The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานปี ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย 2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ์NFE-maelanoi, 2024-04-23 20:05:32

สรุปผลการดำเนินงานปี ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย 2567

สรุปผลการดำเนินงานปี ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย 2567

รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567


รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ก คำนำ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้จัดทำสรุปผลการปฎิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อเป็นแนวทางใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 โดยยึดแนวทางตาม ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2567 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดแม่ฮ่องสอน และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่ลาน้อย ตลอดจน บริบทความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดำเนินงาน ศกร.ตำบล แม่ลาน้อยให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ การสรุปผลการปฎิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย (ไตรมาส 1 - 2 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 – 31 มีนาคม 2567) เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย เพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นที่ อย่างแท้จริง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการปฎิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 (ไตรมาส 1 - 2 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 – 31 มีนาคม 2567) เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็น ประโยชน์ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อไป ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย


รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ข สารบัญ เรื่อง หน้า ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ...............................................................................1 ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิบัติการ ศกร.ตำบล........................................................................5 ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนความสำเร็จของการดำเนินงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน.......................................................................10 ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน.................................................................................... ........18 ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เข้าสอบปลายภาค................................................................................................... ................20 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาบังคับ...................................................................22 ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง................................................................................................24 ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้ เมื่อเทียบกับเป้าหมาย.............""..................26 ตัวชี้วัดที่ 10 จำนวนกิจกรรมที่จัดในแหล่งเรียนรู้ บ้านหนังสือชุมชน..........................................................................28 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน ..............................................................38 ตัวชี้วัดที่ 12 จำนวนงานตามนโยบายเร่งด่วนหรืองานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย............................................................40 ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จในการจัดทำผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice)...................................................42 ตัวชี้วัดที่ 14 งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย...................................................................................................................426


รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ


1 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) 1. ข้อมูลสถานที่ตั้งและลักษณะพื้นที่ตั้ง ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย สังกัด ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่ลาน้อย สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน กรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ ความเป็นมา ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่ลาน้อย สังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน เดิมตั้งอยู่ที่ศาลาเอนกประสงค์บ้านห้วยโป่งซึ่งเป็นของเทศบาลตำบลแม่ลาน้อย และได้ดำเนินการสร้างอาคาร กศน.ขึ้นตามนโยบาย เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2552 ที่อิมแพคเมืองทองธานี โดย นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปาฐกถาพิเศษในพิธีเปิดงาน กศน.ตำบล/แขวงมีผู้แทน จากกศน.ตำบลเข้าร่วมกว่า3,000 แห่ง โดยระบุว่าสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) มีแผนจัดตั้งศูนย์ กศน.ตำบล ให้ครบทั้ง 7,409 ตำบลทั่วประเทศเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในตำบล ซึ่งทยอย จัดตั้งในปี 2552 ดังนั้น จึงมอบนโยบายกศน.ไปยกระดับศูนย์กศน.ตำบลที่จัดสร้างไปแล้วและอยู่ระหว่างจัดสร้างให้มี ความทันสมัยเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่มีคุณภาพของประชาชนในชุมชนสอดคล้องกับเป้าหมายของกระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.) ให้ทุกคนมีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพสอดคล้องกับเป้าหมายของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ให้มีโอกาส เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพและได้ทำการเปิด ศกร.ตำบลแม่ลาน้อยอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2555 2. พิกัดที่ตั้ง ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย เลขที่ 95 หมู่ 5 ตำบลแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (58120) พิกัดตำแหน่ง ละติจุดที่ 18.231286 ลองติจุดที่ 97.555303 3. ข้อมูลบุคลากร ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย นายสุทธิพงศ์ เสริมสุข ผู้อำนวยการ สกร.อำเภอแม่ลาน้อย นางสาวสกุณา เปียงใจ ครูอาสาสมัครฯ นายธนศักดิ์ ฤดีแก้วกล้า ครูอาสาสมัครฯ นางสาวปณิตา แสงนิล ครู กศน.ตำบล 4 ชื่อและเบอร์ติดต่อ ของหัวหน้า ศกร.ตำบล นางสาวปณิตา แสงนิล ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล หมายเลขโทรศัพท์ 05-3689-123 และ 06-3629-1500 วุฒิการศึกษาระดับ ประถมศึกษา โรงเรียนจอมแจ้งมิตรภาพที่ 193 มัธยมศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียงบริพัตรศึกษา ปริญญาตรี สถาบันราชภัฏเชียงใหม่


2 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 เริ่มปฏิบัติราชการ 1. ครูศูนย์การเรียนชุมชน เมื่อวันที่ 16 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 2. ครู กศน.ตำบล เมื่อวันที่ 10 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน 5. ลิงค์ เว็บไซต์ หรือ Fanpage ศกร. ตำบล Fanpage/ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย https://www.facebook.com/Ksn.tumbonmaelanoi 6. ข้อมูลสาธารณูปโภค ไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต ระบบไฟฟ้า ระบบน้ำประปา ระบบโทรศัพท์เป็นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ อินเทอร์เน็ต 7. มีสื่อ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ จำนวนคอมพิวเตอร์โทรทัศน์และอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ - คอมพิวเตอร์ จำนวน 2 เครื่อง - โทรทัศน์ จำนวน 1 เครื่อง - อินเตอร์เน็ต ครุภัณฑ์ ในโครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรมการปรับสู่ศูนย์ดิจิทัลชุมชนและอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ


3 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 8. จำนวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์เฉลี่ยต่อวัน จำนวน 5 คน / วัน 9. จำนวนผู้เข้ารับบริการที่กศน. ตำบล เฉลี่ยต่อเดือน 40 คน / เดือน 10. ข้อมูลบุคลากร กศน.ตำบล ชื่อ-สกุล นางสาวปณิตา แสงนิล ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล เบอร์โทร 063-6291500 / e-mail :panita2523 @gmail.com


4 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 11. ข้อมูลคณะกรรมการ ศกร. ตำบล ประธานกรรมการ นายสง่า เกษมจิตร ประธาน กรรมการที่เป็นตัวแทนจากหมู่บ้าน ชุมชน และหน่วยงาน ได้แก่ นายประสาร ศฤงคาร รองประธาน นายสุรศักดิ์ กมลศรี กรรมการ นายสากล บรรพตขจรเวช กรรมการ นายประสงค์ วิวัฒน์พนา กรรมการ นายสกนธ์ บุปผาวิเศษ กรรมการ นางสายัณห์ ฐิติธารากุล กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรนักศึกษา ได้แก่ นายแสวง เขื่อนทอง องค์กรนักศึกษา ศกร.ตำบล กรรมการที่เป็นอาสาสมัคร ศกร. ได้แก่ นางสาวดวงมณี เสรีธารา อาสาสมัคร กศน. กรรมการและเลขานุการ ครู กศน.ตำบล / ครู ศศช. ได้แก่ นางสาวปณิตา แสงนิล ครู กศน.ตำบล นายธนศักดิ์ ฤดีแก้วกล้า ครูอาสาสมัครฯ โดยมีหน้าที่ดังนี้ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานแหล่งเรียนรู้ศกร.ตำบล ศศช. 2. ประสานงานและเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับ ศกร. ตำบล และ ศศช. 3. ประสานกับส่วนราชการในตำบลหรือเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน 4. ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เพื่อสนับสนุน สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ อาคาร สถานที่ และนำแผนชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาปฏิบัติ 5. ปฏิบัติตามหน้าที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนดให้เป็นบทบาทหน้าที่ของแหล่งเรียนรู้


5 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 12. มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ในระบบ DMIS ที่สามารถ ตรวจสอบได้ ข้อมูลลักษณะการถือครองที่ดินของ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้ก่อสร้าง ศกร.ตำบลโดยได้ขอที่ราชพัสดุ โรงเรียนบ้านวังคัน หมู่ 5 ตำบลแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน


6 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิบัติการ ศกร.ตำบล


7 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิบัติการ ศกร.ตำบล 1 มีการรวบรวม ศึกษาข้อมูลพื้นฐานระดับตำบลและข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการ จัดทำแผน ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้จัดทำเวทีประชาคมระดับหมู่บ้านและร่วมกับหน่วยงานจัดทำแผนระดับตำบล เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลและสภาพปัญหาตามความต้องการ 2.มีการวิเคราะห์ข้อมูล บริบท สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น การจัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ปัญหาความต้องการทางการศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ กลุ่ ม ผู้ ด้ อ ย โอ กาส ประชา กรวัยแรงงาน (อายุ15-59 ปี) - ประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง มีภาระต้อง ทำงานหาเลี้ยงครอบครัวส่งผลให้ขาดโอกาสในการเข้าถึง การศึกษา แรงงานมีการย้ายถิ่นฐานบ่อย ต้องการศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่ม ผู้ด้อยโอกาส (เด็กและเยาวชน) -ชุมชนมีสภาพวิถีการดำเนินชีวิตที่หลากหลาย มีความเสี่ยง ต่อปัญหาต่างๆ เช่นปัญหายาเสพติด ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ เป็นต้น การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่ ม พ ลาด โอ กาส ผู้สูงอายุ (อายุ60 ปี ขึ้นไป) - ผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพการเกษตร รับจ้างทั่วไป และไม่มีงานทำมีภาระต้องเลี้ยงดูบุตรหลาน ไม่มีอาชีพที่ มั่นคง และขาดคุณภาพชีวิตที่ดีเท่าที่ควร ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จำแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย ด้านการรู้หนังสือ ด้านการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สายสามัญ และ ปวช.) ด้านอาชีพ ด้านการ พัฒนาทักษะชีวิต ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มเป้าหมาย สภาพปัญหา ความต้องการทางการศึกษา หมายเหตุ กลุ่มผู้พลาดโอกาส 1.ออกกลางคัน 2.จบการศึกษาแต่ไม่ได้เรียนต่อ 3.ไม่ต้องการศึกษาในระบบ 4.ผู้สูงอายุ -ท้องในวัยเรียน -ไม่มีทุนในการศึกษา -ไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบที่ สถานศึกษากำหนด -ต้องการศึกษาต่อการศึกษาขั้น พื้นฐาน -ต้องการการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิต


8 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 กลุ่มเป้าหมาย สภาพปัญหา ความต้องการทางการศึกษา หมายเหตุ กลุ่มผู้ขาดโอกาส ประชาชนในพื้นที่ชนบท พื้นที่ชนบทห่างไกลหรือยากลำบาก ในการคมนาคมติดต่อสื่อสาร -การจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิต -การพัฒนาด้านอาชีพ -ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต -ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน -ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กลุ่มผู้ขาดโอกาส ประชาชนในพื้นที่ชนบท พื้นที่ชนบทห่างไกลหรือยากลำบาก ในการคมนาคมติดต่อสื่อสาร -การจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิต -การพัฒนาด้านอาชีพ -ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต -ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน -ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ - มีปัญหาอ่านออกเขียนได้และ ส่วนมากไม่ได้ใช้ภาษาไทยในการ สื่อสารจะใช้เป็นภาษาท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมายสามารถพูดสนทนา และอ่านออกเขียนได้ การวิเคราะห์ข้อมูล บริบท สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น S SWOT Analysis คือการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในองค์กรเป็นขั้นตอนแรกๆในการทำ แผนประเภทต่างๆ เช่น แผนกลยุทธ์ 1.สภาพแวดล้อมภายในองค์กร งบประมาณ เครื่องมือเทคโนโลยี บุคลากร ภารกิจของ หน่วยงาน โครงสร้างการบริหาร) 1) Strength (จุดแข็ง) คือ สภาพที่ทำให้หน่วยงาน (กศน.ตำบลแม่ลาน้อย)เข็มแข็ง พัฒนาให้เกิดความ ก้าวหน้า ได้ จุดแข็งของ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อยมีดังต่อไปนี้ 1.1) ตำบลแม่ลาน้อยมีการปกครองทั้งในระดับเทศบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุน การจัดกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย เป็นอย่างดี 1.2) ภารกิจหรืองานในหน้าที่ของ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อยมีลักษณะงานที่หลากหลาย น่าสนใจ มีหลาย หลักสูตรหลายวิธี ช่วยพัฒนาสังคมได้ 1.3) มีการติดต่อประสานงานระดับชุมชน ผู้นำต่างๆอย่างสม่ำเสมอ 1.4) มีความพร้อมทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ และสื่อเทคโนโลยี ที่หลากหลายง่ายต่อการเรียนรู้


9 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 2) Weakness (จุดอ่อน) คือ สภาพที่ทำให้การดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายไม่ได้ 2.1) ด้านกลุ่มเป้าหมาย (นักศึกษา) บางรายขาดความรับผิดชอบ ไม่มีวินัยในตนเอง ไม่ปฏิบัติ ตามขั้นตอน และไม่มีการทำงานเป็นกลุ่ม 2.2) กิจกรรมที่เด่นในชุมชนยังไม่ปรากฏยั่งยืน 2.3) พื้นฐานด้านความรู้ที่แตกต่างกัน 2.4) สื่อทางด้านเทคโนโลยีที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 2. สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร เช่น สภาวะทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ปัญหา ยาเสพติด นโยบายของรัฐบาล) 1) Opportunities (โอกาส) คือสภาพที่ทำให้องค์กรพัฒนาก้าวหน้าแข่งกับองค์กรอื่นได้ 1.1) ด้านกลุ่มเป้าหมาย ศกร.ตำบลแม่ลาน้อยยังมีกลุ่มเป้าหมายที่ให้ความสนใจ และความสำคัญต่อ การศึกษาอีกเป็นจำนวนมาก 1.2) ด้านเครือข่ายทางการศึกษา ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสถานศึกษาในระบบในการช่วยจัด การศึกษา และยังมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่คอยให้การสนับสนุนในการจัดการศึกษา 2) Threats (อุปสรรค) คือสภาพที่กีดขวางเหนี่ยวรั้งการพัฒนา 2.1) ด้านงบประมาณ ขาดงบประมาณจากหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงที่จะช่วยสนับสนุนการ ขับเคลื่อนในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่สมบูรณ์ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ ครู กศน.ในพื้นที่ 2.2) การร่วมกลุ่มต่างๆในชุมชนยังทำได้ยากในบางพื้นที่ แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนา 3.1) การจัดการอบรมพัฒนาให้ครู กศน.ได้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้นอยู่เสมอ 3.2) มีงบประมาณสำรองต่อการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมที่เพียงพอ 3.3) หาวิธีในการติดต่อกับนักศึกษาให้หลากหลายวิธีมากกว่านี้ และควรทำอย่างเป็นระบบ 3.4) การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ทั้งกาจัดสรรงบประมาณปละการลงปฎิบัติงานในพื้นที่


10 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 3. มีการจัดทำแผนปฎิบัติการที่สอดคล้องกับนโยบาย จุดเน้นและแนวโน้มการพัฒนา ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้นำโครงการที่ร่วมประชาคมกับชุมชน หน่วยงานและจากนโยบายของกระทรวง จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายเร่งด่วนมาจัดทำโครงการ ที่ โครงการ/กิจกรรม 1 โครงการการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน / การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย(การสอดแทรก ความรู้องค์ความรู้ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์และไซเบอร์ อย่างสร้างสรรค์) -การยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยเน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ในรูปแบบ Active Learning, STEM Education -การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย(รับสมัครนักศึกษา) 2 โครงการกิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย 3 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชม.) โครงการส่งเสริมสร้างอาชีพ หลักสูตร การเลี้ยงกุ้งในกระชัง 5 กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบลแม่ลาน้อย/บ้านหนังสือชุมชน 4.มีการนำแผนไปสู่การปฎิบัติและดำเนินการตามที่กำหนด ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้จัดทำแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสามารถดำเนินการ ตามที่กำหนด 5.มีการประเมิน สรุปและรายงานผลและจัดทำแผนในระบบ DMIS ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้จัดทำกิจกรรมตามโครงการมีการประเมิน สรุปและรายงานผลตามเวลาที่กำหนด


11 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่3 จำนวนความสำเร็จของการดำเนินงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน


12 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนความสำเร็จของการดำเนินงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. มีจำนวนนักศึกษาที่รับผิดชอบ เป็นไปตามเกณฑ์ที่สำนักงาน สกร. กำหนดไว้ (1 คน ต่อ นักศึกษา 40 คน) ภาคเรียนที่2/2566 2. มีจำนวนนักศึกษาที่รับผิดชอบมากกว่า 40 คน 3. การวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย และสำรวจความต้องการของนักศึกษาเพื่อร่วมจัดวิธีการ เรียนรู้ให้เหมาะสมกับนักศึกษา ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย มีการวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย และสำรวจความต้องการของนักศึกษา โดยใช้แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อการจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคล 4. มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์บันทึกการเรียนรู้และจัดทำข้อมูลการลงทะเบียนของ นักศึกษาและแจ้งให้นักศึกษารับทราบโดยทั่วกัน ระดับชั้น จำนวน มัธยมศึกษาตอนต้น 18 มัธยมศึกษาตอนปลาย 23 รวม 41


13 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 5 มีการจัดทำปฏิทินการพบกลุ่มทั้งภาคเรียนและแจ้งให้นักศึกษารับทราบโดยทั่วกัน ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้จัดทำปฏิทินการพบกลุ่มทั้งภาคเรียนและแจ้งให้นักศึกษารับทราบโดยทั่วกัน โดยการติดบอร์ดป้ายประชาสัมพันธ์และแจกให้กับตารางปฎิทินการพบกลุ่มให้กับผู้เรียน 6 นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 20 ชั่วโมงขึ้นไป (ให้นับรวมกิจกรรมที่สถานศึกษาดำเนินการและ ครูกศน.ตำบล ดำเนินการ) โครงการ/กิจกรรม ผ่าน จำนวนชั่วโมง 1.โครงการลูกเสือ ✓ 20 2.ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชนเนื่องในวันสำคัญ ✓ 20 3. โครงการ กศน.เกมส์ ✓ 20 7. นักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เข้าสอบปลาย ภาค ตั้งแต่หนึ่งวิชาขึ้นไป (เข้าสอบวิชาใดวิชาหนึ่ง ถือว่าเข้าสอบปลายภาค ให้นับเป็น 1) จำนวนนักศึกษาทั้งหมด จำนวนนักศึกษาที่เข้าสอบ 1 วิชาขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 41 37 90.24 8. นักศึกษาร้อยละ 75 ของนักศึกษาที่คาดว่าจะจบที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เข้าทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ(N-NET) และ E-Exam (สามารถนับรวมกันได้) ระดับ จำนวน ผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ เข้าสอบ ขาดสอบ ร้อยละของ ผู้เข้าสอบ ร้อยละของ ผู้ขาดสอบ มัธยมศึกษาตอนปลาย 8 8 0 100 0 มัธยมศึกษาตอนต้น 9 8 1 88.89 11.11 รวม 17 16 1 94.12 5.88


14 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 9. ผู้เรียนร้อยละ 80 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น มีusername และ password และมี การเข้าใช้สื่อการเรียนรู้ จากรายงานโทรทัศน์เพื่อการศึกษาผ่านเว๊ปไซด์www.etvthai.tv 10. มีการช่วยเหลือผู้เรียน เช่น บันทึกผลการติดตาม การขาดเรียนของนักศึกษาที่ไม่มาพบกลุ่ม 11. มีบัญชีลงเวลาของนักศึกษาและบัญชีลงเวลาของครูผู้สอน


15 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 12. มีรายงานการประเมินคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษา 13. มีบันทึกการตรวจรายงานกิจกรรม กพช. ของนักศึกษา 14. จัดนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานอื่นที่ประสานขอความร่วมมือ อย่างน้อย 2 กิจกรรม ต่อภาค เรียน โครงการ/กิจกรรม 1.กิจกรรมร่วมจัดทำฝายชะลอความชุ่มชื้นร่วมกับชุมชน 2.กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาหมู่บ้านเนื่องในวันสำคัญ 3.กิจกรรมทำรั้วโรงเรียน 4.โครงการกีฬา อบต. 15 มีการวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างน้อย 1 เรื่องต่อภาคเรียน เรื่อง การพัฒนาความสามารถการอ่านคำศัพท์และรู้ความหมายป้ายสัญลักษณ์จราจรภาษาอังกฤษโดยใช้ เกมและสื่อของนักศึกษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย


16 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 16. มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน - นักศึกษามีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 17. นักศึกษาร้อยละ 90 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้นมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและ คุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้ประเมินนักศึกษา ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย โดยมีนักศึกษาร้อยละ 100 มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด


17 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 18.นักศึกษาร้อยละ 80 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น - นักศึกษา ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ตรวจสุขภาพทุกภาคเรียน รวมทั้งร่วมกิจกรรมงานเกี่ยวกับสุนทรียภาพที่ ทาง สกร.และทางหน่วยงานอื่นที่จัด -นักศึกษามีความสามารถในการอ่าน การเขียน ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย มีการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขียนของนักศึกษาใหม่ทุกภาคเรียน


18 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ประถมศึกษา ชื่อ นามสกุล อ่านออก ผลคุณภาพการอ่าน เขียนได้ ผลคุณภาพการเขียน ภูมิสิทธิ์ นโคทรคำรณ 75 อ่านได้ดี 70 เขียนได้ดี มัธยมศึกษาตอนต้น ชื่อ นามสกุล อ่านออก ผลคุณภาพการอ่าน เขียนได้ ผลคุณภาพการเขียน อรรถพล สุธีรวโรดม 65 อ่านได้ดี 50 เขียนได้แต่ไม่คล่อง สุรเดช กลางไพร 80 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 75 เขียนได้ดี สุทธิพงษ์ มโนธรรม 80 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 75 เขียนได้ดี สุทธิพงษ์ มะโนธรรม 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 80 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง วิชิดา นโคทรคำรณ 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 70 เขียนได้ดี ธิติ ถาวรมงคลวัฒน์ 75 อ่านได้ดี 50 เขียนได้แต่ไม่คล่อง จตุรวิทย์ ดำรงนิกรสงวน 75 อ่านได้ดี 60 เขียนได้ดี มัธยมศึกษาตอนปลาย ชื่อ นามสกุล อ่านออก ผลคุณภาพการอ่าน เขียนได้ ผลคุณภาพการเขียน อโนทยา ปกรณ์พาณิชย์กุล 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 85 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง อารียา ประกายดาว 90 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 90 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง อัยญาวรรณ แบขุนทด 90 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 70 เขียนได้ดี สุรเดช อุดรบรรพต 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 85 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง สุรีย์ หนุ่มชาลี 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 80 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง สุทธิรักษ์ นิธิธาราเลิศ 90 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 70 เขียนได้ดี สว่าง นิธิบรรพตโชติ 75 อ่านได้ดี 60 เขียนได้ดี ศุภมิตร แจ่มดาราไพร 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 75 เขียนได้ดี ศักดาเทพ ปิ่นคำ 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 85 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง วุฒิพงค์ ทิพาธรรมคุณ 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 85 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง พัชรินทร์ กิจวัฒนาพร 90 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 70 เขียนได้ดี พะสุดี นโคทรคำรณ 65 อ่านได้ดี 50 เขียนได้แต่ไม่คล่อง ธนกร ล้วนไพรสรรค์ 85 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 85 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง ฑิฆัมพร อาสามุข 90 อ่านได้ดีมากและอ่านคล่อง 90 เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง


19 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 19.ผู้จบการศึกษานำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ - ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น -ประชาสัมพันธ์งานผ่านเพจ -ประชาสัมพันธ์ขายของผ่าน Facebook


20 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่4 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน


21 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่4 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบกับผู้ที่ขึ้นทะเบียนละลงทะเบียนโดยนับจากภาคเรียนปัจจุบันย้อนหลังไป 4 ภาคเรียน (ผู้ที่เทียบโอนมาและจบการศึกษาก่อนให้นับรวมด้วย) โดยนับรหัสนักศึกษาที่ลงทะเบียน 4 ภาคเรียน 1.แบบรายงานผู้ขึ้นทะเบียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2551 ของภาคเรียนที่ 1/2565 2. รายงานผู้จบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของภาคเรียนที่ 1/2565 มีการประเมินจากโปรแกรมทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ (ITW51) 3. รายงานสรุปผลการเรียนในภาคเรียนนั้นจากโปรแกรมทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ (ITW51) ระดับชั้น จำนวนนักศึกษาย้อนหลัง 4 ภาคเรียน ผู้ที่จบการศึกษา ผู้ที่ไม่จบการศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น 5 2 40 มัธยมศึกษาตอนปลาย 6 5 83.33 ร้อยละ 11 7 63.63


22 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เข้าสอบปลายภาค


23 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของผู้เข้าสอบปลายภาค แบบรายงานยอดนักศึกษาเข้าสอบ - ขาดสอบ ภาคเรียนที่ 2/2566 ระดับชั้น จำนวนผู้มีสิทธิ์สอบ จำนวนผู้เข้าสอบ จำนวนผู้ขาดสอบ ร้อยละ มัธยมศึกษาตอนต้น 17 15 2 88.24 มัธยมศึกษาตอนปลาย 23 21 2 91.30 รวม 40 36 4 90 หมายเหตุ ไม่มีสิทธิ์สอบ (มส.) 1 คน 1.แบบรายงานผู้ขึ้นทะเบียนหลักสูตรการศึกษานอกรับบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 จากโปรแกรม ทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ (ITW51) ประจำภาคเรียน 2.รายงานผู้จบหลักสูตรการศึกษานอกรับบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของภาคเรียนที่มีการประเมิน จากโปรแกรมทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ (ITW51) 3.รายงานสรุปผลการเรียนในภาคเรียน 2/2566 จากโปรแกรมทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ (ITW51) -


24 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในวิชาบังคับ


25 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในวิชาบังคับ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานรายวิชาบังคับทุกระดับเฉพาะภาคเรียนในรอบการประเมิน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ระดับ ม.ต้น รายวิชา ลงทะเบียน 2.00 ขึ้นไป ไม่ถึง 2.00 ร้อยละผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ในวิชาบังคับ 2.00 ขึ้นไป ทักษะการเรียนรู้ 2 1 1 ภาษาไทย - - - ภาษาอังกฤษ 10 3 7 คณิตศาสตร์ 2 0 2 วิทยาศาสตร์ - - - ทักษะการพัฒนาอาชีพ 11 8 3 ช่องทางการพัฒนาอาชีพ 2 1 1 พัฒนาอาชีพฯ ให้มีความเข้มแข็ง 2 1 1 สุขศึกษา 4 3 1 เศรษฐกิจพอเพียง 2 1 1 ศิลปศึกษา 1 1 0 สังคมศึกษา - - - การพัฒนาตนเองฯ 11 10 1 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 11 9 2 รวม 58 38 20 65.52


26 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ระดับ ม.ปลาย รายวิชา ลงทะเบียน 2.00 ขึ้นไป ไม่ถึง 2.00 ร้อยละผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ในวิชาบังคับ 2.00 ขึ้นไป ทักษะการเรียนรู้ 1 0 1 ภาษาไทย - - - ภาษาอังกฤษ 19 8 11 คณิตศาสตร์ - - - วิทยาศาสตร์ 1 1 0 ทักษะการขยายอาชีพ 1 1 0 ช่องทางการขยายอาชีพ 1 1 0 พัฒนาอาชีพฯ ให้มีความมั่นคง 17 16 1 สุขศึกษา - - - เศรษฐกิจพอเพียง 1 1 0 ศิลปศึกษา 1 0 1 สังคมศึกษา 1 1 0 การพัฒนาตนเองฯ 18 16 2 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 18 15 3 รวม 79 60 19 75.95 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานรายวิชาบังคับทุกระดับเฉพาะภาคเรียนในรอบการประเมิน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ทั้ง 2 ระดับ ระดับชั้น นักศึกษาลงทะเบียน 2.00 ขึ้นไป ไม่ถึง 2.00 ร้อยละผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ในวิชาบังคับ 2.00 ขึ้นไป ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 58 38 20 65.52 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 79 60 19 75.95 รวมทั้งหมด 137 98 39 71.53


27 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง เมื่อเทียบกับเป้าหมาย


28 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง เมื่อเทียบกับเป้าหมาย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีผลการดำเนินงานบรรลุตาม เป้าหมาย/มีผลการดำเนินงานเกินกว่าเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่ ครู กศน. ตำบลรับผิดชอบ ที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายตามแผน (คน) ผลการดำเนินงาน (คน) 1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ -หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งในกระชัง 20 20 2 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมที่ 2 ศส.ปชต.ส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย 10 11 3 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถี ประชาธิปไตย 20 22 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล : เอกสารการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมและรายงานผลสรุปการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง ประจำปี 2567 1. โครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง จำนวน 30 ชั่วโมง 2. แผนงบประมาณ 2566 : แผนงานการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทหมวดเงิน แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ งบรายจ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง) ค่ากิจกรรมการดำเนินงานไตรมาส ที่ 1-2 (เดือนตุลาคม 2566 ถึงเดือนมีนาคม 2567) ประจำปีงบประมาณ 2566 ไปพลางก่อน จำนวน 7,000 บาท โดยรายละเอียดดังนี้ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน x 200 บาท x 5 ชั่วโมง x 6 วัน จำนวน 6,000 บาท 2. ค่าวัสดุ จำนวน 1,000 บาท รวมทั้งสิ้น 7,000 บาท 3. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปณิตา แสงนิล ตำแหน่ง ครูกศน.ตำบลแม่ลาน้อย 4. ระยะเวลา : ระหว่างวันที่ 22 - 27 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2566 สถานที่ดำเนินการ : บ้านทุ่งรวงทอง หมู่ 10 ตำบลแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน


29 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 5. เป้าหมาย เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชม.) หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง มีความรู้และทักษะ มีความเข้าใจถึงกระบวนการในการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง และมีความพึงพอใจในโครงการการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง 6. ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชม.) หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง มีความรู้และทักษะ มีความเข้าใจถึงกระบวนการในการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง และมีความพึงพอใจในโครงการการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชังร้อยละ 100 7. สภาพปัญหา : ไม่มี 8. ข้อเสนอนะแนวทางแก้ไข : ควรมีการจัดกิจกรรมอบรมเพิ่มเติมต่อไป รูปภาพกิจกรรม ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง ระหว่างวันที่ 22 - 27 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2566 ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ดำเนินการจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งฝอยใน กระชัง จำนวน 30 ชั่วโมง ให้กับชุมชนบ้านทุ่งรวงทอง ระหว่างวันที่ 22 - 27 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2566


30 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง ประจำปี 2567 ร่วมกับภาคีเครือข่าย 1. โครงการ กิจกรรมที่ 2 ศส.ปชต.ส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย 2. ระยะเวลา : วันที่ 29 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2567 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 10 คน เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมมีความรู้เกี่ยวกับส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตยระดับตำบล การ เตรียมการเลือกสมาชิกวุฒิสภาและการประเมินมาตรฐาน ศส.ปชต. ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 2 ศส.ปชต.ส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย เพื่อผู้เข้าร่วมมี ความรู้เกี่ยวกับส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตยระดับตำบล การเตรียมการเลือกสมาชิกวุฒิสภาและการประเมิน มาตรฐาน ศส.ปชต. รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง ประจำปี 2567 1. การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถีประชาธิปไตย 2. ระยะเวลา : วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน – 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2567 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 22 คน เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมมีความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถี ประชาธิปไตย ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ดำเนินการจัดโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถีประชาธิปไตย เพื่อให้ ผู้เข้าร่วมมีความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถีประชาธิปไตย


31 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้ เมื่อเทียบกับเป้าหมาย


32 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้เมื่อเทียบกับเป้าหมาย ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้ เมื่อเทียบกับเป้าหมาย ที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายตามแผน (คน) ผลการดำเนินงาน (คน) 1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ (ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นำไปใช้ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ต่อยอด อาชีพเดิมเพิ่มมูลค่า) 20 20 2 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน(ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นำ ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาชุมชนและสังคม) 10 11 3 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน(ร้อยละของผู้จบหลักสูตรที่นำ ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาชุมชนและสังคม) 20 22 ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ดำเนินการจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งฝอยในกระชัง จำนวน 30 ชั่วโมง ให้กับชุมชนบ้านทุ่งรวงทอง ระหว่างวันที่ 22 - 27 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2566 ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 2 ศส.ปชต.ส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย เพื่อผู้เข้าร่วมมีความรู้ เกี่ยวกับส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตยระดับตำบล การเตรียมการเลือกสมาชิกวุฒิสภาและการประเมินมาตรฐาน ศส.ปชต. ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ดำเนินการจัดโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถีประชาธิปไตย เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมี ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยและหน้าที่พลเมืองวิถีประชาธิปไตย


33 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 9 จำนวนผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย


34 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 9 : จำนวนผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ผลการดำเนินงาน ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายตามแผน (คน) ผลการดำเนินงาน (คน) 1 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (กศน.ตำบล/ศูนย์การ เรียนชุมชน) 50 60 2 จำนวนผู้รับบริการบ้านหนังสือชุมชน 50 55 3 โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน - กิจกรรมศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ตำบล กิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน - การใช้อินเตอร์เพื่อส่งเสริมการอ่านและบ้าน หนังสือชุมชน 25 25 4 จำนวนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 2 2 5 บริการอินเตอร์เน็ต ศกร.ตำบล 50 80 รวมทั้งหมด 152 222 กศน. ตำบลแม่ลาน้อย ได้จัดทำแผนการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น โครงการส่งเสริมการอ่านให้กับ กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไป มีห้องสมุดกศน.ตำบล บ้านหนังสือชุมชน รวมทั้งการจัดอำเภอเคลื่อนที่ซึ่ง ทางศกร. ตำบลแม่ลาน้อย มีอินเตอร์เน็ตบริการฟรี มีหนังสือทั่วไป นิตยสาร วารสารไว้บริการ โดยมีการสรุปผลการ ดำเนินงาน มีการนิเทศติดตามให้คำแนะนำจากหน่วยงานต้นสังกัด


35 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ข้อมูลหลักฐานอื่นๆ


36 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 10 จำนวนกิจกรรมที่จัดในแหล่งเรียนรู้ บ้านหนังสือชุมชน


37 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 10 : จำนวนกิจกรรมที่จัดในแหล่งเรียนรู้ บ้านหนังสือชุมชน ผลการดำเนินงาน ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ตามแผน (คน) ผลการ ดำเนินงาน (คน) 1 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (กศน.ตำบล/ศูนย์การเรียนชุมชน) 50 60 2 จำนวนผู้รับบริการบ้านหนังสือชุมชน 50 55 3 โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน - กิจกรรมศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ตำบล กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - การใช้อินเตอร์เพื่อส่งเสริมการอ่านและบ้านหนังสือชุมชน 25 25 4 จำนวนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 2 2 5 บริการอินเตอร์เน็ต ศกร.ตำบล 50 80 รวมทั้งหมด 152 222 ภาพถ่ายกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย


38 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน


39 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 11 : ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน 1. เอกสารการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม และรายงานผลสรุปการดำเนินงาน 2. ข้อมูลหลักฐานอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา เช่น หนังสือเชิญประชุม หนังสือเชิญ ร่วมกิจกรรมต่างๆ หนังสือขอใช้สถานที่ หนังสือขอบคุณ บันทึกการประชุม สมุดเยี่ยม คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ฯลฯ กิจกรรมการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย 1.ร่วมกิจกรรมกับภาคีเครือข่ายทุกกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น - ศกร.ตำบลเป็นสถานที่ในการนัดหมายรวมตัวของชุมชน - การร่วมจิตอาสาเนื่องในวันสำคัญต่างๆ กิจกรรมจิตอาสา เราทำดีเพื่อชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ การทำโรงทาน - การประสานงานกับหน่วยงานราชการต่างๆ เช่น ประสานเรื่องวิทยากร สถานที่การจัดกิจกรรมต่างๆ 2.กรรมการ/เลขานุการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบลแม่ลาน้อย


40 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 12 จำนวนงานตามนโยบายเร่งด่วนหรืองานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย


41 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 12 : จำนวนงานตามนโยบายเร่งด่วนหรืองานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย ที่ โครงการ/กิจกรรม 1 โครงการการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน / การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย(การสอดแทรก ความรู้องค์ความรู้ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์และไซเบอร์ อย่างสร้างสรรค์) -การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย (รับสมัครนักศึกษา) 2 โครงการกิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย 3 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพ(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชม.) โครงการส่งเสริมสร้างอาชีพ หลักสูตรการเลี้ยงกุ้งในกระชัง 4 กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบลแม่ลาน้อย/บ้านหนังสือชุมชน 5 โครงการดำเนินกิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรม ศส.ปชต. ส่งเสริมพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย ตามโครงการศูนย์ส่งเสริม พัฒนาประชาธิปไตย กิจกรรมหลักเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนา ศส.ปชต. 6 ดำเนินผลการดำเนินงานความก้าวหน้ากิจกรรม อาสาสมัครกศน. 7 โครงการทุนการศึกษาแก่เด็กสภาวะยากลำบากในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือ 8 ประชุมคณะกรรมการ ศส.ปชต.ตำบลแม่ลาน้อย 9 โครงการ Active learning camp 10 โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านกระบวนการลูกเสือ


42 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จในการจัดทำผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice)


43 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จในการจัดทำผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) วิธีหรือแนวทางปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่อง เรียนรู้พืชสมุนไพรรอบรั้ว ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ชื่อ นางสาวปณิตา แสงนิล ตำแหน่ง ครู ศกร..ตำบลแม่ลาน้อย สังกัด ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่ลาน้อย 1. ความเป็นมาและความสำคัญของวิธีหรือแนวทางปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการ ต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคน ในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้ สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ฯ บทบาทภารกิจ ศกร.ตำบล ศกร.ตำบลจะมีการปรับบทบาทภารกิจให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับ การเป็นประชาคมอาเซียนมากขึ้น ภายใต้การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ๔ ศูนย์การเรียนรู้ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ เป็นศูนย์กลางการส่งเสริม จัดกระบวนการการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน ดำเนินงานร่วมกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาจักร (กอ.รมน.) 2. วัตถุประสงค์ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ได้ดำเนินการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจำตำบลแม่ลาน้อย จัดตั้งเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2559 โดยศูนย์เรียนรู้ฯ ที่จัดตั้งขึ้น มีภารกิจ ดังต่อไปนี้ 1. เป็นศูนย์กลางในการจัดการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 2. เป็นแหล่งเผยแพร่องค์ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 3. เป็นแหล่งขยายผลการดำเนินงานและสร้างเครือข่ายในชุมชน


44 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 3. เป้าหมาย ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับปลูกพืชสมุนไพรและเป็นแหล่งค้นหาข้อมูลผ่านการ Scan QR Code 4. กระบวนการ/ขั้นตอนการดําเนินการ วิธีการและนวัตกรรมที่เป็น Best Practice การวางแผนงานและเตรียมการศึกษาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรแต่ละชนิดที่ปลูกใน ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย - ดําเนินการศึกษารูปแบบและแนวทางการจัดการข้อมูลจากเอกสารหนังสือ และเว็บไซต์เพื่อหาแนว ทางการจัดทําระบบสืบค้นข้อมูล หลังจากนั้นเตรียมการวางรูปแบบและแนวทางการดําเนินการ พร้อมกับเตรียมองค์ ความรู้เพื่อถ่ายทอดให้ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ โดยใช้กระบวนการ ดังนี้ การสร้าง QR Code ฟรี ผ่านเว็บไซต์ออนไลน์มีเว็บไซต์มากมายที่ให้บริการสร้าง QR Code ใช้เอง โดยไม่ คิดค่าใช้จ่าย สำหรับเว็บไซต์ที่ใช้งานได้ง่ายมากๆ เหมาะสำหรับมือใหม่ทุกคน ได้แก่ www.qrcode monkey โดยมี วิธีทำ ดังนี้ 1. นำลิงก์ หรือ URL ที่ต้องการสร้าง QR Code มาวางในพื้นที่ Free Text นอกจากนี้ ยังมีคำสั่ง Contact, Phone, SMS สำหรับผู้ที่ต้องการนำรายละเอียดการติดต่อ เบอร์โทรศัพท์ และข้อความ SMS มาสร้าง QR Code อีกด้วย 2. สัญลักษณ์ QR Code ด้านขวามือจะเปลี่ยนรูปร่าง หลังวางลิงก์เรียบร้อยแล้ว สามารถทดสอบความ ถูกต้อง ด้วยการใช้สมาร์ทโฟนลองสแกนดูก่อน 3. คลิกปุ่ม SAVE เพื่อบันทึกสัญลักษณ์ QR Code เป็นไฟล์ภาพ และนำไปใช้ได้เลย 5. ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ 1.ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่จะมีมือถือกันทุกคนและมือถือเดี๋ยวนี้ก็มีกล้องเกือบทุกรุ่นแล้ว ประโยชน์ที่ เห็นได้ชัดที่สุดของ QR Code เราเพียงแค่ยกมือถือมาสแกน QR Code ที่เราพบก็จะลิงค์เข้าเว็บเพจที่ QR Code วางแผนงานและเตรียมการ การจัดทา ระบบฐานข้อมูล การทดสอบระบบ/การใช้ QR Code การประเมินผลและปรับปรุง ระบบ


45 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 นั้นๆ บันทึกข้อมูลอยู่โดยอัตโนมัติ 2.เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่าย 3.การออกแบบมีความหลากหลายดึงดูดความสนใจ 6. ปัจจัยความสําเร็จ 1.ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงสื่อได้สะดวกและรวดเร็ว 2.เป็นฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศ 7.พิกัดที่ตั้งของศูนย์เรียนรู้ ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย ศกร.ตำบลแม่ลาน้อย 95 หมู่ 5 ตำบลแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58120 อ้างอิง Microsoft Word - QR Code.doc


46 รายงานผลการปฎิบัติงานของพนักงานราชการ ไตรมาส 1-2 ประจำปี 2567 ตัวชี้วัดที่ 14 งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย


Click to View FlipBook Version