The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปิตาธิปไตยที่สะท้อนสังคมไทยผ่านวรรณกรรมในแต่ละยุคสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nichamon Konchum, 2021-11-15 04:33:13

ปิตาธิปไตยที่สะท้อนสังคมไทยผ่านวรรณกรรมในแต่ละยุคสมัย

ปิตาธิปไตยที่สะท้อนสังคมไทยผ่านวรรณกรรมในแต่ละยุคสมัย

ที่สะท้อปิตาธิปไตยนสังคมไทยผ่านวรรณกรรมในแต่ละยุ
คสมัย

สารบัญ

1 บทนำ

2 ปิตาธิปไตยในวรรณคดีสมัยสุโขทัย

8 ปิตาธิปไตยในวรรณคดีสมัยอยุธยา

10 ปิตาธิปไตยในวรรณคดี
19 สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
26
ปิตาธิปไตยในวรรณคดี
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง

สรุป

บทนำ

เสนาะ เจริญพร (2548) อธิบายไว้ว่า ปิตาธิปไตย บทบาทของตัวละครเพศชายในฐานะสามีที่
(patriarchy) แต่เดิมหมายถึง “อำนาจของบิดา”
แนวคิดชายเป็นใหญ่กำหนดบรรทัดฐานว่าผู้ชาย คือ ปรากฏในวรรณคดีไทยจะเห็นได้ว่าก็มีความ
ศูนย์กลางของสังคมมนุษย์ และแบ่งแยกความ
แตกต่างระหว่างชายหญิงเป็นสองขั้วโดย ระบุว่าผู้ชาย สอดคล้องกับอำนาจปิตาธิปไตยอย่างแท้จริง
เป็นเพศที่เข้มแข็ง มีเหตุผล เป็นผู้นำ ส่วนผู้หญิงเป็น
เพศที่อ่อนแอใช้อารมณ์ การเลี้ยงลูกเป็นหน้าที่เฉพาะ เพราะว่าตัวบทแสดงให้เห็นว่าเพศชายเป็น
ของผู้หญิง จึงต้องตกเป็นรองและถูกจำกัดบทบาท
เอาไว้ตามที่ผู้ชายต้องการ ในปัจจุบันหมายถึง “ระบบ หลักให้แก่เพศหญิง หรือที่ได้ยินกันบ่อยคือ
ชายเป็นใหญ่” โดยอาศัยอำนาจของบิดาเป็นรากฐาน
ของเพศชายโดยรวม ปิตาธิปไตยเป็นอำนาจที่แฝงเร้น ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้า ทำให้ด้านความเป็นผู้นำ
อยู่กับสิ่งอื่น ๆ เช่น การเมือง เศรษฐกิจ หรือกฎหมาย
มีอำนาจครอบคลุมบทบาทพฤติกรรมวิธีคิดทั้งของ และบทบาทในทางปกป้องคุ้มครองเพศหญิง

เพศหญิงเพศชาย และเพศอื่น ๆ ให้ได้รับความปลอดภัยเป็นหน้าที่อันใหญ่

ในประวัติศาสตร์ ปิตาธิปไตยปรากฏอยู่ในองค์กร หลวงของผู้ชาย บทบาทของตัวละครชายใน
ทางสังคม กฎหมาย การเมือง ศาสนา เศรษฐกิจ และ
ปรากฏให้เห็นในงานวรรณกรรม งานศิลปะเป็นจำนวน ฐานะสามีมีบทบาทในการปกป้องและควบคุม
มากแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมในสังคมร่วมสมัย
สะท้อนให้เห็นความไม่เท่าเทียมกันในสังคม ถึงแม้จะ ภรรยาในสถานการณ์ที่ต้องการความเด็ดขาด
ไม่มีการระบุว่าเป็นปิตาธิปไตยอย่างเปิดเผย แต่ในทาง
โดยเป็นการอาศัยอำนาจทางเพศสรีระของ
ปฏิบัติพบว่าปิตาธิปไตยยังคงมีอยู่ในสังคมไทย
ผู้ชายที่เหนือกว่าผู้หญิงเข้าจัดการโดยตรง

แสดงให้เห็นถึงอำนาจปิตาธิปไตยอย่าง

ชัดเจน การเชิดชูอำนาจปิตาธิปไตยของผู้ชาย

ที่ผู้หญิงต้องยอมรับนั้น อำนาจดังกล่าวนี้

ฝังลึกอยู่ภายใต้สำนึกของทั้งผู้ชายและ

ผู้หญิงจนเป็นวิถีประชาไปแล้ว และผู้ชายยัง

สามารถที่จะมีภรรยาได้หลายคนโดยไม่ถือว่า

เป็นเรื่องผิด เช่น เรื่องพระอภัยมณี หรือใน

เรื่องขุนช้างขุนแผน 1

2

ปิตาธิปไตย
ในวรรณคดี

สมัยสุโขทัย

ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง วรรณกรรมชิ้นเอกสมัยกรุงสุโขทัย นับเป็น
วรรณคดีเรื่องแรกของไทย พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระศรีสุริยพงศ์รามมหา
ธรรมราชาธิราช หรือพระมหาธรรมราชาลิไทย เป็นวรรณคดีไทยที่มีอิทธิพลต่อ
สังคมไทย ตั้งแต่ในยุคสมัยสุโขทัย อยุธยามาจนถึงปัจจุบัน เพราะได้รวบรวม
เอาคติความเชื่อทุกแง่ทุกมุมของทุกชนชั้นหลายเผ่าพั นธุ์มาร้อยเรียงเป็นเรื่อง
ราวให้ผู้อ่านผู้ฟังยำเกรงในการกระทำบาปทุจริต และเกิดความปิติยินดีในการ
ทำบุญทำกุศล อาจหาญมุ่งมั่นในการกระทำคุณงามความดี ซึ่งวรรณคดีเรื่อง
ไตรภูมิพระร่วงนั้นมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์วรรณคดีในไทยมากมาย เนื้อ
ความกล่าวถึง จักรวาลวิทยา ปรัชญา จริยศาสตร์ ชีววิทยา และความคิดความ
เชื่อทางพุ ทธศาสนา สร้างความศรัทธาในพระพุ ทธศาสนา ส่งเสริมความเชื่อว่า
ผู้ที่ทำบุญจะได้ขึ้นสวรรค์และผู้ที่ทำบาปจะตกนรก การเวียนว่ายตายเกิด รวมถึง

มีอิทธิพลต่อค่านิยมที่มีต่อเพศหญิงและเพศชาย

เรื่องไตรภูมิพระร่วงนี้มุ่งสั่งสอนคนในสังคมเรื่องของความดี ความชั่ว
มุ่งให้คนทำความดีเพื่ อได้ขึ้นสวรรค์ คุณค่าทางศีลธรรมที่ปรากฏในเรื่อง

นั้น ค่อนข้างเด่นมาก เนื่องจากเนื้อหาในเรื่องเน้นเกี่ยวกับพุ ทธศาสนา
ซึ่งอาศัยจินตนาการของผู้เขียนในการสร้างเรื่องราวออกเป็น ภูมิต่างๆ
ซึ่งผู้คนที่อาศัยอยู่ในแต่ละภูมินั้น ก็มีความรัก ความโลภ ความโกรธ และ
ความหลง เมื่อผู้อ่านได้อ่านเรื่องนี้จะเกิดความละอายและเกรงกลัวต่อ

การทำบาป คุณค่าทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในเรื่อง คือ ความเชื่อ ซึ่ง
ปรากฏความเชื่อทั้งด้านไสยศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์ ความเชื่อทาง
ไสยศาสตร์ที่ปรากฏคือ ความเชื่อในสิ่งเร้นลับ เช่น เปรต อสูรกาย ยักษ์
เป็นต้น ในขณะเดียวกันแม้ว่าวรรณคดีเรื่องนี้จะปรากฏในสมัยสุโขทัย

แต่ปรากฏว่ามีความเชื่อทางวิทยาศาสตร์ ปรากฏให้เห็นโดยมาก เช่น
ความเชื่อเรื่องโลกกลม การกำเนิดมนุษย์ พั ฒนาการของมนุษย์ เป็นต้น

3

ในสมัยสุโขทัย ผู้ชายมีอำนาจมากในทาง ดังที่แสดงไว้ใน “ไตรภูมิพระร่วง” ซึ่งเป็น

เศรษฐกิจ เพราะเป็นผู้หารายได้เลี้ยงดูครอบครัว วรรณคดีชิ้นสำคัญที่ แสดงให้เห็นว่าเพศชาย

ขณะเดียวกันนั้นผู้หญิงถูกกำหนดให้อยู่ในครัว กุมอำนาจนำในทุกด้าน ทั้งระดับครอบครัวและ

และในบ้าน ความสัมพั นธ์ทางเพศสมัยสุโขทัย ชุมชน กฎระเบียบทางสังคมต่างๆ ล้วนกำหนด

ตำหนิผู้ชายที่ทำชู้กับภรรยาคนอื่น แต่ไม่ห้าม ขึ้นเพื่ อตอบสนองโลกของชายเป็นหลัก

การมีภรรยาหลายคน ส่วนผู้หญิงที่มีสามีแล้ว ปิตาธิปไตยที่สะท้อนสังคมไทยสมัยสุโขทัยผ่าน
จะมีความสัมพั นธ์ทางเพศกับชายอื่นอีกไม่ได้ งานวรรณกรรมเรื่องไตรภูมิพระร่วงนี้สามารถ
ถ้าใครละเมิดเชื่อว่าจะตกนรกอย่างที่ปรากฏใน เห็นได้จากคติความเชื่อหลายอย่างที่แสดงให้
ไตรภูมิพระร่วง ซึ่งได้บรรยายสภาพของนรกไว้
อย่างน่ากลัว น่าจะเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ผู้หญิง เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของเพศชาย และคำสอน
มากมายที่กดขี่เพศหญิง ดังเช่นคติความงาม
ประพฤติปฏิบัติอยู่ในกรอบของศีลธรรม ในอุดมคติของเหล่านางฟ้าตามความเชื่อจาก

เนื่องจากเพศชายในสมัยสุโขทัยนั้นคือผู้กุม คัมภีร์ไตรภูมิพระร่วงที่ไว้กล่าวว่า

อำนาจทางเศรษฐกิจ หาเลี้ยงครอบครัว จึงมี

สถานะเหนือกว่า มีสิทธิมีภรรยาได้หลายคน

(เพี ยงแต่ห้ามทำชู้กับภรรยาผู้อื่น) ในขณะที่

เพศหญิงมีหน้าที่ต้องซื่อสัตย์ (อยู่ฝ่ายเดียว)

จะออกนอกลู่นอกทางไปมีสัมพั นธ์กับชายอื่น

4 ไม่ได้ หากผู้ใดหลงละเมิดจะตกนรกหมกไหม้

"... ฝูงผู้หญิงอันในแผ่นดินนั้นงามทุกคน รูปทรง ดังนั้นผู้หญิงใดหากได้รับพระมหากรุณาโปรด 5
เขานั้นบ่มิต่ำบ่มิสูงบ่มิพีบ่มีผอม บ่มิขาวบ่มิดำ เกล้าให้ถวายตัวเป็นบาทบริจาคแก่มหากษัตริย์
สีสมบูรณ์งามดังทองอันสุกเหลืองเป็นที่พึ งใจ แล้ว ตามโบราณราชประเพณีจึงจำเป็นต้องจัด
เตรียมเครื่องแต่งตัวเครื่องประดับและที่สำคัญ
ฝูงชายทุกคนแล นิ้วตีนนิ้วมือเขานั้นกลมงาม คือเครื่องแต่งหน้าให้ประหนึ่งว่าเป็นดั่งนางฟ้า
นะแน่งเล็บตีนเล็บมือเขานั้นแดงงามดังน้ำครั่ง เทพธิดา การทาตัวด้วยสีขาวนั้นก็เพื่ อจะได้มอง
อันท่านแต่งแล้วแลแต้มไว้แลสองแก้มเขานั้น เห็นรูปร่างและใบหน้าได้ชัดเจน เพราะสมัยก่อน
ใสงามเป็นนวลดังแกล้งเอาแป้งผัด หน้าเขานั้น มีแต่เทียนไขนอกจากนี้จารีตประเพณีโบราณของ
หมดเกลี้ยง ปราศจากมลทินหาฝ้าไฝบ่มิได้แลเห็น ขั้นตอนการถวายตัวก็เป็นอีกประการหนึ่งที่แสดง
ให้เห็นถึงการให้ความสำคัญของความงามของ
ดวงหน้าเขาใสดุจดวงพระจันทร์อันเพ็ งบูรณ์นั้น… เพศหญิงคือ หญิงสาวทั้งหลายจะต้องผ่านการ
มีลำแข้งลำขานั้นงามลำกล้วยทองฝาแฝด… ล้างและอบร่ำอวัยวะเพศอย่างพิ ถีพิ ถัน และ “ท่า”
ท้องขานั้นงามราบเรียงลําตัวเขานั้นอ้อนแอ้น แรกในการถวายตัวคือ พนมมือนอนหงายในท่า
“พั บเป็ด” เพื่ อไม่ให้ตีน/เท้าของหญิงที่กษัตริย์
เกลี้ยงกลมงาม แลเส้นขนนั้นก็ละเอียดอ่อนนัก
แลเส้นผมเขานั้นอ่อนนัก 8 เส้นผมเขาจึงเท่าผม กําลังทรงร่วมเพศไปสัมผัสพระวรกายของ
เรานี้เส้นหนึ่ง แลผมเขานั้นดํางามดังปีกแมลงภู่ พระเจ้าแผ่นดิน เพราะตามคติความเชื่อชาวสยาม
เมื่อประลงมาเถิงริมบ่าเบื้องต่ำ แลมีปรายผมเขา แล้ว เท้าเป็นของต่ำที่จะไม่สามารถถูกหรือสัมผัส
นั้นงอนเบื้องบนทุกเส้น แลเมื่อเขานั่งอยู่ก็ดียืน
พระเจ้าแผ่นดินซึ่งประหนึ่งเทพเจ้า
อยู่ก็ดีเดินไปก็ดีดังจักแย้มหัวทุกเมื่อ..."

จะเห็นได้ว่าหญิงสาวจะต้องปฏิบัติตนทำตามขั้นตอนมากมายเพื่ อทำตัวให้ “งดงาม”
ตามแบบแผนค่านิยม มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่ อถวายตัวเป็นบาทบริจาคแก่มหากษัตริย์ที่

เป็นเพศชาย บทบาทของผู้หญิง เพราะผู้หญิงคือความบันเทิงทางกาย เป็นผู้สนอง
ความต้องการของเพศชาย ผู้ชายมีสิทธิที่จะเลือกผู้หญิงมาเป็นคู่ครอง แต่ผู้หญิงไม่
อาจจะเป็นผู้เลือกคู่ครองให้แก่ตนเองได้ ผู้หญิงจะต้องทำทุกวิถีทางให้ตนเองมีความ
งามผ่านเกณฑ์ของผู้รู้และถูกกรองไม่ต่างจากสินค้า หากพบตําหนิใดๆ สินค้าชิ้นนั้นก็
ไม่อาจจะเดินทางเข้าสู่สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ได้หรือถ้าหากเข้าไปได้แล้ว ชะตากรรมของผู้

หญิงเหล่านั้นก็ต้องตกอยู่ในความทุกข์
นอกจากคติความงามของผู้หญิงแล้ว ค่านิยมที่สังคมไทยให้ความสำคัญคือ
คือ พรมจารีของผู้หญิงซึ่งเป็นความงามที่มาจากความประพฤติกิริยามารยาท
พ ร ห ม จ า รี แ ล ะ ก า ร รั ก น ว ล ส ง ว น ตั ว เ ป็ น สิ่ ง ที่ ผู้ ห ญิ ง ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง เ ค ร่ ง ค รั ด

ใ น ข ณ ะ ที่ เ พ ศ ช า ย ไ ม่ ต้ อ ง ใ ห้ ค ว า ม สำ คั ญ กั บ เ รื่ อ ง เ ห ล่ า นี้

6

วรรณคดีเรื่องไตรภูมิพระร่วงนั้นมีอิทธิพล ไตรภูมิพระร่วง มีอิทธิพลส่งเสริมความ
ต่อชาวไทยในสมัยสุโขทัยเป็นอย่างมาก เชื่อในหลักธรรมคําสอนของพุ ทธศาสนา
มีอิทธิพลต่อแนวคิดและมุมมองของผู้คน ประกอบกับค่านิยม และจารีตประเพณี

ทำให้เลื่อมใสในพุ ทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาหลัก ของสังคมในสมัยสุโขทัย สิ่งเหล่านั้น
ของชาวสยามแต่โบราณ เป็นรากฐานของวิถี ส่วนหนึ่งกลายเป็นคำสอนและกลายเป็น
ชีวิต ความเชื่อ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่างๆ
ของสังคมไทย อีกทั้งยังมีอิทธิพลต่อค่านิยม หลักปฏิบัติที่ถูกนำไปใช้กับเพศหญิง
เพี ยงฝ่ายเดียว หลักบุญกรรมถูกนำมา
ที่มีต่อผู้หญิงและผู้ชายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้
ผู้ชายได้รับความสำคัญในทางศาสนามากกว่า ประยุกต์ใช้ทำให้เกิดความไม่เท่าเทียม
ผู้หญิง ดังเช่น ความเชื่อในเรื่องการสร้างผล ทางเพศในสังคม บางคนเชื่อว่าผู้หญิง
บุญที่ยิ่งใหญ่ให้แก่บิดามารดาของลูกชาย มีคุณธรรมน้อยกว่าชายและการเกิดเป็น
ในขณะที่ลูกสาวไม่มีโอกาสในทางศาสนาที่จะ หญิงเพราะสร้างกรรมดีมาน้อย ถึงแม้
ตอบแทนบิดามารดาได้ เช่นนี้สำหรับผู้หญิง ศาสนาพุ ทธจะเปิดกว้างแต่ก็มีความเป็น
การจะสร้างบุญได้ก็ด้วยการให้การสนับสนุน
ทางศาสนาเป็นอุบาสิกา แต่ไม่สามารถเข้าร่วม ปิตาธิปไตยสูง พระสงฆ์ไม่ได้ใช้หลัก
คำสอนเพื่ อส่งเสริมความเสมอภาค
เป็นอยู่ในสถาบันศาสนาได้ การมีโอกาสได้ ทางเพศ บางครั้งหลักศาสนาก็ถูกนำ
บวชของลูกชายไม่เพี ยงแต่สร้างบุญกุศล มาตีความใหม่จนกลายเป็นเครื่องมือ
ตามความเชื่อในเรื่องบุญกรรมเท่านั้น แต่ยัง ในการกดขี่เพศหญิง นอกจากนี้หลักบุญ
มีความหมายในทางสังคมคือ การมีโอกาส กรรมยังส่งผลต่อการให้คุณค่ากับภาพ
ศึกษาเล่าเรียนวิชาความรู้ ในวิถีชีวิตการบวช ลักษณ์ภายนอกโดยเฉพาะการอธิบาย
ถือว่าเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่านของ ความสวยงามของร่างกายหรือรูปสมบัติ
ชีวิตผู้ที่ผ่านการบวช เมื่อสึกออกมามักจะได้ ว่าเป็นผลจากการสั่งสมบุญไว้ในอดีต
รับการยกช่องและเคารพจากคนในชุมชนใน สะท้อนให้เห็นปิตาธิปไตยในสังคมไทย
ฐานะที่เป็นผู้รู้ในการประกอบพิ ธีทางศาสนา สมัยสุโขทัยได้เป็นอย่างดี และไตรภูมิ
พระร่วงนั้นมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์
บางอย่างนอกจากพระสงฆ์แล้วมีการ วรรณคดีในไทยเป็นอย่างมาก ซึ่งส่ง
อนุญาตให้ฆราวาสผู้ชายเท่านั้นที่สามารถมี เสริมให้เกิดการกล่อมเกลา ผลิตซ้ำและ
ถ่ายทอดแนวคิดปิตาธิปไตยนี้ไปสู่ผู้คน
ส่วนร่วมหรืออยู่ในพื้ นที่สำคัญของการ ในสังคมอย่างต่อเนื่องและแนบเนียน
ประกอบพิ ธีกรรมได้และการอยู่ในสมณเพศ
นั้นอยู่ในฐานะที่ได้รับการยกช่องและเคารพ
จากคนในสังคมฐานะของผู้ชายในทางศาสนา
จึงได้รับการยกช่องและยอมรับอย่างเป็น

ทางการมากกว่าผู้หญิง การมีอำนาจทาง
ศาสนาของผู้ชายเป็นสิ่งที่เสริมอำนาจทาง

โลกของผู้ชาย ทำให้ผู้ชายมีอิทธิพลใน
ครอบครัวด้วย

7

8

ปิตาธิปไตย ซึ่งในเรื่องลิลิตพระลอนี้ตัวพระลอไม่ได้
ในวรรณคดี ต่างจากการนำเสนอรูปแบบเดิมๆมากนัก
แต่ในด้านของพระเพื่ อน พระแพงนั้นถูก
สมัยอยุธยา นำเสนอออกมาในรูปแบบของหญิงที่ต่าง
จากขนบเดิมๆ ว่าผู้หญิงต้องเรียบร้อย
เรื่องที่นำมายกตัวอย่างคือลิลิตพระลอ
ประเด็นปิตาธิปไตยที่พบในเรื่องมักเป็นสิ่งที่ อยู่กับเย้าเฝ้ากับเรือนแต่ถึงพระเพื่ อน
พบเจอได้อีกมากมายในนิทานหรือวรรณกร พระแพงในเรื่องลิลิตพระลอนั้นจะถูกนำ
รมอื่นๆ นั่นก็คือเรื่องที่ตัวละครผู้ชายมักถูก เสนอในด้านที่แปลกหรือแตกต่างไปจาก
แต่งและถูกนำเสนอออกมาว่าความเป็นชาย
เดิมแต่อย่างไรสุดท้ายตัวละครหญิง
คือความเข้มแข็ง แข็งแกร่ง คือการต้อง เหล่านี้ล้วนเป็นตัวร้ายที่สร้างความเดือด
เป็นผู้กระทำหรือผู้นำและสุดท้ายมักล้วน ร้อนให้ฝ่ายตัวละครชายอยู่ดี และปิตาธิป
หน้าตาดีซึ่งแตกต่างจากตัวละครฝ่ายหญิง ไตยที่จะยกตัวอย่างในวันนี้คือเรื่องการที่
ที่ส่วนมากล้วนถูกแต่งและถูกนำเสนอออก ผู้ชายนั้นสามารถมีภรรยาได้หลายคนและ
มาในรูปแบบของผู้ถูกกระทำ ไม่มีสิทธิ์มี ดูจะไม่ใช่เรื่องที่ผิด ซึ่งจะเห็นได้จากตัว
บทของลิลิตพระลอที่ทำให้ผู้อ่านรู้อยู่แล้ว
เสียงในชีวิตตัวเองมากเท่าไหร่นัก ว่าพระลอมีพระมเหสีอยู่ก่อนแล้วที่จะไป

พบกับพระเพื่ อน พระแพง ความว่า

เมื่อนั้นไท้แมนสรวง พระยาหลวง
ผู้มีศักดิ์ ให้ไปกล่าวนางลักษณวดี
นางมีศรีสวัสดิ์ลออ ให้แก่พระลอดิลก
ยกเปนอัคมเหษี มีบริพารพระสนม
ถ้วนทุกกรมกำนัล ประกอบสรรพ

สมบูรณ์ จึ่งนเรนทร์สูรราชบิดา
สวรรคาไลยแล้วเสร็จ พระลอเสด็จ
เสวยราชย์ โฉมอภิลาสสระสม ดินฟ้า

ชมบรู้แล้ว โฉมพระลอเลิศแก้ว
กว่าท้าวแดนดิน แลนา ฯ เป็นต้น

และนี่เป็นประเด็นของชายเป็นใหญ่
ที่สะท้อนออกมาผ่านวรรณกรรมในสมัย

อยุธยา ที่สามารถมองเห็นค่านิยม
ขนบธรรมเนียม และประเพณีต่างๆ

ที่มีในยุคนั้นๆ ได้

9

บทปิกบมตีาเากาชรท่ธาทนถิขีรปแั่คคมกเอีลไกปาเรตรงดพะ้าลออีีเยผร่หมูยยบื้ยบ่มหวอนงคัทวาญีงพม่แแรกตชีิัใโ้ลปวคองนนดอู่ักกใลคถใตกงหยึนัผา้งวงูวเคยร้วรเหาใวขีนเวกนัรมยืขญ่ยอา้อรตเรนิาูมอรัง้ณืงเรงั่วกอัรสนผ็ืบดูอ่กเอค้ำง้ส็หพรวยสืคงดขั่่มาญั่ยีอางญกอชสิคงคนสงกงามวผำกวัรูอมกัา้ยรไหาบบรนปาก้ามรญ็าผักรตปูตอแคนิุ้่ตชท้อฏตองีนนก่ิ่ากสกกบใกโชุยาัันเกิดนรเตลปนมรวิั็สเมืบหทนิราอครีืน่ืากอลกถเรนอเััหูทกนชณงนก่ยรมกวืนจ์สป่ี่ิตกคอ่าหาเางลดแราอขดกูนิทีกร้แลีนมอแเ่าทผรฝตะืทูงตตั่ี้่ำคอ้ก่่หงงดรนองางูลญมะงแดอางบิขาาหาุลาหางยรบนนุจาน่ปวนไเชสรัจปดแ้ัรงเส็้างูพะลนนเเ่งมไร้ยรคุมว่ีวน็รนขาย่่ิบมุาทาไกบันนดะ้สัปคงิก้สตัแ่ืิรงกิู่อส้วงสผิจ่ท้นาีตาะน่ถ่มูาีกงๆ ปิต าธิปไตยใน

สมั

รัตนโก
ตอน

บทบาทของผู้หญิง
ในฐานะภรรยา

ผู้หญิงเปรียบเสมือนสมบัติของผู้ชาย เช่น การมีภรรยา
พระราชทาน สะท้อนให้เห็นว่า ผู้หญิงเปรียบเสมือนกับ

สิ่งของ เมื่อปฏิบัติดีปฏิบัติถูกใจชนชั้นผู้ปกครอง
ก็จะได้รับภรรยาพระราชทานเป็นรางวัล

ผู้หญิงจะต้องปฏิบัติหน้าที่ในการเป็นภรรยาให้ดีอย่างไม่ขาด
ตกบกพร่อง ดังบทประพั นธ์ที่นางศรีประจันสอนนางพิ ม ว่า

10

ร้อยชั่งจงฟังคำมารดา นี่คู่เคยของเจ้ามาแต่ก่อนแล้ว
ร้อยคนพั นคนไม่ดลใจ จำเพาะเจาะได้เจ้าพลายแก้ว
ครั้นเติบใหญ่จะไปเสียจากอก แม่วิตกอยู่ด้วยเจ้าจะเลี้ยงผัว
ฉวยขุกคำทำผิดแม่คิดกลัว อย่าทำชั่วชั้นเชิงให้ชายชัง
เนื้อเย็นจะเป็นซึ่งแม่เรือน ทำให้เหมือนแม่สอนมาแต่หลัง
เข้านอกออกในให้ระวัง ลุกนั่งนบนอบแก่สามี
อย่าหึงหวงจ้วงจาบประจานเจิ่น อย่าก่อเกินก่อนผัวไม่พอที่
จงเป็นศรีสวัสดิ์ทุกเวลา
นวรรณแม่เลี้ยงมาหวังจะให้ดี

มัย คดี

กสินทร์
นต้น

11

นอกจากนั้นนางอัปสรมารดาของนางสร้อยฟ้า ได้สอน
ลูกสาวถึงหน้าที่ของภรรยา ซึ่งแม้ว่านางสร้อยฟ้าเดิมที

จะมีสถานภาพทางสังคมสูงกว่าจมื่นไวยผู้เป็นสามี
ก็ไม่ได้ต่างจากที่นางศรีประจันสอนนางพิ มว่า

ธรรมดาสตรีที่มีผัว ต้องเกรงยำจำกลัวผัวข่มเหง
เพราะถ้าผัวตัวนั้นยังคุ้มเกรง ถึงคนอื่นครื้นเครงมิเป็นไร
ถ้าผัวทิ้งคนเดียวเปลี่ยวอนาถ เหมือนสิ้นชาติสิ้นเชื้อที่เนื้อไข
หญิงที่ผัวทิ้งขว้างห่างเหไป จะเข้าไหนเขากระหยิ่มยิ้มเยาะ
ถึงจะหาลูกผัวแก้ตัวใหม่ ก็ยากนักจักได้ที่มั่นเหมาะ
ด้วยสิ้นพรหมจารีที่จำเพราะ เหมือนไส้กลวงด้วงเจาะรังเกียจกัน
ด้วยเหตุนี้มีผัวอย่าประมาท ถ้าพลั้งพลาดเพี ยงชีวาจะอาสัญ
ต้องเอาใจสามีทุกวี่วัน ให้ผัวนั้นเมตตาอย่าจืดจาง
จงเคารพนบนอบต่อสามี กิริยาพาทีอย่าอางขนาง
จะยั่วยวนหรือว่าที่มีระคาง ให้ไว้ว่างคนผู้อยู่ที่ลับ
สังเกตดูอย่างไรชอบใจผัว สิ่งสำคัญนั้นก็ตัวของผู้หญิง
ถ้ารู้จักประกอบให้ชอบลิ้น ถึงแก่สิ้นเพราพริ้งไม่ทิ้งได้

12 ทั้งหมดแสดงให้เห็นว่า

สามีคือที่พึ่ งของภรรยา
ผู้หญิงไม่ควรแต่งงานหลายครั้ง

ต้องให้ความเคารพต่อสามี
กระทำในสิ่งที่สามีชอบ

ซึ่งบทบาทในการเป็นสามีภรรยากันนั้น
สามีมีอำนาจทุกอย่างอยู่เหนือภรรยา

13

บทบาทของผู้หญิง
ในฐานะลูกสาว

โดยส่วนมากผู้หญิงในวรรณคดีไทยก็ยังสามารถเลือกคู่ครอง
ให้กับตนเองได้อยู่บ้าง แต่ผู้หญิงก็ยังถูกคาดหวังจากผู้เป็นแม่
ว่าลูกสาวของตนจะได้ออกเรือน ซึ่งตัวละครหญิงในเรื่อง เช่น

วันทอง บัวคลี่ ก็ดำเนินชีวิตตามคุณสมบัตินี้ ดังบทกลอนว่า

ถ้ารูปชั่วตัวเป็นมะเร็งเรื้อน ไไมลมู่่เกพทีัไยกม้มทห้เอรพืือเ่ลอจยนะสทเีุห่กช็นไาปจยะกจจ่อะนหนซมึห่ง่าายคมตนาขมอ
ถอ้าดรูเปปดรีี้มยีเวงกินินเขหาวชามนปตรรอะการใจ

จซึ่ะงแแนกลลตกูอั่แกละบงกยมอสั้วงจง่วนาา่าาาวสบนนักลีิ่ให้งูดดแหนก้ี้รส้สาืแวลสอมูอดยตกาอ่านวงงสำรตใจในดง้นาหอะว้าาาเเเงรจนกจลืห่็ือ็งทะกยอนัอังาาบกงวนมง่อุคเคาูญทกปย่ผันคู้่้งาราหีทารรยีชร่ตญิอูเตงปบมิใงืนหสเงอุ้ขสงหแกทงีอมา่มตกืผกมู่ง่อา้งอชาทยตนัร้หนางปสนปยรหทือ่มไกออาดรงบ้คัมไยัพมไตรกา่วิ็ยก้อขยแ์เัพงอืลง่ตงอะต่ย้บผาัอิงงดลงมปาๆีขึกม้รนาาะอรโรยยยดู่ชกาน์

14

หน้าที่ของมารดาในเรื่องนี้คือการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนลูก

แม้ว่าภรรยาจะต้องพึ่ งสามี แต่เมื่อถึงคราวคับขันภรรยา

ก็สามารถที่จะเป็นผู้นำครอบครัวได้เช่นกัน เช่นที่ขุนไกร

สั่งเสียนางทองประศรีก่อนออกไปราชการว่า

ยถอัุ้งาตหเดสา่็จึากกงหวอ์เ่่สาหอผอลนิีนดยนวพวอิชหลนัา้นงนบ้ั่าจงรมงรราดะสสัวั่่ัางงงมสีทไวออ้ นงประศรี ลเอูใจก้หยา้่ขลาเูอลสีก้งยลนัีเง้ดสรืพตาบัเลดวท่างรายนอศี้์แเนพอกใ้างหว้ใศหจไ์วในพ้ส่ใ่าหล้ยจาหยงนไดีปี

สซึผ่มงูั้หยนญนาั้ิงนงก็ไแไดดล้้ะเดมลัี้งายรทงี่ดนดาูาใทงีห่้เไลปปู็กนสูไ่มขด่้าอรยันบก็ากสงาาพรมิศมาึกรใหถษ้พทาตำลหาามยน้คแา่ทากี่้นสวูิ่ยขมอ

บทบาทของผู้หญิง
ในฐานะมารดา

15

ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในการที่ผู้หญิงเริ่มเป็นผู้นำครอบครัว

มีความคล้ายคลึงกับสมัยปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตาม
วรรณคดีขุนช้างขุนแผนก็ยังไม่ได้หลุดพ้ นจากสังคม
ปิตาธิปไตย ไม่เพี ยงแต่วรรณคดีไทยเท่านั้นวรรณคดี
แปลอย่างเช่นเรื่องสามก๊ก ก็มีการกดทับผู้หญิงด้วย
สังคมปิตาธิปไตยเช่นกัน ซึ่งเป็นการสั่งสอนผู้หญิง

ว่าผู้หญิงนั้นไม่ควรจะมายุ่งเกี่ยวกับการเมือง
มิเช่นนั้นจะนำไปสู่การสูญเสีย แม้ว่าจะมีการนำผู้หญิง

มาใช้ในบทบาทของการต่อสู้ โดยใช้ความงาม หรือ
มารยาหญิงมาใช้หลอกล่อให้ขุนนางตกหลุมพราง แต่ก็
สะท้อนว่าความสามารถของผู้หญิงมีเพี ยงแค่ความงาม

หรือมารยาเพี ยงเท่านั้นหรือ แต่ตัวละครผู้ชายกลับ
สะท้อนถึงสติปัญญา การวางแผนต่าง ๆ จึงมองว่าแม้

ผู้หญิงจะมีบทบาทในการช่วยเหลือ แต่ยังไม่หลุดพ้ น
จากสังคมปิตาธิปไตย

16

17

18

ปิตาธิปไตยในวรรณคดี

สมัยรัตนโกสินทร์
ตอนกลาง

ปิตาธิปไตยในหัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่มเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ”

เพื่ อพระราชทานพิ มพ์ ลงในหนังสือพิ มพ์ “ดุสิตสมิต”
เมื่อพ.ศ. 2464 ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของ

จดหมาย มีจำนวน 18 ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏ
ตามจดหมายทั้งหมด 1 ปี 7 เดือน

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสร้างตัวละคร
เอกขึ้นโดยสมมติให้มีตัวตนจริง คือ “ประพั นธ์ ประยูรสิริ”
เป็นผู้ถ่ายทอดความนึกคิดและสภาพของสังคมของไทยผ่าน
มุมมองของ “ชายหนุ่ม” (นักเรียนนอก) ในรูปแบบจดหมาย
ที่ส่งถึงเพื่ อนชื่อ “ประเสริฐ สุวัฒน์” โดยในเนื้อเรื่องมีการ
กล่าวถึงเรื่องราวต่าง ๆ ที่เขาได้พบเจอหลังจากกลับมาที่
ประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการหางานทำ การใช้ชีวิต และการมี
คู่ครอง ซึ่งนอกจากจะให้ความบันเทิงและข้อคิดแล้ว
ยังมีเรื่องของปิตาธิปไตยที่ปรากฏในเรื่องอีกด้วย

19

การที่พ่ อของประพั นธ์ไม่ยอมให้เขาทำอาชีพค้าขาย การที่พ่ อของประพั นธ์หาคู่สมรสมาให้
หลังจากที่พาไปฝากงานให้เป็นข้าราชการแล้วพบว่า ประพั นธ์โดยไม่ถามความสมัครใจหรือความ
ไม่มีตำแหน่งที่ว่างแล้ว ถือว่าเป็นปิตาธิปไตยเพราะ เต็มใจของประพั นธ์ก่อน ถือว่าเป็นปิตาธิป
เป็นการไปจำกัดสิทธิในการตัดสินใจเลือกอาชีพของ ไตยเพราะเป็นการบังคับและจำกัดสิทธิของ
ประพั นธ์ใช้อำนาจของการเป็นพ่ อในการบังคับลูก
ประพั นธ์ในการเลือกคู่ครองของตนเอง
“ ฉันได้บอกคุณพ่อว่า ฉันจะลองประกอบทางค้าขาย
ดูบ้าง แต่ท่านไม่ยอมที่จะให้ฉันทำเช่นนั้น ท่านว่าค้าขายไม่มี “ พอฉันกลับถึงบ้านได้สัก 7 วัน คุณพ่อก็
บอกว่าได้หาเมียไว้ให้คนหนึ่งแล้ว! ฉันหมายว่า
หนทางที่จะเป็นใหญ่เป็นโตได้ และถึงจะทำมาค้าขายดี ท่านพู ดเล่นจึงหัวเราะ แต่พู ดกันไปพู ดมาจึง
อย่างไร ๆ ก็จะเป็นอะไรไม่ได้ นอกจากขุนนางกรมท่าซ้าย
ทั้งกว่าจะได้เป็นหลวงก็อีกหลายปี แล้วอาจจะเป็นหลวง รู้ว่าท่านพู ดจริงๆ ไม่ใช่พู ดเล่น ”
ตั้งแต่อายุ 30 เมื่ออายุ 45 จึงได้เป็นพระ แล้วก็ยังเป็นพระ
(หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 4)
อยู่จนทุกวันนี้ และไม่เห็นทางที่จะได้เป็นพระยาด้วย ”

(หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 4)

20 การที่ประพั นธ์มองการแต่งกายและลักษณะของ
ผู้หญิงไทยว่าไม่ดีเท่าผู้หญิงฝรั่ง ถือว่าเป็น

ปิตาธิปไตย เพราะ เป็นการใช้ความคิดของผู้ชาย
ไปตัดสินว่าผู้หญิงควรแต่งตัวอย่างไร ควรทำ
ทรงผมอย่างไร โดยไม่สนใจความรู้สึกของผู้หญิง

“ ในเวลานี้เห็นผู้หญิงไทยไว้ผมยาวมากกว่าเมื่อก่อน
เราไปเมืองนอกเป็นอันมาก คนไว้ผมสั้นเกือบจะ

เหลือแต่คนแก่กับไพร่ๆ เท่านั้นแล้ว ข้อนี้เป็นข้อควร
ยินดีอยู่ เพราะการไว้ผมยาวทำให้ผู้หญิงสวยขึ้นมาก

เป็นแน่นอน นี่ก็ยังคงมีอีกชั้น 1 ที่จะเดินขึ้นต่อไป
คือการนุ่งผ้าให้ผิดกับผู้ชาย ”

(หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 4)

21

การที่ประพั นธ์มองว่าผู้หญิงไทยไม่ดีเท่าผู้หญิง การที่ประพั นธ์เหมารวมนิสัยของผู้หญิงคิดว่า
ฝรั่ง ถือว่าเป็นปิตาธิปไตย เพราะเป็นการตัดสิน ผู้หญิงต้องมีนิสัยอย่างนี้ถือเป็นปิตาธิปไตย
เพราะเป็นการเหมารวมว่าผู้หญิงมีนิสัยที่เก็บ
ผู้หญิงผ่านมุมมองของผู้ชายแบบเหมารวม ความลับๆ ไม่อยู่ ชอบนินทา ซึ่งจริง ๆ แล้ว
ว่าควรเป็นอย่างไร ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้หญิงก็ได้ที่มีนิสัยเช่นนั้น

“ ทั้งกิริยาก็งามยวนใจ พู ดก็ดีและเสียงเพราะ “ แต่เรื่องชนิดนี้ปิดให้ยากที่สุด เพราะมันเป็น
ราวกับเสียงดนตรีและที่ดีที่สุดคือหล่อนไม่ทำตัว เรื่องสำหรับผู้หญิงชอบรู้ชอบเล่าสู่กันฟัง
คนหนึ่งเล่าให้เพื่ อนรัก สั่งว่าอย่าพู ดไปนะ
เป็นหอยจุ๊บแจงอย่างผู้หญิงไทยๆ โดยมาก แล้วเพื่ อคนนั้นก็ไปเล่าให้เพื่ อนรักของตัว
พู ดกันสั้นๆ หล่อนคล้ายผู้หญิงฝรั่งมากกว่าผู้ อีกหนึ่งคน และต่อๆ กันไปเช่นนี้เป็นแถวไป
หญิงไทย และนับว่ามี "เอดูเคชั่น” ดีพอใช้ เขียน และความลับออกจากปากผู้หญิงคนเดียวอาจ
หนังสือไทยเก่ง อ่านและพู ดภาษาอังกฤษได้บ้าง ที่จะรู้ถึง 20 คน ภายในอาทิตย์เดียว ฉะนั้น
เมื่อ มีผู้หญิงที่มี “อินเทอเรสต์” อย่างเดียวกัน
เต้นรำเป็น และแต่งตัวดีรู้จักใช้เครื่องเพชร อยู่ 7 คน ก็ขอให้นึกดูเถิดว่าความลับนั้น
แต่พอควร ไม่รุงรังเป็นต้นคริสมาสต์มาส ” จะแพร่หลายได้มากและ รวดเร็วปานใด ”

(หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 6) (หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 13)

22

การที่มีคนบอกกับประพั นธ์ว่าไม่ควรหย่ากับ การที่ผู้ชายคิดว่าผู้ชายที่มีความเจ้าชู้เป็นเสือ
แม่อุไรแต่ควรหาภรรยาใหม่อีกคนเข้ามาแทน ผู้หญิงมักจะภรรยาได้ง่ายกว่าผู้ชายที่ประพฤติ
เพราะจะเป็นการทำให้แม่อุไรขายหน้า ถือว่าเป็น ตัวดี และคิดว่าผู้หญิงจะยอมมาคบค้าสมาคม

ปิตาธิปไตย เพราะเป็นการบอกว่าผู้ชาย ด้วย ถือเป็นปิตาธิปไตย เพราะเป็นการเหมา
มีทางเลือกในการมีคู่ครอง รวมและคิดว่าผู้หญิงต้องพึ่ งพาผู้ชายอย่าง
เดียวถึงขนาดที่ยอมเป็นภรรยาของผู้ชาย
“ มีบางคนออกความคิดเห็นกับฉันว่าไม่ควร
จะหย่าให้ขายหน้าเขา เมื่อไม่พอใจเมียที่แต่ง ที่มีภรรยาหลายคน
กันแล้วก็ควรหาเมียอีกคนหนึ่งที่พอใจอยู่กิน
“ แต่ความจริงมันมีอยู่ว่า ผู้ชายยิ่งมีชื่อเสียง
ด้วยกันหาความสุขเสียก็แล้วกัน เป็นนักเลงผู้หญิงก็มักจะยิ่งหาเมียง่าย
แต่ฉันเถียงว่าถ้าทำเช่นนั้นก็เท่ากับลวงโลก ซึ่งฉันแลไม่เห็นเลยว่าทำไมจึ่งเป็นเช่นนั้น”
กลับได้รับคำตอบว่าคนอื่นๆ เขาทำกันถมไป ”
“ ใครมีเมียคนเดียวยออกจะถูกหาว่าโง่ด้วยซ้ำ ”
(หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 13)
(หัวใจชายหนุ่ม ฉบับที่ 15)

23

จะเห็นได้ว่าบทประพั นธ์เรื่องหัวใจชายหนุ่มนั้นนอกจาก
จะเป็นบทประพั นธ์ที่ให้ความบันเทิงแล้วยังมีแนวคิดและ
ค่านิยมต่างๆ ที่ปรากฏในเรื่องมีการยังให้ข้อคิดที่ดี แต่ยัง

มีปิตาธิปไตยในเรื่องที่สะท้อนให้เห็นความคิดที่สังคม
กำหนดและตีกรอบการใช้ชีวิตของคนในยุคนั้นอย่างไร

ซึ่งในสมัยนี้เองก็ยังคงมีแนวคิดปิตาธิปไตยนี้ที่คอย
ควบคุมและกำหนดแนวทางการใช้ชีวิตของคนในสังคมอยู่
ซึ่งผู้จัดทำเห็นว่าแนวคิดนี้ไม่ว่าในยุคสมัยใดก็ควรหมดไป

ถึงแม้ในสมัยก่อนจะยังไม่มีการตระหนักเรื่องนี้มากนัก
แต่ทุกวันนี้เรามีสื่อและเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
กว่าเมื่อก่อนมาก การเรียนรู้เรื่องนี้ไว้และไม่ส่งต่อแนวคิด
นี้ไปสู่คนรุ่นหลังจึงเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่ง เพื่ อให้
ทุกคนมีสิทธิและอิสระในการใช้ชีวิตของตนเอง แต่การ
มีอิสระนั้นต้องอยู่ในขอบเขตและไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน

24

25

สรุป

งานวรรณกรรมเปรียบเสมือนกับภาพจำลอง

ชีวิตผู้คนในสังคมแต่ละยุคสมัย บทบาทของ

สตรีเพศในงานวรรณกรรมเป็นเสมือนกระจก

สะท้อนบทบาทของสตรีเพศในชีวิตจริง

วรรณกรรมไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน

ส่วนใหญ่มีเนื้อหาเกี่ยวกับชนชั้นสูง พุ ทธศาสนา

และเรื่องราวที่ถ่ายทอดในมุมมองของบุรุษเพศ

ทั้งการยกย่องสถาบันพระมหากษัตริย์และ ในปัจจุบันพื้ นที่ในงานวรรณกรรมเปิดโอกาส
ให้ผู้หญิงแสดงศักยภาพ ความรู้สึกนึกคิด
วีรบุรุษ การเดินทางของบุคคลสำคัญและ ของตัวเอง ทำให้ผู้หญิงมีตัวตนและมีบทบาท
ในสังคมมากขึ้น และยังแสดงให้เห็นถึงความ
บุรุษเพศ คำสอนในศาสนาพุ ทธและความดีของ สัมพั นธ์เชิงอำนาจของชายหญิงในสังคมสมัย
ใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถึงแม้ยุคสมัยจะมี
ตัวละครชาย พระราชพิ ธีและเครื่องเสวย รวมถึง การเปลี่ยนแปลงไป มีการเปิดกว้างรับฟัง
ความคิดเห็นอย่างเสรี แต่ยังคงพบสังคมแบบ
เรื่องราวของชนชั้นปกครองและตัวละครชาย ปิตาธิปไตยในแทบทุกหน่วยงานและทุกวงการ
ยังคงมีการทำซ้ำผลงานในอดีต ยังมีการลด
เป็นผู้ดำเนินเรื่อง วรรณคดีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ คุณค่าข​ องผู้หญิงและเพศที่สาม การศึกษา
ประเด็นปิตาธิปไตยในงานวรรณกรรมนั้นมีอยู่
สตรีเพศและสามัญชนเป็นผู้แต่งมีจำนวนน้อย
มากมายและคาดว่าน่าจะเพิ่ มมากขึ้นอีก
งานวรรณกรรมจำนวนมากปรากฏชีวิตของ ทางกลุ่มผู้จัดทำหวังว่าจะมีผู้มองเห็นปัญหา
ของสังคมแบบปิตาธิปไตยมากขึ้นและหวังเป็น
เพศหญิงเป็นชีวิตที่อาภัพและไม่มีความเท่าเทียม
อย่างยิ่งว่าในอนาคตเ​ราจะมีสังคมแบบ
เสมอเพศชาย โดยปรากฏการกดขี่ ลิดรอนสิทธิ เท่าเทียมกันได้อย่างสมบูรณ์

และจำกัดเสรีภาพในการใช้ชีวิตผ่านโครงสร้าง

ทางสังคม และแทรกซึมไปสู่วิถีชีวิตของผู้คนจน

เกิดเป็นความเคยชิน ยึดถือเป็นธรรมเนียง

ปฏิบัติ จนกลายเป็นค่านิยมที่ยึดมั่นถือมั่นมา

โดยตลอด งานวรรณกรรมเหล่านี้สะท้อน

ความคิดและทัศนคดติของคนไทยในช่วงเวลา

26 นั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี

รายการ

อ้างอิง

เกรียงไกร กองเส็ง. (2559). “ร่างกายภายใต้บงการ” การเปลี่ยนแปลง
ความหมาย “ความงาม” บนเรือนร่างสตรีไทย-จีนตามวิถีสมัยใหม่.
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 5(2), 235-249.

พลากร เจียมธีระนาถ. (2554). วาทกรรมชายเป็นใหญ่ในภาพยนตร์ไทย
ที่ให้ความสำคัญแก่สตรี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระเมษชัย ใจสำราญ และประเทือง ม่วงอ่อน. (2560). แนวคิดปิตาธิปไตย
ในพระวินัยปิฎก. วารสารการบริหารปกครอง, 6(2), 533-558.

ภาสกร เกิดอ่อน, ระวีวรรณ อิทรประพันธ์, ฟองจันทร์ สุขยิ่ง, กัลยา สหชาติโกสีย์,
ศานติ ภักดีคำ และพอพล สุกใส. (2555). ภาษาไทย วรรณคดีและ
วรรณกรรม ม.๔. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อจท.

มาลินี ดิลกวณิช. (2532). บทบาทของผู้หญิงในสามก๊ก : วิเคราะห์เชิงวรรณกรรม.
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา, 2 (2),43-64.

ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2561). วรรณคดีวิจักษ์. กรุงเทพฯ : โรงพิ มพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.

อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์. (2544). สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงและผู้ชายไทย
ในอดีต : ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยาบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมาชิก

นางสาวปุณณิกา ชัยลิ้นฟ้า 633080496-6

นางสาวนิภาภรณ์ แพงจำปา 633080695-0

นางสาวณิชมน คนชุม 633080698-4

นางสาวดุสิตา พิ สุทธิ์วิริยานันท์ 633080700-3

นางสาวอารียา อวนอ่อน 633080782-5


Click to View FlipBook Version