของนวัตกรรมบันได 4 ขั้น สู่สุขภาวะ
ท่ีดีของผู้สูงวัยเมืองเขารูปช้าง (2SHL) ท�ำให้มีหน่วยงานภายนอกท้ังองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถ่ิน และหน่วยงานราชการอื่น ได้เข้ามาศึกษาดูงานและเรียนรู้ในกิจกรรมของนวัตกรรมดังกล่าว
เช่น เทศบาลนครนครศรีธรรมราช เทศบาลเมืองสะเตง จังหวัดยะลา เข้าศึกษาดูงานในเรื่องของ
ต�ำบล Long Term Care เทศบาลตำ� บลปากนำ้� จงั หวดั ชุมพร ศึกษาดูงานเร่อื งการดำ� เนินงานของ
ศูนย์ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเขารูปช้าง วิทยาลัยบรมราชชนนีสงขลา ได้ส่ง
นกั ศกึ ษาเขา้ มาศกึ ษาและเรยี นรกู้ ระบวนการดแู ลผสู้ งู อายใุ นเขตเทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ ง โดยทส่ี ามารถ
นำ� นวตั กรรมดงั กลา่ วไปปรบั ใชใ้ นการดแู ลผสู้ งู อายไุ ดท้ งั้ ในชมุ ชนเมอื ง และชนบทตามบรบิ ทของเมอื ง
หรือชมุ ชนนั้น ๆ ต่อไป

สำ� นักงานเทศบาลเมืองเขารปู ชา้ ง 333 ม.10 ต.เขารูปชา้ ง อ.เมอื ง จ.สงขลา
โทร : 074-302555 อีเมล์ : [email protected]


Click to View FlipBook Version