The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mussalimah, 2021-11-05 03:31:14

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้
กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

กลมุ่ พฒั นาหลกั สตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
15 สิงหาคม 2559

สรุปตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ช้ัน ตวั ช้วี ัดทงั้ หมด ตอ้ งรู้ ควรรู้ หมายเหตุ
ป.๑ 18 10 8
ป.๒ 25 12 13
ป.๓ 29 12 17
ป.๔ 29 15 14
ป.๕ 26 13 13
ป.๖ 27 17 10
ม.๑ 27 15 12
ม.๒ 27 17 10
ม.๓ 32 19 13
ม.๔ - ๖ 39 27 12
รวม 279 157 122

ข้อมลู ณ วนั ท่ี 15 สิงหาคม 2559

ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางตอ้ งรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ชน้ั ที่ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
ป.๑ 1 ศ ๑.๑ ป.๑/๑ 
๑. อภิปรายเกย่ี วกับรูปร่าง ลกั ษณะ  รูปรา่ ง ลักษณะ และขนาดของสิ่งต่าง ๆ
2 ศ ๑.๑ ป.๑/๒ และขนาดของสิง่ ต่าง ๆ รอบตัว 
3 ศ ๑.๑ ป.๑/๓ รอบตัวในธรรมชาติและส่ิงทม่ี นุษยส์ รา้ ง 
ในธรรมชาติและส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้น ข้นึ แสดงความรูส้ ึกทมี่ ีต่อธรรมชาตแิ ละ
4 ศ ๑.๑ ป.๑/๔ ๒. บอกความรูส้ กึ ทม่ี ตี ่อธรรมชาติ 
5 ศ ๑.๑ ป.๑/๕ และส่ิงแวดล้อมรอบตัว ส่ิงแวดล้อมรอบตัว 
6 ศ ๑.๒ ป.๑/๑ 
7 ศ 2.1 ป.1/1 ๓. มที กั ษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ  การใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ เช่น ดนิ เหนยี ว 
อปุ กรณ์สร้างงานทัศนศลิ ป์ ดินนา้ มัน ดินสอ พู่กนั กระดาษ สเี ทยี น
8 ศ 2.1 ป.1/2 
9 ศ 2.1 ป.1/3 สีน้า ดินสอสี สร้างงานทัศนศิลป์ 
10 ศ 2.1 ป.1/4
๔. สรา้ งงานทัศนศลิ ป์โดยการทดลองใชส้ ี  การทดลองสดี ว้ ยการใชส้ นี ้า สโี ปสเตอร์ 
11 ศ 2.1 ป.1/5 ดว้ ยเทคนิคง่าย ๆ
สเี ทยี นและสจี ากธรรมชาตทิ ่ีหาได้ 
12 ศ 2.2 ป.1/1 ๕. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ
13 ศ 2.2 ป.1/2 ตามความรู้สึกของตนเอง ในท้องถิ่นโดยการวาดภาพระบายสี 
ตามความรู้สกึ ของตนเอง 

๑. ระบุงานทัศนศลิ ปใ์ นชีวติ ประจา้ วนั  งานทศั นศลิ ป์ในชวี ติ ประจ้าวนั

๑. รู้ว่าส่งิ ต่าง ๆ สามารถก่อกา้ เนดิ เสียง  การก้าเนดิ ของเสียง
ท่แี ตกต่างกนั
- เสียงจากธรรมชาติ

- แหล่งก้าเนดิ ของเสียง

- สสี ันของเสยี ง

๒. บอกลักษณะของเสียงดัง - เบา  ระดับเสียงดงั -เบา (Dynamic)
และความช้า - เร็วของจงั หวะ  อตั ราความเรว็ ของจังหวะTempo

๓. ทอ่ งบทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ  การอา่ นบทกลอนประกอบจังหวะ

 การรอ้ งเพลงประกอบจงั หวะ

๔. มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมดนตรี  กจิ กรรมดนตรี
อยา่ งสนกุ สนาน - การร้องเพลง

- การเคาะจงั หวะ

๕. บอกความเกยี่ วขอ้ งของเพลง  เพลงทใี่ ช้ในชวี ติ ประจา้ วนั
ท่ใี ช้ในชีวิตประจ้าวัน - เพลงเด็ก

- บทเพลงประกอบการละเล่น

- เพลงสา้ คญั (เพลงชาตไิ ทย

เพลงสรรเสริญพระบารมี)

๑. เลา่ ถึงเพลงในท้องถ่นิ  ทม่ี าของบทเพลงในทอ้ งถิ่น

๒. ระบสุ ่งิ ท่ีชืน่ ชอบในดนตรีท้องถิ่น  ความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถ่นิ

ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ช้นั ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๒
ตอ้ งรู้ ควรรู้
ป.1 14 ศ 3.1 ป.1/1 ๑. เลยี นแบบการเคล่อื นไหว  การเคลอื่ นไหวลกั ษณะต่าง ๆ 

- การเลยี นแบบธรรมชาติ 

- การเลียนแบบคน สตั ว์ สิง่ ของ 

15 ศ 3.1 ป.1/2 ๒. แสดงท่าทางงา่ ย ๆ เพ่อื สอ่ื ความหมาย  การใชภ้ าษาท่า และการประดิษฐ์ 
แทนค้าพูด ๑๐ ๘
ทา่ ประกอบเพลง

 การแสดงประกอบเพลงทเี่ กีย่ วกับ

ธรรมชาติสตั ว์

16 ศ 3.1 ป.1/3 ๓. บอกสิ่งท่ีตนเองชอบ จากการดู  การเปน็ ผู้ชมทด่ี ี
หรอื รว่ มการแสดง

17 ศ 3.2 ป.1/1 ๑. ระบุและเล่นการละเล่นของเดก็ ไทย  การละเล่นของเด็กไทย

- การเล่นของเด็กไทย

18 ศ 3.2 ป.1/2 ๒. บอกสิ่งทีต่ นเองชอบในการแสดง  การแสดงนาฏศลิ ป์
นาฏศิลป์

รวม ๑๘ ตัวชว้ี ัด

ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559



ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วดั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
ป.2 1 ศ ๑.๑ ป.๒/๑ 
๑. บรรยายรปู รา่ ง รูปทรงท่ีพบ  เสน้ สี รูปรา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ 
2 ศ ๑.๑ ป.๒/๒ ในธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม และส่ิงแวดล้อม และงานทศั นศิลป์
ประเภทตา่ ง ๆ เช่น งานวาด งานปน้ั 
3 ศ ๑.๑ ป.๒/๓ ๒. ระบุทัศนธาตุที่อยู่ในส่งิ แวดลอ้ ม และงานพมิ พ์ภาพ 
4 ศ ๑.๑ ป.๒/๔ และงานทัศนศลิ ป์ โดยเน้นเร่ืองเส้น
5 ศ ๑.๑ ป.๒/๕ สี รูปร่าง และรูปทรง 
6 ศ ๑.๑ ป.๒/๖ 
๓. สร้างงานทัศนศิลปต์ า่ ง ๆ
7 ศ ๑.๑ ป.๒/๗ 
8 ศ ๑.๑ ป.๒/๘ โดยใชท้ ัศนธาตทุ ่เี นน้ เส้น รปู รา่ ง 
9 ศ ๑.๒ ป.๒/๑ 
10 ศ ๑.๒ ป.๒/๒ ๔. มที ักษะพ้ืนฐานในการใชว้ ัสดุ  การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศลิ ป์ 

11 ศ 2.1 ป.2/1 อปุ กรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ ๓ มติ ิ 
12 ศ 2.1 ป.2/2 
13 ศ 2.1 ป.2/3 ๕. สร้างภาพปะติดโดยการตัด  ภาพปะติดจากกระดาษ 
14 ศ 2.1 ป.2/4 หรือฉีกกระดาษ
15 ศ 2.1 ป.2/5 
๖. วาดภาพเพอ่ื ถา่ ยทอดเร่ืองราว  เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศนศิลป์ 
เกย่ี วกบั ครอบครวั ของตนเอง และการวาดภาพถา่ ยทอดเร่ืองราว
และเพื่อนบา้ น

๗. เลอื กงานทัศนศิลป์ และบรรยายถงึ

สง่ิ ท่มี องเหน็ รวมถงึ เน้ือหาเรื่องราว

๘. สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์เป็นรูปแบบ  งานโครงสรา้ งเคล่ือนไหว
งานโครงสร้างเคล่ือนไหว

๑. บอกความสา้ คัญของงานทัศนศิลป์  งานทศั นศิลป์ในชวี ติ ประจ้าวนั
ท่พี บเห็นในชวี ติ ประจา้ วนั
และงานทัศนศิลป์ในท้องถนิ่
๒. อภปิ รายเกี่ยวกบั งานทัศนศิลป์

ประเภทตา่ ง ๆ ในท้องถิน่ โดยเน้นถงึ

วธิ ีการสร้างงานและวสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใช้

๑. จา้ แนกแหล่งก้าเนิดของเสียงท่ีได้ยิน  สีสนั ของเสียงเคร่ืองดนตรี

 สสี ันของเสียงมนุษย์

๒. จ้าแนกคณุ สมบตั ิของเสียงสงู - ตา้่  การจา้ แนกเสยี ง สงู - ตา้่ ดงั - เบา
ดงั - เบา ยาว - ส้ัน ของดนตรี
ยาว - สน้ั จากการฟงั

๓. เคาะจงั หวะหรอื เคลอื่ นไหวร่างกาย  การเคล่ือนไหวประกอบเนอ้ื หาในบทเพลง
ให้สอดคล้องกบั เนื้อหาของเพลง  การเลน่ เครื่องดนตรปี ระกอบจังหวะ

๔. ร้องเพลงงา่ ย ๆ ทเี่ หมาะสมกับวัย  การขบั ร้อง

๕. บอกความหมายและความสา้ คญั ของ  ความหมายและความสา้ คัญของเพลง
เพลงท่ีได้ยิน
ท่ีไดย้ ิน

- เพลงปลกุ ใจ

- เพลงสอนใจ

ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559



ช้นั ท่ี รหัสตัวชี้วดั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้

ป.2 16 ศ 2.2 ป.2/1 ๑. บอกความสมั พันธ์ของเสียงร้อง  บทเพลงในทอ้ งถ่ิน
เสียงเครือ่ งดนตรีในเพลงทอ้ งถนิ่ - ลกั ษณะของเสียงร้องในบทเพลง 
โดยใชค้ า้ งา่ ย ๆ
- ลกั ษณะของเสียงเครื่องดนตรี 

ท่ีใชใ้ นบทเพลง

17 ศ 2.2 ป.2/2 ๒. แสดงและเข้าร่วมกจิ กรรมทางดนตรี  กิจกรรมดนตรีในโอกาสพิเศษ
ในทอ้ งถน่ิ 
- ดนตรกี บั โอกาสสา้ คญั ในโรงเรียน 

- ดนตรกี บั วันส้าคญั ของชาติ

18 ศ 3.1 ป.2/1 ๑. เคล่ือนไหวขณะอยู่กับที่และเคลื่อนท่ี  การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมีรูปแบบ
19 ศ 3.1 ป.2/2 ๒. แสดงการเคลื่อนไหวทส่ี ะทอ้ น 
- การนงั่ ๑2 ๑3
อารมณ์ของตนเองอย่างอสิ ระ
- การยืน

- การเดิน

 เพลงทเี่ กี่ยวกับสงิ่ แวดลอ้ ม

20 ศ 3.1 ป.2/3 ๓. แสดงทา่ ทาง เพ่ือส่อื ความหมาย  หลกั และวิธีการปฏบิ ตั นิ าฏศิลป์
แทนค้าพดู
- การฝึกภาษาท่าสอ่ื ความหมาย

แทนอากปั กิรยิ า

- การฝึกนาฏยศัพท์ในสว่ นล้าตัว

21 ศ 3.1 ป.2/4 ๔. แสดงท่าทางประกอบจงั หวะ  การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์
อยา่ งสร้างสรรค์ ประกอบจงั หวะ

22 ศ 3.1 ป.2/5 ๕. ระบมุ ารยาทในการชมการแสดง  มารยาทในการชมการแสดง การเขา้ ชม

หรือมีส่วนร่วม

23 ศ 3.2 ป.2/1 ๑. ระบแุ ละเล่นการละเล่นพ้ืนบ้าน  การละเล่นพ้ืนบ้าน
- การละเล่นพ้นื บา้ น
24 ศ 3.2 ป.2/2 ๒. เชอื่ มโยงส่ิงท่ีพบเหน็ ในการละเลน่ - คุณคา่ ของการละเล่นพืน้ บา้ น
พืน้ บา้ นกบั สง่ิ ทีพ่ บเห็นในการ - ความภาคภมู ิใจ
ด้ารงชวี ิตของคนไทย

25 ศ 3.2 ป.2/3 ๓. ระบสุ ่งิ ทช่ี ื่นชอบและภาคภูมิใจ

ในการละเลน่ พนื้ บ้าน

รวม ๒๕ ตัวชีว้ ดั

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559



ชน้ั ที่ รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.๓ 1 ศ ๑.๑ ป.๓/๑ ๑. บรรยายรปู รา่ ง รูปทรงในธรรมชาติ  รปู ร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม 
2 ศ ๑.๑ ป.๓/๖ ส่งิ แวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์ 
และการใช้เสน้ รปู รา่ ง รูปทรง สี พื้นผวิ
๖. วาดภาพถา่ ยทอดความคิด ความรสู้ ึก ในงานทัศนศลิ ป์และวาดภาพ
จากเหตุการณ์ชวี ติ จริง โดยใชเ้ สน้ ถา่ ยทอดความคดิ ความรูส้ กึ
รปู รา่ ง รปู ทรง สี และพนื้ ผิว

3 ศ ๑.๑ ป.๓/๒ ๒. ระบุ วสั ดุ อุปกรณ์ท่ีใช้สร้างผลงาน  วสั ดุ อปุ กรณท์ ่ีใช้สรา้ งงานทศั นศิลป์ 
เม่ือชมงานทัศนศิลป์ 
ประเภทงานวาด งานปัน้ งานพิมพ์ภาพ
4 ศ ๑.๑ ป.๓/๕ ๕. มีทกั ษะพ้ืนฐาน ในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเทคนิควิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์
สรา้ งสรรค์งานปนั้

5 ศ ๑.๑ ป.๓/๗ ๗. บรรยายเหตผุ ลและวิธีการ 

ในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์

โดยเนน้ ถงึ เทคนิค และวสั ดุ อปุ กรณ์

6 ศ ๑.๑ ป.๓/๓ ๓. จา้ แนกทัศนธาตขุ องสิ่งต่าง ๆ  เสน้ สี รูปรา่ ง รปู ทรง พน้ื ผวิ ในธรรมชาติ 
ในธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม
สง่ิ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์
และงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเร่ืองเส้น

สี รปู ร่าง รูปทรง และพ้ืนผิว

7 ศ ๑.๑ ป.๓/๔ ๔. วาดภาพ ระบายสีส่ิงของรอบตัว  การวาดภาพระบายสสี งิ่ ของรอบตวั 

ด้วยสีเทยี น ดินสอสี และสีโปสเตอร์

8 ศ ๑.๑ ป.๓/๘ ๘. ระบุส่งิ ทชี่ ื่นชมและสง่ิ ท่ีควรปรับปรงุ  การแสดงความคิดเหน็ ในงานทัศนศิลป์ 
ในงานทศั นศิลป์ของตนเอง
ของตนเอง

9 ศ ๑.๑ ป.๓/๙ ๙. ระบุและจดั กลมุ่ ของภาพตามทัศนธาตุ  การจัดกลมุ่ ของภาพตามทัศนธาตุ 
ทีเ่ นน้ ในงานทัศนศิลป์น้ัน ๆ

10 ศ ๑.๑ ป.๓/๑๐ ๑๐. บรรยายลักษณะรปู รา่ ง รูปทรง  รูปรา่ ง รปู ทรง ในงานออกแบบ 
ในงานการออกแบบส่งิ ต่าง ๆ

ที่มีในบ้านและโรงเรียน

11 ศ ๑.๒ ป.๓/๑ ๑. เล่าถงึ ทีม่ าของงานทัศนศิลป์  ที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิน่ 
ในทอ้ งถิน่ วสั ดุ อุปกรณ์ และวิธีการสร้างงาน 
ทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
12 ศ ๑.๒ ป.๓/๒ ๒. อธบิ ายเก่ียวกับวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละ

วธิ ีการสรา้ งงานทศั นศิลป์ในท้องถิ่น

13 ศ 2.1 ป.3/1 ๑. ระบรุ ปู ร่างลักษณะของเคร่อื งดนตรี  รูปรา่ งลักษณะของเคร่ืองดนตรี 
ทเี่ หน็ และไดย้ ินในชวี ิตประจ้าวัน  เสียงของเคร่อื งดนตรี

14 ศ 2.1 ป.3/2 ๒. ใช้รปู ภาพหรือสญั ลักษณแ์ ทนเสียง  สญั ลักษณแ์ ทนคุณสมบัติของเสียง 

และจังหวะเคาะ (สูง - ตา้่ ดงั - เบา ยาว - สั้น)

 สัญลักษณ์แทนรูปแบบจงั หวะ

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559



ชน้ั ที่ รหสั ตัวชี้วดั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
ป.3 15 ศ 2.1 ป.3/3 ๓. บอกบทบาทหน้าทีข่ องเพลงท่ไี ดย้ ิน 
 บทบาทหนา้ ท่ีของบทเพลงสา้ คัญ
16 ศ 2.1 ป.3/4 ๔. ขับรอ้ งและบรรเลงดนตรีง่าย ๆ - เพลงชาติ 
17 ศ 2.1 ป.3/6 - เพลงสรรเสริญพระบารมี 
๖. แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับเสยี งดนตรี - เพลงประจ้าโรงเรียน
18 ศ 2.1 ป.3/5 เสยี งขับรอ้ งของตนเองและผู้อนื่ 
19 ศ 2.1 ป.3/7  การขบั ร้องเด่ยี วและหมู่ 
20 ศ 2.2 ป.3/1 ๕. เคลือ่ นไหวทา่ ทางสอดคล้องกบั 
อารมณ์ของเพลงที่ฟงั  การบรรเลงเคร่ืองดนตรปี ระกอบจังหวะ
21 ศ 2.2 ป.3/2 
22 ศ 3.1 ป.3/1 ๗. น้าดนตรไี ปใชใ้ นชีวติ ประจ้าวนั หรอื  การแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับเสยี งร้อง 
โอกาสต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และเสยี งดนตรี
23 ศ 3.1 ป.3/2 - คุณภาพเสยี งร้อง 
24 ศ 3.1 ป.3/3 ๑. ระบลุ ักษณะเด่นและเอกลักษณ์ - คณุ ภาพเสยี งดนตรี 
2๕ ศ 3.1 ป.3/4 ของดนตรีในท้องถนิ่ 
 การเคล่อื นไหวตามอารมณ์ของบทเพลง
๒. ระบุความสา้ คัญและประโยชน์
ของดนตรีตอ่ การด้าเนนิ ชวี ติ  การใช้ดนตรีในโอกาสพเิ ศษ
ของคนในท้องถ่นิ - ดนตรีในงานรื่นเริง
- ดนตรใี นการฉลองวนั ส้าคญั ของชาติ
๑. สร้างสรรค์การเคล่ือนไหว
ในรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณส์ ั้น ๆ  เอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น
- ลกั ษณะเสยี งร้องของดนตรใี นท้องถ่นิ
๒. แสดงทา่ ทางประกอบเพลง - ภาษาและเนื้อหาในบทร้องของดนตรี
ตามรปู แบบนาฏศิลป์ ในทอ้ งถนิ่
- เครื่องดนตรีและวงดนตรีในท้องถนิ่
๓. เปรยี บเทยี บบทบาทหน้าที่
ของผู้แสดงและผูช้ ม  ดนตรีกับการด้าเนนิ ชีวติ ในท้องถน่ิ
- ดนตรีในชีวติ ประจา้ วนั
๔. มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรม - ดนตรใี นวาระส้าคญั
การแสดงท่ีเหมาะสมกบั วยั
 การเคล่ือนไหวในรปู แบบต่าง ๆ
- ร้าวงมาตรฐาน
- สถานการณส์ ั้น ๆ
- สถานการณ์ทก่ี ้าหนดให้

 หลกั และวิธกี ารปฏบิ ัตินาฏศลิ ป์
- ภาษาทา่ ส่อื อารมณข์ องมนุษย์
- นาฎยศพั ทใ์ นสว่ นขา

 หลักในการชมการแสดง
- ผแู้ สดง
- ผ้ชู ม
- การมีส่วนรว่ ม

ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559



ชนั้ ท่ี รหัสตวั ชี้วดั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.3 2๖ ศ 3.1 ป.3/5 ๕. บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศลิ ป์กับสาระ 
ในชวี ิตประจ้าวัน
การเรียนร้อู นื่ ๆ 

2๗ ศ 3.2 ป.3/1 ๑. เล่าการแสดงนาฏศิลปท์ ีเ่ คยเหน็  การแสดงนาฏศลิ ป์พ้ืนบ้านหรือท้องถ่ิน 
ในท้องถ่นิ ๑๒ ๑๗
ของตน

 ทีม่ าของการแสดงนาฏศิลป์

2๘ ศ 3.2 ป.3/2 ๒. ระบสุ ิ่งทเ่ี ป็นลักษณะเดน่

และเอกลักษณข์ องการแสดง

นาฏศิลป์

๒๙ ศ 3.2 ป.3/3 ๓. อธิบายความส้าคัญของการแสดง

นาฏศลิ ป์

รวม ๒๙ ตัวช้ีวัด

ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559



ชนั้ ที่ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.๔ 1 ศ ๑.๑ ป.๔/๑ ๑. เปรยี บเทียบรูปลักษณะของรปู รา่ ง  เส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรง พืน้ ผวิ และพนื้ ทีว่ า่ ง 

รปู ทรง ในธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม ในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์
และงานทัศนศิลป์

2 ศ ๑.๑ ป.๔/๓ ๓. จา้ แนกทัศนธาตุของสิ่งตา่ ง ๆ 

ในธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม 

และงานทัศนศลิ ป์ โดยเนน้ เร่ืองเสน้ 

สี รูปรา่ ง รูปทรงพืน้ ผิวและพื้นทว่ี า่ ง 

3 ศ ๑.๑ ป.๔/๒ ๒. อภิปรายเก่ียวกบั อทิ ธิพลของ  อทิ ธิพลของสี การเลือกใชส้ วี รรณะอ่นุ 
สวี รรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น และวรรณะเย็นเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ 

ที่มีตอ่ อารมณ์ของมนุษย์ ความรู้สกึ ผา่ นการวาดภาพถ่ายทอด 

4 ศ ๑.๑ ป.๔/๗ ๗. วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอนุ่ ความรสู้ ึกและจนิ ตนาการ
และสวี รรณะเยน็ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ

และจินตนาการ

5 ศ ๑.๑ ป.๔/๙ ๙. เลือกใช้วรรณะสีเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์

ความร้สู ึก ในการสร้างงานทัศนศิลป์

6 ศ ๑.๑ ป.๔/๔ ๔. มที ักษะพ้ืนฐานในการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์  การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพ
สรา้ งสรรคง์ านพมิ พ์ภาพ
และการสรา้ งงานพิมพภ์ าพ

7 ศ ๑.๑ ป.๔/๕ ๕. มีทกั ษะพืน้ ฐานในการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์  การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ในการวาดภาพ
สรา้ งสรรคง์ านวาดภาพระบายสี
ระบายสี

8 ศ ๑.๑ ป.๔/๖ ๖. บรรยายลกั ษณะของภาพโดยเน้น  การจดั ระยะความลึก น้าหนัก
เร่อื งการจดั ระยะ ความลึก น้าหนกั และแสงเงาในการวาดภาพ
และแสงเงาในภาพ

9 ศ ๑.๑ ป.๔/๘ ๘. เปรียบเทียบความคิดความรสู้ ึก  ความเหมอื นและความแตกต่าง
ท่ถี ่ายทอดผา่ นงานทัศนศิลป์
ในงานทศั นศิลป์ ความคิด ความรู้สกึ
ของตนเองและบุคคลอื่น
ทีถ่ ่ายทอดในงานทัศนศลิ ป์

10 ศ ๑.๒ ป.๔/๑ ๑. ระบุ และอภปิ รายเกี่ยวกับ  งานทศั นศลิ ป์ในวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ
งานทัศนศิลป์ ในเหตุการณ์

และงานเฉลิมฉลองของวฒั นธรรม

ในท้องถนิ่

11 ศ ๑.๒ ป.๔/๒ ๒. บรรยายเก่ยี วกบั งานทัศนศลิ ป์  งานทัศนศลิ ป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ
ทม่ี าจากวฒั นธรรมต่าง ๆ

12 ศ 2.1 ป.4/1 ๑. บอกประโยคเพลงอย่างงา่ ย  โครงสร้างของบทเพลง

- ความหมายของประโยคเพลง

- การแบ่งประโยคเพลง

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559



ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.4 13 ศ 2.1 ป.4/2 ๒. จ้าแนกประเภทของเครื่องดนตรี  ประเภทของเครื่องดนตรี 
ท่ใี ชใ้ นเพลงทฟ่ี งั 
 เสียงของเครื่องดนตรแี ต่ละประเภท
14 ศ 2.1 ป.4/3 ๓. ระบทุ ิศทางการเคลื่อนทีข่ ้ึน – ลงงา่ ย ๆ
ของท้านอง รปู แบบจงั หวะ และ  การเคลื่อนที่ขนึ้ - ลงของท้านอง
ความเรว็ ของจังหวะในเพลงที่ฟัง  รปู แบบจงั หวะของท้านองจังหวะ
 รูปแบบจังหวะ

 ความช้า - เรว็ ของจังหวะ

15 ศ 2.1 ป.4/4 ๔. อ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล  เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี 

- กุญแจประจ้าหลัก

- บรรทดั ห้าเสน้

- โนต้ และเครือ่ งหมายหยดุ

- เสน้ ก้ันห้อง

 โครงสรา้ งโนต้ เพลงไทย

- การแบ่งห้อง

- การแบง่ จงั หวะ

16 ศ 2.1 ป.4/5 ๕. รอ้ งเพลงโดยใช้ชว่ งเสียงท่เี หมาะสม  การขับร้องเพลงในบนั ไดเสยี ง 

กับตนเอง ที่เหมาะสมกับตนเอง

17 ศ 2.1 ป.4/6 ๖. ใช้และเก็บเครื่องดนตรีอย่างถูกต้อง  การใชแ้ ละการดูแลรกั ษาเครอ่ื งดนตรี 

และปลอดภยั ของตน

18 ศ 2.1 ป.4/7 ๗. ระบุวา่ ดนตรีสามารถใช้  ความหมายของเน้ือหาในบทเพลง 
ในการสอื่ เรื่องราว

19 ศ 2.2 ป.4/1 ๑. บอกแหล่งท่มี าและความสมั พนั ธ์  ความสัมพนั ธ์ของวถิ ชี ีวติ กับผลงานดนตรี 

ของวถิ ีชีวิตไทย ทส่ี ะท้อนในดนตรี - เนื้อหาเรอ่ื งราวในบทเพลงกับวิถีชวี ิต
และเพลงท้องถิ่น
- โอกาสในการบรรเลงดนตรี
20 ศ 2.2 ป.4/2 ๒. ระบุความสา้ คญั ในการอนุรักษ์ 
สง่ เสริมวัฒนธรรมทางดนตรี  การอนุรักษว์ ฒั นธรรมทางดนตรี
- ความส้าคญั และความจา้ เป็น

ในการอนุรักษ์

- แนวทางในการอนุรักษ์

21 ศ 3.1 ป.4/1 ๑. ระบทุ ักษะพ้นื ฐานทางนาฏศลิ ป์  หลักและวิธีการปฏิบตั ินาฏศิลป์ 
และการละครท่ีใช้สือ่ ความหมาย - ภาษาทา่
และอารมณ์
- นาฏยศัพท์

22 ศ 3.1 ป.4/2 ๒. ใช้ภาษาทา่ และนาฏยศัพท์  การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ 
หรือศัพท์ทางการละครงา่ ย ๆ
ในการถ่ายทอดเร่ืองราว ประกอบเพลงปลุกใจและเพลงพระราชนิพนธ์

 การใชศ้ ัพท์ทางการละคร

ในการถ่ายทอดเร่ืองราว

23 ศ 3.1 ป.4/3 ๓. แสดงการเคลอ่ื นไหวในจงั หวะต่าง ๆ  การประดิษฐท์ า่ ทางหรอื ท่ารา้ 

ตามความคดิ ของตน ประกอบจงั หวะพ้นื เมือง

ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๐

ชั้น ท่ี รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.4 24 ศ 3.1 ป.4/4 ๔. แสดงนาฏศลิ ป์เปน็ คู่และหมู่  การแสดงนาฏศิลป์ ประเภทคู่และหมู่ 

- ร้าวงมาตรฐาน

- ระบา้

25 ศ 3.1 ป.4/5 ๕. เลา่ ส่ิงที่ช่นื ชอบในการแสดง  การเลา่ เรอ่ื ง 

โดยเนน้ จดุ สา้ คัญของเรอ่ื ง - จดุ สา้ คญั
และลักษณะเด่นของตัวละคร - ลักษณะเดน่ ของตัวละคร

26 ศ 3.2 ป.4/1 ๑. อธบิ ายประวัติความเปน็ มาของ  ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์ การละเล่น 
นาฏศลิ ป์ หรือชุดการแสดงอยา่ งง่าย ๆ ของหลวง และท่ีมาของชดุ การแสดง
27 ศ 3.2 ป.4/4 ๔. ระบุเหตผุ ลทค่ี วรรกั ษาและสืบทอด - คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์ไทย 
การแสดงนาฏศิลป์

28 ศ 3.2 ป.4/2 ๒. เปรียบเทยี บการแสดงนาฏศิลป์  การชมการแสดง 

กบั การแสดงทมี่ าจากวัฒนธรรมอ่นื - เปรียบเทียบการนาฏศิลป์ กบั การแสดง

วฒั นธรรมอนื่

29 ศ 3.2 ป.4/3 ๓. อธบิ ายความส้าคัญของการแสดง  ความเป็นมาของนาฏศลิ ป์ 
ความเคารพในการเรยี น - การทา้ ความเคารพก่อนเรยี น
และการแสดงนาฏศิลป์
และก่อนแสดงนาฏศิลป์

รวม ๒๙ ตวั ช้วี ดั ๑๕ ๑๔

ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๑

ชั้น ท่ี รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.๕ 1 ศ ๑.๑ ป.๕/๑ ๑. บรรยายเกย่ี วกับจงั หวะ ต้าแหน่ง  จงั หวะ ต้าแหนง่ ของสงิ่ ต่าง ๆ 

ของสิง่ ต่าง ๆ ที่ปรากฏใน ในสิ่งแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์

สิ่งแวดล้อม และงานทศั นศลิ ป์

2 ศ ๑.๑ ป.๕/๒ ๒. เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ ง  ความแตกต่างระหวา่ งงานทัศนศิลป์ 

งานทัศนศลิ ป์ ท่สี รา้ งสรรค์ดว้ ยวัสดุ

อุปกรณ์และวธิ กี ารท่ีต่างกัน

3 ศ ๑.๑ ป.๕/๓ ๓. วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา  แสงเงา น้าหนกั และวรรณะสี 
น้าหนัก และวรรณะสี

4 ศ ๑.๑ ป.๕/๔ ๔. สร้างสรรค์งานปน้ั จากดินนา้ มัน  การสรา้ งงานป้ันเพื่อถา่ ยทอดจนิ ตนาการ 
หรอื ดนิ เหนียว โดยเน้นการถ่ายทอด ด้วยการใช้ดนิ น้ามนั หรอื ดนิ เหนยี ว
จินตนาการ

5 ศ ๑.๑ ป.๕/๕ ๕. สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ โดยเน้น  การจัดภาพในงานพิมพภ์ าพ 

การจัดวางต้าแหน่งของสิ่งตา่ ง ๆ

ในภาพ

6 ศ ๑.๑ ป.๕/๖ ๖. ระบปุ ญั หาในการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์  การจดั องค์ประกอบศลิ ปแ์ ละ 
และการสื่อความหมายในงานทศั นศลิ ป์ การส่ือความหมายในงานทศั นศิลป์
ของตนเอง และบอกวธิ ีการปรบั ปรงุ

งานใหด้ ีข้นึ

7 ศ ๑.๑ ป.๕/๗ ๗. บรรยายประโยชน์และคุณคา่  ประโยชนแ์ ละคุณค่าของงานทศั นศลิ ป์ 
ของงานทศั นศลิ ปท์ ี่มผี ลต่อชวี ิต

ของคนในสังคม

8 ศ ๑.๒ ป.๕/๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกยี่ วกบั  ลกั ษณะรปู แบบของงานทัศนศลิ ป์ 

ลักษณะรปู แบบของงานทัศนศลิ ป์

ในแหลง่ เรียนรู้หรอื นิทรรศการศิลปะ

9 ศ ๑.๒ ป.๕/๒ ๒. อภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลป์  งานทัศนศิลปท์ ี่สะทอ้ นวฒั นธรรม 

ทส่ี ะท้อนวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญา และภูมปิ ัญญาในท้องถิ่น
ในท้องถิน่

10 ศ 2.1 ป.5/1 ๑. ระบุองคป์ ระกอบดนตรใี นเพลง  การสือ่ อารมณ์ของบทเพลง 

ท่ีใชใ้ นการสื่ออารมณ์ ดว้ ยองคป์ ระกอบดนตรี

- จงั หวะกับอารมณ์ของบทเพลง

- ทา้ นองกบั อารมณ์ของบทเพลง

11 ศ 2.1 ป.5/2 ๒. จา้ แนกลกั ษณะของเสยี งขับร้อง  ลกั ษณะของเสียงนักรอ้ งกลุ่มต่าง ๆ 

และเครื่องดนตรที ี่อยู่ในวงดนตรี  ลักษณะเสยี งของวงดนตรีประเภทตา่ ง ๆ
ประเภทต่าง ๆ

12 ศ 2.1 ป.5/3 ๓. อา่ น เขยี นโน้ตดนตรีไทยและสากล  เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี 

๕ ระดบั เสียง บันไดเสยี ง ๕ เสียง Pentatonic scale

โนต้ เพลงในบันไดเสียง ๕ เสยี ง

Pentatonic scale

ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๒

ชนั้ ที่ รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.5 13 ศ 2.1 ป.5/4 ๔. ใชเ้ ครอ่ื งดนตรบี รรเลงจังหวะ และ  การบรรเลงเคร่ืองประกอบจงั หวะ 
 การบรรเลงเคร่ืองดา้ เนินท้านอง
ทา้ นอง 
 การร้องเพลงไทยในอัตราจังหวะสองชน้ั
14 ศ 2.1 ป.5/5 ๕. รอ้ งเพลงไทยหรือเพลงสากล  การรอ้ งเพลงสากล หรือไทยสากล
หรือเพลงไทยสากลที่เหมาะสม  การรอ้ งเพลงประสานเสียงแบบ
กับวัย
Canon Round
15 ศ 2.1 ป.5/6 ๖. ด้นสดง่าย ๆ โดยใช้ประโยคเพลง
แบบถาม - ตอบ  การสร้างสรรค์ประโยคเพลงถาม - ตอบ

16 ศ 2.1 ป.5/7 ๗. ใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรม  การบรรเลงดนตรปี ระกอบกจิ กรรม 
ในการแสดงออกตามจนิ ตนาการ
นาฏศลิ ป์

 การสรา้ งสรรคเ์ สียงประกอบการเล่าเร่อื ง

17 ศ 2.2 ป.5/1 ๑. อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างดนตรี  ดนตรีกบั งานประเพณี 
กับประเพณีในวัฒนธรรมต่าง ๆ
- บทเพลงในงานประเพณใี นท้องถ่นิ
18 ศ 2.2 ป.5/2 ๒. อธบิ ายคณุ คา่ ของดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมทต่ี า่ งกนั - บทบาทของดนตรีในแต่ละประเพณี

19 ศ 3.1 ป.5/1 ๑. บรรยายองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์  คณุ ค่าของดนตรีจากแหล่งวฒั นธรรม 

- คณุ ค่าทางสังคม

- คุณค่าทางประวัติศาสตร์

 องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ 

- จงั หวะ

- ทา้ นอง

- ค้าร้อง

- ภาษาท่า

- นาฏยศัพท์

- อปุ กรณ์

20 ศ 3.1 ป.5/2 ๒. แสดงทา่ ทางประกอบเพลง  การประดิษฐท์ า่ ทางประกอบเพลง 
หรอื เรื่องราวตามความคดิ ของตน
หรือทา่ ทางประกอบเร่ืองราว
21 ศ 3.1 ป.5/3 ๓. แสดงนาฏศลิ ป์ โดยเน้นการใช้
ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ในการสอื่  การแสดงนาฏศิลป์ 
ความหมายและการแสดงออก
- ระบา้
22 ศ 3.1 ป.5/4 ๔. มสี ว่ นรว่ มในกลมุ่ กับการเขียน
เค้าโครงเรอื่ งหรือบทละครสน้ั ๆ - ฟ้อน

23 ศ 3.1 ป.5/5 ๕. เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลป์ - รา้ วงมาตรฐาน
ชดุ ต่าง ๆ
 องคป์ ระกอบของละคร 

- การเลอื กและเขียนเค้าโครงเรอ่ื ง

- บทละครสนั้ ๆ

 ทม่ี าของการแสดงนาฏศิลปช์ ดุ ตา่ ง ๆ 

นาฏศิลป์ นาฏศิลปพ์ ้นื เมือง การละเลน่

ของหลวง การแสดงโขน และละคร

ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

ชั้น ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑๓
ตอ้ งรู้ ควรรู้
ป.5 24 ศ 3.1 ป.5/6 ๖. บอกประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จาก  หลกั การชมการแสดง

การชมการแสดง  การถา่ ยทอดความรู้สกึ และคุณคา่

ของการแสดงนาฏศลิ ป์ โขน ละคร 

25 ศ 3.2 ป.5/1 ๑. เปรียบเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ  การแสดงนาฏศลิ ปป์ ระเภทตา่ ง ๆ ๑3 ๑3
ของไทยในแตล่ ะทอ้ งถิ่น

26 ศ 3.2 ป.5/2 ๒. ระบหุ รอื แสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์

พ้นื บ้านท่ีสะท้อนถงึ วฒั นธรรม

และประเพณี

รวม ๒๖ ตวั ช้ีวดั

ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๔

ช้นั ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.๖ 1 ศ ๑.๑ ป.๖/๑ ๑. ระบุสีคตู่ รงข้าม และอภปิ ราย  การสร้างสรรคง์ านทัศนศิลปโ์ ดยใช้ 

เกีย่ วกบั การใช้สคี ูต่ รงขา้ ม วงสธี รรมชาติ สีค่ตู รงขา้ ม หลักการจัดขนาด
ในการถ่ายทอดความคิดและอารมณ์ สัดสว่ น และความสมดลุ

2 ศ ๑.๑ ป.๖/๒ ๒. อธิบายหลักการจัดขนาดสดั ส่วน
ความสมดุลในการสร้างงาน
ทศั นศิลป์

3 ศ ๑.๑ ป.๖/๖ ๖. สรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ปโ์ ดยใช้
สีค่ตู รงขา้ มหลักการจัดขนาด
สดั ส่วน และความสมดลุ
4 ศ ๑.๑ ป.๖/๓ ๓. สร้างงานทศั นศิลปจ์ ากรปู แบบ  งานทัศนศลิ ป์รปู แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ 
๒ มิติ เป็น๓ มิติ โดยใช้หลักการ
ของแสงเงาและน้าหนัก

5 ศ ๑.๑ ป.๖/๔ ๔. สร้างสรรค์งานป้ันโดยใช้หลกั การ  การใช้หลกั การเพม่ิ และลดในการ
เพ่ิมและลด สร้างสรรคง์ านปัน้

6 ศ ๑.๑ ป.๖/๕ ๕. สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์โดยใช้  รูปและพ้นื ทวี่ า่ งในงานทศั นศิลป์
หลักการของรปู และพืน้ ท่วี ่าง

7 ศ ๑.๑ ป.๖/๗ ๗. สร้างงานทัศนศิลป์เปน็ แผนภาพ  การสรา้ งงานทัศนศลิ ป์เป็นแผนภาพ
แผนผัง และภาพประกอบ แผนผงั และภาพประกอบ
เพ่ือถา่ ยทอดความคดิ หรอื เรอ่ื งราว
เกย่ี วกับเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ
8 ศ ๑.๒ ป.๖/๑ ๑. บรรยายบทบาทของงานทศั นศลิ ป์  บทบาทของงานทัศนศิลป์ในชีวิตและ 
ท่สี ะท้อนชวี ติ และสงั คม สงั คม

9 ศ ๑.๒ ป.๖/๒ ๒. อภิปรายเก่ยี วกับอิทธิพลของความเชื่อ  อิทธพิ ลของศาสนาและวฒั นธรรม
ความศรทั ธาในศาสนาท่ีมีผลต่องาน ท่มี ีต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ในทอ้ งถ่ิน
ทัศนศลิ ป์ในท้องถนิ่

10 ศ ๑.๒ ป.๖/๓ ๓. ระบแุ ละบรรยายอทิ ธิพลทางวัฒนธรรม
ในทอ้ งถิ่นที่มผี ลต่อการสร้างงาน
ทศั นศิลป์ของบุคคล

11 ศ 2.1 ป.6/1 ๑. บรรยายเพลงท่ีฟัง โดยอาศยั  องค์ประกอบดนตรีและศัพท์สังคตี
องคป์ ระกอบดนตรี และศัพท์สังคตี

12 ศ 2.1 ป.6/2 ๒. จ้าแนกประเภท และบทบาทหนา้ ท่ี  เครื่องดนตรีไทยแตล่ ะภาค
เคร่ืองดนตรีไทยและเครื่องดนตรี  บทบาทและหน้าทข่ี องเครอ่ื งดนตรี
ทม่ี าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ  ประเภทของเคร่ืองดนตรสี ากล

13 ศ 2.1 ป.6/3 ๓. อ่าน เขยี นโน้ตไทย และโน้ตสากล  เครือ่ งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี
ท้านองง่าย ๆ  โน้ตบทเพลงไทย อตั ราจังหวะสองชน้ั
 โนต้ บทเพลงสากลในบันไดเสยี ง C Major

14 ศ 2.1 ป.6/4 ๔. ใชเ้ ครอื่ งดนตรบี รรเลงประกอบ  การร้องเพลงประกอบดนตรี
การร้องเพลง ด้นสด ทีม่ จี งั หวะ  การสรา้ งสรรคร์ ูปแบบจังหวะและท้านอง
และทา้ นองงา่ ย ๆ ด้วยเคร่ืองดนตรี

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๕

ชน้ั ที่ รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ป.6 15 ศ 2.1 ป.6/5 ๕. บรรยายความรสู้ กึ ที่มตี อ่ ดนตรี  การบรรยายความร้สู กึ และแสดง 

ศ 2.1 ป.6/6 ๖. แสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับ ความคดิ เหน็ ท่ีมีต่อบทเพลง
ทา้ นองจงั หวะ การประสานเสียง - เน้ือหาในบทเพลง
- องคป์ ระกอบในบทเพลง
และคุณภาพเสียงของเพลงท่ีฟงั - คณุ ภาพเสยี งในบทเพลง

1๖ ศ 2.2 ป.6/1 ๑. อธิบายเร่ืองราวของดนตรไี ทย  ดนตรไี ทยในประวัติศาสตร์ 
- ดนตรีในเหตุการณ์สา้ คญั
ศ 2.2 ป.6/2 ในประวัติศาสตร์

ศ 2.2 ป.6/3 ๒.จ้าแนกดนตรที ม่ี าจากยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์
- ดนตรีในยุคสมัยต่าง ๆ
ทต่ี า่ งกัน

๓.อภปิ รายอิทธิพลของวฒั นธรรม

ตอ่ ดนตรีในท้องถิน่

๑๗ ศ 3.1 ป.6/1 ๑. สร้างสรรค์การเคล่ือนไหว  การประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลงปลุกใจ 

และการแสดง โดยเน้น หรือเพลงพื้นเมืองหรือทอ้ งถิ่น เน้นลีลา

การถา่ ยทอดลีลา หรอื อารมณ์ หรอื อารมณ์

๑๘ ศ 3.1 ป.6/2 ๒. ออกแบบเครอ่ื งแต่งกาย  การออกแบบสรา้ งสรรค์ 
- เครอื่ งแตง่ กาย
หรอื อปุ กรณ์ประกอบการแสดง - อุปกรณ์ ฉากประกอบการแสดง

อยา่ งง่าย ๆ

๑๙ ศ 3.1 ป.6/3 ๓. แสดงนาฏศลิ ป์และละครง่าย ๆ  การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการแสดงละคร 
- ร้าวงมาตรฐาน
- ระบ้า
- ฟ้อน
- ละครสรา้ งสรรค์

2๐ ศ 3.1 ป.6/4 ๔. บรรยายความรู้สึกของตนเอง  บทบาทและหน้าทใ่ี นงานนาฏศิลป์ 

ท่ีมีต่องานนาฏศิลปแ์ ละการละคร และการละคร

อยา่ งสรา้ งสรรค์  หลักการชมการแสดง

2๑ ศ 3.1 ป.6/5 ๕.แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง - การวเิ คราะห์ 

- ความรสู้ ึกชืน่ ชม

2๒ ศ 3.1 ป.6/6 ๖. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างนาฏศิลป์  องคป์ ระกอบทางนาฏศิลป์และการละคร 

และการละครกับส่งิ ท่ปี ระสบ

ในชีวติ ประจา้ วัน

2๓ ศ 3.2 ป.6/1 ๑. อธิบายสง่ิ ทม่ี ีความสา้ คัญ  ความหมาย ความเป็นมา ความส้าคัญ 

ต่อการแสดงนาฏศลิ ป์และละคร ของนาฏศิลป์ โขน ละคร และบคุ คลส้าคัญ

ทางนาฏศลิ ป์และการละคร

2๔ ศ 3.2 ป.6/2 ๒. ระบุประโยชนท์ ี่ได้รับจากการแสดง  การแสดงนาฏศิลป์และละคร ในวนั ส้าคญั 

หรอื การชมการแสดงนาฏศิลป์ ของโรงเรยี น

และละคร

รวม ๒๗ ตัวชว้ี ดั ๑7 ๑0

ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๖

ชั้น ท่ี รหัสตัวชี้วดั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
ม.๑ 1 ศ ๑.๑ ม.๑/๑
๑. บรรยายความแตกต่างและความ  เอกภาพ ความกลมกลนื ความสมดลุ 
2 ศ ๑.๑ ม.๑/๒
3 ศ ๑.๑ ม.๑/๔ คล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ ความแตกตา่ งและความคล้ายคลงึ กนั

4 ศ ๑.๑ ม.๑/๓ และสิ่งแวดล้อมโดยใชค้ วามรู้ ของทัศนธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์
5 ศ ๑.๑ ม.๑/๕ เรือ่ งทัศนธาตุ หลกั การออกแบบและสงิ่ แวดลอ้ ม
6 ศ ๑.๑ ม.๑/๖
7 ศ ๑.๒ ม.๑/๑ ๒. ระบุ และบรรยายหลกั การออกแบบ โดยสามารถสร้างงานโดยสอ่ื ถึงเรอ่ื งราว 
งานทัศนศลิ ป์ โดยเนน้ ความเป็นเอกภาพ
8 ศ ๑.๒ ม.๑/๒
9 ศ ๑.๒ ม.๑/๓ ความกลมกลืน และความสมดลุ

10 ศ 2.1 ม.1/1 ๔. รวบรวมงานปั้นหรอื สื่อผสมมาสร้าง 

11 ศ 2.1 ม.1/2 เป็นเรือ่ งราว ๓ มิติ โดยเนน้

ความเปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน

และการสื่อถงึ เรื่องราวของงาน

๓. วาดภาพทศั นียภาพแสดงให้เห็น  หลกั การวาดภาพแสดงทัศนยี ภาพ 
ระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ

๕. ออกแบบรปู ภาพ สัญลักษณ์  การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ 

หรือกราฟกิ อ่นื ๆ ในการนา้ เสนอ หรืองานกราฟิก
ความคิดและข้อมูล

๖. ประเมินงานทัศนศลิ ป์ และบรรยาย  การประเมนิ งานทัศนศิลป์ 

ถงึ วิธีการปรบั ปรุงงานของตนเอง

และผู้อน่ื โดยใช้เกณฑ์ทก่ี ้าหนดให้

๑. ระบแุ ละบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ  ลักษณะ รปู แบบงานทัศนศิลป์ของท้องถ่ิน 
รูปแบบงานทศั นศิลป์ของชาติ
และของชาติตามวัฒนธรรมไทยและสากล
และของท้องถน่ิ ตนเองจากอดีต

จนถงึ ปจั จบุ นั

๒. ระบุและเปรียบเทยี บงานทัศนศิลป์ 

ของภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย

๓. เปรยี บเทยี บความแตกต่าง 

ของจดุ ประสงค์ในการสร้างสรรค์

งานทศั นศลิ ป์ของวัฒนธรรมไทย

และสากล

๑. อา่ น เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล  เครอื่ งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี 

- โนต้ บทเพลงไทย อตั ราจังหวะสองชัน้

- โนต้ สากล ในกุญแจซอลและฟา

ในบนั ไดเสยี ง C Major

๒. เปรียบเทยี บเสียงร้องและเสียงของ  เสยี งรอ้ งและเสียงของเคร่ืองดนตรี 

เครื่องดนตรีท่มี าจากวฒั นธรรม ในบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ

ทต่ี า่ งกนั - วธิ กี ารขบั รอ้ ง

- เครอ่ื งดนตรีท่ใี ช้

ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๗

ชนั้ ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
ม.๑ 12 ศ 2.1 ม.1/3
๓. ร้องเพลงและใช้เครือ่ งดนตรี  การร้องและการบรรเลงเคร่ืองดนตรี 
13 ศ 2.1 ม.1/4
14 ศ 2.1 ม.1/5 บรรเลงประกอบการร้องเพลง ประกอบการร้อง

ศ 2.1 ม.1/6 ดว้ ยบทเพลงท่หี ลากหลายรูปแบบ - บทเพลงไทยแบบแผนอตั ราจังหวะ ๒ ชน้ั

1๕ ศ 2.1 ม.1/7 - บทเพลงประสานเสียง ๒ แนว
1๖ ศ 2.1 ม.1/8
1๗ ศ 2.1 ม.1/9 - บทเพลงประกอบการแสดง
1๘ ศ 2.2 ม.1/1
๑๙ ศ 2.2 ม.1/2 ๔. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและ  วงดนตรีพื้นเมือง 
2๐ ศ 3.1 ม.1/1
วงดนตรที ม่ี าจากวฒั นธรรมต่าง ๆ  วงดนตรีไทย
2๑ ศ 3.1 ม.1/2
 วงดนตรีสากล

๕. แสดงความคดิ เหน็ ทม่ี ตี ่ออารมณ์  การถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลง 

ของบทเพลงทีม่ คี วามเรว็ ของจงั หวะ - จงั หวะกบั อารมณ์เพลง

และความดัง - เบาแตกตา่ งกัน - ความดัง - เบากบั อารมณ์เพลง

๖. เปรียบเทียบอารมณ์ ความรสู้ ึก - ความแตกตา่ งของอารมณเ์ พลง

ในการฟังดนตรีแตล่ ะประเภท

๗. น้าเสนอตัวอย่างเพลงทต่ี นเอง  การนา้ เสนอบทเพลงท่ตี นสนใจ 

ชน่ื ชอบ และอภิปรายลักษณะเด่น  การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง

ทที่ า้ ใหง้ านน้นั น่าชน่ื ชม - คณุ ภาพดา้ นเน้ือหา

๘. ใชเ้ กณฑ์ส้าหรบั ประเมินคุณภาพ - คุณภาพดา้ นเสยี ง 

งานดนตรหี รอื เพลงท่ีฟงั - คุณภาพดา้ นองค์ประกอบดนตรี

๙. ใชแ้ ละบ้ารงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรี  การใช้และบ้ารุงรกั ษาเครื่องดนตรีของตน 

อย่างระมัดระวงั และรับผดิ ชอบ

๑. อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละ  บทบาทและอิทธพิ ลของดนตรี 

อิทธิพลของดนตรที ่ีมตี ่อสังคมไทย - บทบาทดนตรีในสงั คม
- อิทธพิ ลของดนตรใี นสังคม

๒. ระบุความหลากหลาย  องค์ประกอบของดนตรี 

ขององค์ประกอบดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม

ในวัฒนธรรมต่างกัน

๑. อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดงชอ่ื ดัง  การปฏิบัติของผูแ้ สดงและผ้ชู ม 

ที่มีผลตอ่ การโน้มน้าวอารมณ์  ประวัตนิ ักแสดงที่ช่ืนชอบ

หรอื ความคิดของผชู้ ม  การพัฒนารูปแบบของการแสดง

 อทิ ธิพลของนักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรม

ของผู้ชม

๒. ใช้นาฏยศพั ท์หรือศัพท์ทางการละคร  นาฏยศัพทห์ รือศัพทท์ างการละคร 

ในการแสดง ในการแสดง

 ภาษาทา่ และการตีบท

 ท่าทางเคลื่อนไหวทีแ่ สดงสอื่ ทางอารมณ์

 ระบา้ เบ็ดเตล็ด

 ร้าวงมาตรฐาน

ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๘

ชน้ั ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
ม.1 2๒ ศ 3.1 ม.1/3 ๓. แสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร  รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์ 

2๓ ศ 3.1 ม.1/4 ในรปู แบบงา่ ย ๆ - นาฏศลิ ป์ โขน ละคร 
- นาฏศลิ ปพ์ ืน้ บา้ น
2๔ ศ 3.1 ม.1/5 ๔. ใชท้ กั ษะการทา้ งานเปน็ กลมุ่ - นาฏศิลป์นานาชาติ 
ในกระบวนการผลิตการแสดง  บทบาทและหนา้ ทข่ี องฝา่ ยตา่ ง ๆ
2๕ ศ 3.2 ม.1/1 ในการจัดการแสดง 
2๖ ศ 3.2 ม.1/2 ๕.ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ท่ีกา้ หนดให้  การสรา้ งสรรค์กจิ กรรมการแสดงท่ีสนใจ 
ในการพจิ ารณาคุณภาพการแสดง โดยแบง่ ฝา่ ยและหน้าที่ให้ชดั เจน 15 12
ทีช่ ม โดยเน้นเรือ่ งการใช้เสียง  หลักในการชมการแสดง
การแสดงทา่ และการเคล่ือนไหว
 ปจั จัยที่มผี ลต่อการเปลยี่ นแปลง
๑. ระบปุ ัจจัยทีม่ ีผลต่อการเปล่ยี นแปลง ของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พืน้ บ้าน
ของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พ้นื บ้าน ละครไทย และละครพืน้ บา้ น
ละครไทย และละครพน้ื บ้าน
 ประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย
๒. บรรยายประเภทของละครไทย
ในแตล่ ะยุคสมัย
รวม ๒๗ ตวั ชวี้ ัด

ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๙

ช้นั ที่ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
ม.๒ 1 ศ ๑.๑ ม.๒/๑
๑. อภปิ รายเกย่ี วกับทัศนธาตุในดา้ น  รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิด 
2 ศ ๑.๑ ม.๒/๒ รูปแบบ และแนวคดิ ของงานทัศนศลิ ป์ ในงานทัศนศลิ ป์
ที่เลือกมา
3 ศ ๑.๑ ม.๒/๓
๒. บรรยายเก่ียวกับความเหมือนและ  ความเหมอื นและความแตกต่าง 
4 ศ ๑.๑ ม.๒/๔
5 ศ 1.1 ม.2/5 ความแตกต่างของรูปแบบการใช้ ของรปู แบบการใช้วัสดุ อปุ กรณ์
6 ศ ๑.๑ ม.๒/๖ วัสดุ อปุ กรณ์ในงานทัศนศิลป์ ในงานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปนิ
7 ศ ๑.๑ ม.๒/๗
ของศิลปิน
8 ศ ๑.๒ ม.๒/๑
๓. วาดภาพด้วยเทคนิคทห่ี ลากหลาย  เทคนคิ ในการวาดภาพสื่อความหมาย 
9 ศ ๑.๒ ม.๒/๒ ในการสือ่ ความหมายและ

10 ศ ๑.๒ ม.๒/๓ เร่อื งราวต่าง ๆ
11 ศ 2.1 ม.2/1
12 ศ 2.1 ม.2/2 ๔. สร้างเกณฑ์ในการประเมิน  การพัฒนาผลงานทศั นศิลป์และ 

13 ศ 2.1 ม.2/3 และวจิ ารณง์ านทัศนศิลป์ การประเมินและวจิ ารณ์งานทัศนศิลป์

๕. นา้ ผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแกไ้ ข - การจดั ท้าแฟ้มสะสมงานทัศนศลิ ป์ 

และพฒั นางาน

๖. วาดภาพแสดงบุคลกิ ลักษณะ  การวาดภาพถ่ายทอดบุคลกิ ลักษณะ 
ของตัวละคร ของตวั ละคร

๗. บรรยายวธิ ีการใช้งานทัศนศลิ ป์  งานทศั นศิลป์ในการโฆษณา 

ในการโฆษณาเพื่อโนม้ นา้ วใจ

และนา้ เสนอตัวอยา่ งประกอบ

๑. ระบุและบรรยายเก่ยี วกับ  ทศั นศิลป์และงานออกแบบในวฒั นธรรมไทย 
วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ทสี่ ะท้อนถึง และสากลในงานทศั นศลิ ปใ์ นแต่ละยุคสมยั

งานทศั นศิลป์ในปัจจุบัน

๒. บรรยายถงึ การเปล่ียนแปลงของงาน 

ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย

โดยเน้นถึงแนวคิดและเน้ือหาของงาน

๓. เปรยี บเทียบแนวคิดในการออกแบบ 

งานทศั นศลิ ป์ทม่ี าจากวัฒนธรรมไทย

และสากล

๑. เปรียบเทยี บการใช้องคป์ ระกอบดนตรี  องคป์ ระกอบของดนตรจี ากแหลง่ 

ทมี่ าจากวัฒนธรรมตา่ งกัน วัฒนธรรมตา่ ง ๆ

๒.อ่าน เขียนร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล  เครอ่ื งหมายและสัญลักษณท์ างดนตรี 
ทม่ี ีเคร่ืองหมายแปลงเสียง
- โนต้ จากเพลงไทยอตั ราจังหวะสองชั้น

- โนต้ สากล (เครอ่ื งหมายแปลงเสยี ง)

๓. ระบุปัจจัยส้าคญั ท่ีมีอิทธิพล  ปัจจยั ในการสรา้ งสรรคบ์ ทเพลง 

ตอ่ การสร้างสรรค์งานดนตรี - จนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์บทเพลง

- การถ่ายทอดเรื่องราวความคิด

ในบทเพลง

ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒๐

ชั้น ที่ รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
ม.2 14 ศ 2.1 ม.2/4
๔. ร้องเพลง และเลน่ ดนตรีเดี่ยว  เทคนคิ การรอ้ งและบรรเลงดนตรี 
15 ศ 2.1 ม.2/5 และรวมวง - การรอ้ งและบรรเลงเด่ยี ว
16 ศ 2.1 ม.2/6
- การร้องและบรรเลงเปน็ วง
17 ศ 2.1 ม.2/7
18 ศ 2.2 ม.2/1 ๕. บรรยายอารมณข์ องเพลง  การบรรยายอารมณ์และความร้สู กึ 
19 ศ 2.2 ม.2/2
และความรู้สึกทม่ี ตี ่อบทเพลงที่ฟงั ในบทเพลง
20 ศ 3.1 ม.2/1
๖. ประเมนิ พัฒนาการทกั ษะทางดนตรี  การประเมินความสามารถทางดนตรี 
21 ศ 3.1 ม.2/2
22 ศ 3.1 ม.2/3 ของตนเองหลงั จากการฝึกปฏิบตั ิ - ความถกู ต้องในการบรรเลง
23 ศ 3.1 ม.2/4
- ความแมน่ ยา้ ในการอา่ นเคร่ืองหมาย

และสญั ลกั ษณ์

- การควบคุมคุณภาพเสียงในการรอ้ ง

และบรรเลง

๗. ระบงุ านอาชีพต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั  อาชพี ทางดา้ นดนตรี 

ดนตรีและบทบาทของดนตรี  บทบาทของดนตรีในธุรกจิ บันเทิง
ในธุรกิจบันเทงิ

๑. บรรยายบทบาท และอิทธิพล  ดนตรใี นวัฒนธรรมต่างประเทศ 
ของดนตรีในวัฒนธรรม - บทบาทของดนตรีในวัฒนธรรมตา่ ง ๆ

ของประเทศต่าง ๆ - อทิ ธิพลของดนตรีในวฒั นธรรมตา่ ง ๆ

๒. บรรยายอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรม  เหตกุ ารณป์ ระวัติศาสตร์กับการเปล่ยี นแปลง 
และเหตุการณ์ในประวตั ศิ าสตร์ ทางดนตรีในประเทศไทย
ที่มตี อ่ รูปแบบของดนตรี - การเปลย่ี นแปลงทางการเมือง
ในประเทศไทย
กบั งานดนตรี

- การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี

กบั งานดนตรี

๑. อธิบายการบรู ณาการศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ  ศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ กบั การแสดง 

กบั การแสดง - แสง สี เสยี ง

- ฉาก

- เครอื่ งแตง่ กาย

- อุปกรณ์

๒. สรา้ งสรรคก์ ารแสดงโดยใช้  หลกั และวิธีการสร้างสรรค์การแสดง 

องคป์ ระกอบนาฏศิลป์และการละคร โดยใช้องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์

และการละคร

๓. วิเคราะห์การแสดงของตนเอง  หลักและวิธีการวเิ คราะห์การแสดง 

และผอู้ ่ืน โดยใช้นาฏยศพั ท์หรือ  วิธีการวเิ คราะห์ วิจารณก์ ารแสดง
ศัพท์ทางการละครทเี่ หมาะสม นาฏศิลป์ โขน และการละคร

๔. เสนอข้อคิดเหน็ ในการปรับปรุง 

การแสดง

ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๑

ชั้น ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
ม.2 24 ศ 3.1 ม.2/5
๕. เชอื่ มโยงการเรียนรรู้ ะหว่างนาฏศิลป์  ความสมั พนั ธ์ของนาฏศิลป์หรือการละคร 
25 ศ 3.2 ม.2/1 และการละครกบั สาระการเรียนรอู้ ืน่ ๆ กับสาระการเรยี นรูอ้ นื่ ๆ

26 ศ 3.2 ม.2/2 ๑. เปรยี บเทียบลกั ษณะเฉพาะ  นาฏศลิ ปพ์ ้นื เมือง 

27 ศ 3.2 ม.2/3 ของการแสดงนาฏศิลป์ - ความหมาย

จากวฒั นธรรมต่าง ๆ - ทม่ี า

- วัฒนธรรม

- ลักษณะเฉพาะ

๒. ระบุหรอื แสดงนาฏศลิ ป์  รปู แบบการแสดงประเภทต่าง ๆ 

นาฏศลิ ป์พน้ื บ้าน ละครไทย - นาฏศิลป์

ละครพน้ื บ้าน หรอื มหรสพอืน่ - นาฏศลิ ป์พ้ืนเมือง

ทเ่ี คยนยิ มกันในอดีต - ละครไทย

- ละครพ้ืนบา้ น

๓. อธบิ ายอิทธิพลของวัฒนธรรม  การละครสมยั ตา่ ง ๆ 
ทมี่ ผี ลตอ่ เน้ือหาของละคร

รวม ๒๗ ตัวชี้วดั ๑๗ ๑๐

ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒๒

ชั้น ท่ี รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้

ม.๓ 1 ศ ๑.๑ ม.๓/๑ ๑. บรรยายสงิ่ แวดล้อมและงานทศั นศลิ ป์  วธิ ีการใชท้ ศั นธาตุ หลกั การออกแบบ 
ท่เี ลอื กมา โดยใช้ความรู้เร่ืองทัศนธาตุ ในสิง่ แวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์
และหลักการออกแบบ

2 ศ ๑.๑ ม.๓/๓ ๓. วเิ คราะหแ์ ละบรรยายวธิ ีการใช้ 

ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบ

ในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ของตนเอง

ให้มีคุณภาพ

3 ศ ๑.๑ ม.๓/๗ ๗. สร้างสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ 

สอ่ื ความหมายเป็นเรอื่ งราว

โดยประยกุ ต์ใชท้ ัศนธาตุ

และหลกั การออกแบบ

4 ศ ๑.๑ ม.๓/๒ ๒. ระบุและบรรยายเทคนิค วธิ ีการ  เทคนคิ วธิ ีการของศิลปินในการสรา้ งงาน 
ของศิลปนิ ในการสร้างงานทศั นศลิ ป์ ทศั นศลิ ป์

5 ศ ๑.๑ ม.๓/๔ ๔. มีทักษะในการสรา้ งงานทัศนศิลป์  ทักษะการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ 

อยา่ งน้อย ๓ ประเภท

6 ศ ๑.๑ ม.๓/๕ ๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตา่ ง ๆ  การใชห้ ลกั การออกแบบในการสร้างงาน 
ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์โดยใช้
ส่อื ผสม
หลกั การออกแบบ

7 ศ ๑.๑ ม.๓/๖ ๖. สร้างงานทัศนศลิ ป์ ทัง้ ๒ มิติ และ  การสรา้ งงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ 

๓ มติ ิ เพอ่ื ถ่ายทอดประสบการณ์ และ ๓ มิติ เพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
และจนิ ตนาการ

8 ศ ๑.๑ ม.๓/๘ ๘. วิเคราะหแ์ ละอภิปรายรปู แบบ  การวเิ คราะห์รูปแบบ เนอ้ื หา และคณุ ค่า 
เนอ้ื หา และคุณค่าในงานทัศนศลิ ป์ ในงานทศั นศลิ ป์
ของตนเองและผอู้ ่ืน หรือของศิลปนิ

9 ศ ๑.๑ ม.๓/๙ ๙. สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์  การใชเ้ ทคนิค วธิ กี ารท่ีหลากหลาย 

เพื่อบรรยายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ สร้างงานทศั นศิลป์เพ่ือสื่อความหมาย

โดยใช้เทคนิคท่ีหลากหลาย

10 ศ ๑.๑ ม.๓/๑๐ ๑๐. ระบุอาชีพท่ีเกีย่ วข้องกับ  การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ 

งานทัศนศลิ ป์และทักษะที่จา้ เป็น

ในการประกอบอาชีพนนั้ ๆ

11 ศ ๑.๑ ม.๓/๑๑ ๑๑. เลือกงานทศั นศลิ ปโ์ ดยใชเ้ กณฑ์  การจดั นทิ รรศการ 
ที่ก้าหนดข้นึ อย่างเหมาะสม

และนา้ ไปจัดนิทรรศการ

ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒๓

ชน้ั ท่ี รหสั ตวั ชี้วดั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
ม.3 12 ศ ๑.๒ ม.๓/๑ ๑. ศกึ ษาและอภปิ รายเก่ยี วกบั
 งานทัศนศิลปต์ ามวฒั นธรรมในแต่ละยคุ สมยั 
13 ศ ๑.๒ ม.๓/๒ งานทัศนศิลป์ ทีส่ ะท้อนคุณค่า
14 ศ 2.1 ม.3/1 ของวฒั นธรรม ของไทยและสากล
๒. เปรียบเทียบความแตกตา่ ง
15 ศ 2.1 ม.3/2 ของงานทศั นศลิ ป์ในแตล่ ะยุคสมัย 
16 ศ 2.1 ม.3/3 ของวฒั นธรรมไทยและสากล
17 ศ 2.1 ม.3/4 ๑. เปรียบเทียบองคป์ ระกอบทีใ่ ช้  การเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานศิลปะ 
ในงานดนตรแี ละงานศิลปะอ่ืน
18 ศ 2.1 ม.3/5 - การใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์
๒. รอ้ งเพลง เลน่ ดนตรเี ด่ียวและรวมวง
19 ศ 2.1 ม.3/6 โดยเนน้ เทคนคิ การรอ้ ง การเล่น งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่น
การแสดงออก และคณุ ภาพเสียง
- เทคนิคทีใ่ ชใ้ นการสรา้ งสรรค์งานดนตรี
๓. แตง่ เพลงสัน้ ๆ จงั หวะง่าย ๆ
และศิลปะแขนงอืน่
๔. อธบิ ายเหตผุ ลในการเลือกใช้
องค์ประกอบดนตรใี นการสร้างสรรค์  เทคนคิ และการแสดงออกในการขบั ร้อง 
งานดนตรีของตนเอง
และบรรเลงดนตรเี ด่ยี วและรวมวง
๕. เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่าง
งานดนตรีของตนเองและผู้อื่น  อตั ราจังหวะ ๒ และ ๔ 
๔๔
๖. อธบิ ายเกย่ี วกบั อิทธพิ ลของดนตรี
ที่มีตอ่ บุคคลและสังคม  การประพันธ์เพลงในอตั ราจังหวะ

๒ และ ๔
๔๔

 การเลือกใช้องคป์ ระกอบในการสร้างสรรค์ 

บทเพลง

- การเลอื กจังหวะเพื่อสร้างสรรค์

บทเพลง

- การเรียบเรียงท้านองเพลง

 การเปรียบเทยี บความแตกต่าง 

ของบทเพลง

- ส้าเนียง

- อตั ราจังหวะ

- รปู แบบบทเพลง

- การประสานเสียง

- เคร่ืองดนตรีที่บรรเลง

 อทิ ธิพลของดนตรี 

- อิทธพิ ลของดนตรตี ่อบุคคล

- อิทธพิ ลของดนตรีตอ่ สังคม

ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๒๔

ช้นั ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
ม.๓ 20 ศ 2.1 ม.3/7 
๗. น้าเสนอหรอื จัดการแสดงดนตรี  การจดั การแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ
21 ศ 2.2 ม.3/1 ที่เหมาะสมโดยการบูรณาการ 
22 ศ 2.2 ม.3/2 - การเลือกวงดนตรี 
23 ศ 3.1 ม.3/1 กบั สาระการเรียนรู้อน่ื ในกลุ่มศิลปะ - การเลอื กบทเพลง

24 ศ 3.1 ม.3/2 - การเลือกและจัดเตรยี มสถานท่ี
25 ศ 3.1 ม.3/4 
26 ศ 3.1 ม.3/3 - การเตรยี มบคุ ลากร 

- การเตรียมอปุ กรณเ์ คร่ืองมือ

- การจัดรายการแสดง

๑. บรรยายวิวัฒนาการของดนตรี  ประวตั ดิ นตรีไทยยุคสมัยต่าง ๆ
แต่ละยุคสมัย  ประวัติดนตรตี ะวันตกยคุ สมัยตา่ ง ๆ

๒. อภปิ รายลกั ษณะเด่นที่ทา้ ให้  ปจั จัยท่ที า้ ใหง้ านดนตรไี ดร้ ับการยอมรับ
งานดนตรนี ั้นไดร้ บั การยอมรับ

๑. ระบุโครงสรา้ งของบทละคร  องค์ประกอบของบทละคร
โดยใชศ้ พั ทท์ างการละคร - โครงเรื่อง

- ตัวละครและการวางลกั ษณะนสิ ยั

ของตัวละคร

- ความคิดหรือแก่นของเรอ่ื ง

- บทสนทนา

๒. ใชน้ าฏยศพั ท์หรือศัพท์ทางการละคร  ภาษาท่าหรอื ภาษาทางนาฏศิลป์
ท่เี หมาะสม บรรยายเปรยี บเทียบ - ภาษาท่าท่ีมาจากธรรมชาติ
การแสดงอากปั กิรยิ าของผู้คน
- ภาษาท่าท่ีมาจากการประดิษฐ์
ในชวี ติ ประจ้าวันและในการแสดง
๔. มที กั ษะในการแปลความ  การประดิษฐท์ า่ ร้าและทา่ ทาง
ประกอบการแสดง
และการส่ือสารผ่านการแสดง
- ความหมาย

- ความเปน็ มา

- ท่าทางที่ใช้ในการประดษิ ฐ์ท่าร้า

๓. มที ักษะในการใชค้ วามคิด  รูปแบบการแสดง
ในการพฒั นารูปแบบการแสดง - การแสดงเป็นหมู่

- การแสดงเดย่ี ว

- การแสดงละคร

- การแสดงเป็นชดุ เปน็ ตอน

ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ช้นั ท่ี รหสั ตัวชี้วดั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๒๕
 องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ ตอ้ งรู้ ควรรู้
ม.๓ 27 ศ 3.1 ม.3/5 ๕. วิจารณ์เปรียบเทยี บงานนาฏศิลป์ 
- จงั หวะท้านอง
ท่ีมคี วามแตกต่างกนั โดยใช้ความรู้ - การเคลอ่ื นไหว 
- อารมณ์และความรสู้ กึ
เรื่ององค์ประกอบนาฏศลิ ป์ - ภาษาท่า นาฎยศัพท์ 
- รปู แบบของการแสดง 
28 ศ 3.1 ม.3/6 ๖. ร่วมจดั งานการแสดงในบทบาท - การแต่งกาย
หนา้ ท่ตี ่าง ๆ  วธิ ีการเลือกการแสดง 
- ประเภทของงาน 
29 ศ 3.1 ม.3/7 ๗. น้าเสนอแนวคิดจากเน้ือเร่ือง - ข้นั ตอน ๑๙ ๑๓
ของการแสดงท่ีสามารถนา้ ไป - ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการแสดง
ปรบั ใช้ในชวี ิตประจ้าวัน  ละครกับชวี ิต

30 ศ 3.2 ม.3/1 ๑. ออกแบบ และสรา้ งสรรค์อุปกรณ์  การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์
และเคร่ืองแต่งกาย เพอ่ื แสดง และเคร่ืองแต่งกายเพ่อื การแสดง
นาฏศิลปแ์ ละละครท่ีมาจาก นาฏศิลป์
วัฒนธรรมตา่ ง ๆ
 ความส้าคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป์
31 ศ 3.2 ม.3/2 ๒. อธิบายความส้าคัญและบทบาท และการละครในชีวิตประจ้าวัน
ของนาฏศิลป์และการละคร
ในชีวิตประจ้าวัน  การอนุรักษน์ าฏศลิ ป์

32 ศ 3.2 ม.3/3 ๓. แสดงความคิดเห็นในการอนรุ ักษ์
รวม ๓๒ ตวั ชว้ี ดั

ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๖

ช้นั ท่ี รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ม.๔-๖ 1 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. วิเคราะห์การใช้ทศั นธาตุ  ทศั นธาตุและหลักการออกแบบ 

และหลักการออกแบบในการสือ่

ความหมายในรูปแบบตา่ ง ๆ

2 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๒. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหา  ศพั ท์ทางทัศนศิลป์ 

ของงานทศั นศลิ ป์ โดยใชศ้ พั ท์

ทางทัศนศลิ ป์

3 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๓ ๓. วเิ คราะห์การเลือกใช้วสั ดุ อปุ กรณ์  วสั ดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศลิ ปิน 
และเทคนคิ ของศิลปนิ ในการแสดงออก ในการแสดงออกทางทัศนศลิ ป์
ทางทัศนศลิ ป์

4 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๔ ๔. มีทกั ษะและเทคนคิ ในการใชว้ ัสดุ  เทคนคิ วสั ดุ อปุ กรณ์ กระบวนการ 

อุปกรณ์ และกระบวนการที่สงู ขน้ึ ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์
ในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์

5 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๕ ๕. สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์  หลกั การออกแบบและการจดั 
ดว้ ยเทคโนโลยตี า่ ง ๆ โดยเน้น
องค์ประกอบศลิ ป์ด้วยเทคโนโลยี
หลักการออกแบบและการจดั

องค์ประกอบศลิ ป์

6 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ๖. ออกแบบงานทัศนศลิ ปไ์ ด้เหมาะกับ  การออกแบบงานทัศนศลิ ป์ 

โอกาสและสถานที่

7 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ๗. วเิ คราะหแ์ ละอธิบายจุดมุ่งหมาย  จุดมุ่งหมายของศิลปนิ ในการเลอื กใช้ 
ของศลิ ปนิ ในการเลือกใช้วัสดุ
วสั ดุ อปุ กรณ์ เทคนิค และเน้ือหา
อปุ กรณ์ เทคนคิ และเน้ือหา
ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์
เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์

8 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๘ ๘. ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์  ทฤษฎีการวจิ ารณ์ศิลปะ 

โดยใชท้ ฤษฎีการวิจารณ์ศลิ ปะ

9 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๙. จัดกล่มุ งานทัศนศลิ ป์เพื่อสะท้อน  การจดั ทา้ แฟ้มสะสมงานทศั นศิลป์ 

พฒั นาการและความก้าวหนา้

ของตนเอง

10 ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑๐ ๑๐. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล  การสรา้ งงานทัศนศิลป์จากแนวคดิ 
โดยศกึ ษาจากแนวคดิ และวิธกี าร และวิธีการของศลิ ปนิ
สรา้ งงานของศิลปนิ ทีต่ นชื่นชอบ

11 ศ ๑.๑ ม.๔ - ๖/๑๑ ๑๑. วาดภาพระบายสีเปน็ ภาพลอ้ เลยี น  การวาดภาพล้อเลยี นหรือภาพการต์ ูน 
หรือภาพการต์ ูนเพ่ือแสดงความ

คิดเห็นเกยี่ วกบั สภาพสงั คมใน

ปัจจบุ ัน

12 ศ ๑.๒ ม.๔ - ๖/๑ ๑. วิเคราะห์ และเปรยี บเทียบ  งานทศั นศิลปร์ ูปแบบตะวนั ออก 

งานทัศนศลิ ป์ในรูปแบบตะวันออก และตะวนั ตก
และรูปแบบตะวนั ตก

ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒๗

ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้

ม.๔-๖ 13 ศ ๑.๒ ม.๔ - ๖/๒ ๒. ระบุงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปิน  งานทัศนศลิ ป์ของศิลปนิ ท่ีมชี ื่อเสยี ง 

ทมี่ ชี อื่ เสยี ง และบรรยายผลตอบรับ

ของสังคม

14 ศ ๑.๒ ม.๔ - ๖/๓ ๓. อภปิ รายเกย่ี วกบั อิทธพิ ลของ  อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมระหว่างประเทศ 
วฒั นธรรมระหว่างประเทศ ที่มผี ลต่องานทศั นศิลป์
ทม่ี ีผลต่องานทัศนศลิ ปใ์ นสังคม

15 ศ ๒.1 ม.4 -6/1 ๑. เปรยี บเทยี บรปู แบบของบทเพลง  การจัดวงดนตรี 

และวงดนตรีแตล่ ะประเภท - การใช้เครื่องดนตรใี นวงดนตรี

ประเภทตา่ ง ๆ

- บทเพลงท่บี รรเลงโดยวงดนตรี

ประเภทต่าง ๆ

16 ศ ๒.1 ม.4 - 6/2 ๒. จ้าแนกประเภทและรปู แบบ  ประเภทของวงดนตรี 
ของวงดนตรีทงั้ ไทยและสากล - ประเภทของวงดนตรีไทย

- ประเภทของวงดนตรสี ากล

17 ศ ๒.1 ม.4 - 6/3 ๓. อธบิ ายเหตผุ ลท่คี นต่างวฒั นธรรม  ปจั จยั ในการสร้างสรรคผ์ ลงานดนตรี 
สร้างสรรคง์ านดนตรแี ตกต่างกัน ในแต่ละวฒั นธรรม

- ความเชอ่ื กับการสรา้ งสรรค์งานดนตรี

- ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี

- วถิ ชี ีวติ กบั การสร้างสรรคง์ านดนตรี

- เทคโนโลยกี บั การสร้างสรรคง์ านดนตรี

18 ศ ๒.1 ม.4 -6/4 ๔. อา่ น เขยี น โนต้ ดนตรีไทยและสากล  เครื่องหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี 

ในอตั ราจงั หวะตา่ ง ๆ - เคร่ืองหมายกา้ หนดอัตราจังหวะ

- เคร่ืองหมายก้าหนดบันไดเสียง

 โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชนั้

และ ๓ ชั้น

19 ศ ๒.1 ม.4 -6/5 ๕. รอ้ งเพลง หรือเลน่ ดนตรีเด่ียวและ  เทคนคิ และการถา่ ยทอดอารมณเ์ พลง 
รวมวง โดยเนน้ เทคนิคการแสดงออก ด้วยการร้องบรรเลงเคร่อื งดนตรีเด่ียว
และคณุ ภาพของการแสดง
และรวมวง

20 ศ ๒.1 ม.4 - 6/6 ๖. สรา้ งเกณฑ์ส้าหรบั ประเมินคุณภาพ  เกณฑ์ในการประเมินผลงานดนตรี 

การประพนั ธ์และการเล่นดนตรี - คณุ ภาพของผลงานทางดนตรี

ของตนเองและผู้อ่ืนได้อย่างเหมาะสม - คณุ ค่าของผลงานทางดนตรี

21 ศ ๒.1 ม.4 - 6/7 ๗. เปรียบเทียบอารมณแ์ ละความรสู้ กึ  การถ่ายทอดอารมณ์ ความรูส้ กึ 

ท่ไี ดร้ ับจากงานดนตรีที่มาจาก ของงานดนตรีจากแต่ละวฒั นธรรม

วฒั นธรรมต่างกัน

ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๘

ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วดั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
ม.๔-๖ 22 ศ ๒.1 ม.4 - 6/8 
๘. นา้ ดนตรีไปประยกุ ต์ใช้ในงานอนื่ ๆ  ดนตรกี ับการผ่อนคลาย
23 ศ 2.2 ม.4 - 6/1 
24 ศ 2.2 ม.4 - 6/2  ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์ 
25 ศ 2.2 ม.4 - 6/3 
 ดนตรีกบั การประชาสัมพันธ์
26 ศ 2.2 ม.4 - 6/4 
27 ศ 2.2 ม.4 - 6/5  ดนตรกี ับการบ้าบัดรักษา 
28 ศ 3.1 ม.4 - 6/1 
 ดนตรกี ับธรุ กิจ

 ดนตรกี บั การศกึ ษา

๑. วเิ คราะห์รปู แบบของดนตรีไทย  รปู แบบบทเพลงและวงดนตรีไทย
และดนตรสี ากลในยุคสมยั ตา่ ง ๆ แตล่ ะยุคสมัย

 รูปแบบบทเพลงและวงดนตรสี ากล

แตล่ ะยคุ สมยั

๒. วเิ คราะหส์ ถานะทางสงั คม  ประวัตสิ งั คตี กวี

ของนักดนตรใี นวฒั นธรรมตา่ ง ๆ

๓. เปรียบเทียบลักษณะเดน่ ของดนตรี  ลกั ษณะเดน่ ของดนตรี
ในวัฒนธรรมต่าง ๆ
ในแตล่ ะวัฒนธรรม

- เครอื่ งดนตรี

- วงดนตรี

- ภาษา เนื้อรอ้ ง

- สา้ เนียง

- องคป์ ระกอบบทเพลง

๔. อธิบายบทบาทของดนตรี  บทบาทดนตรีในการสะทอ้ นสงั คม
ในการสะทอ้ นแนวความคดิ - ค่านิยมของสงั คมในผลงานดนตรี
และคา่ นิยมท่ีเปลย่ี นไป - ความเช่อื ของสังคมในงานดนตรี
ของคนในสงั คม

๕. น้าเสนอแนวทางในการสง่ เสริมและ  แนวทางและวิธกี ารในการสง่ เสรมิ
อนรุ ักษ์ดนตรใี นฐานะมรดกของชาติ อนุรกั ษ์ดนตรีไทย

๑. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย  รปู แบบของการแสดง
รปู แบบ - ระบา้ ร้า ฟ้อน โขน

- การแสดงพ้นื เมืองภาคตา่ ง ๆ

- การละครไทย

- การละครสากล

ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๒๙

ชน้ั ที่ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้

ม.๔-๖ 29 ศ 3.1 ม.4 - 6/2 ๒. สรา้ งสรรคล์ ะครสน้ั ในรูปแบบ  ละครสร้างสรรค์ 
ทชี่ ่ืนชอบ - ความเป็นมา

- องค์ประกอบของละครสรา้ งสรรค์

- ละครพดู

 ละครโศกนาฏกรรม

 ละครสุขนาฏกรรม

 ละครแนวเหมือนจรงิ

 ละครแนวไม่เหมือนจรงิ

30 ศ 3.1 ม.4 - 6/3 ๓. ใช้ความคดิ ริเริ่มในการแสดงนาฏศลิ ป์  การประดิษฐท์ ่าร้าที่เปน็ คูแ่ ละหมู่ 
เป็นค่แู ละหมู่
- ความหมาย

- ประวตั ิความเปน็ มา

- ท่าทางท่ีใชใ้ นการประดษิ ฐท์ ่าร้า

- เพลงทใี่ ช้

31 ศ 3.1 ม.4 - 6/4 ๔. วิจารณก์ ารแสดงตามหลักนาฏศิลป์  หลกั การสร้างสรรค์และการวจิ ารณ์ 
และการละคร
 หลกั การชมการแสดงนาฏศลิ ป์

และละคร

32 ศ 3.1 ม.4 - 6/5 ๕. วเิ คราะหแ์ ก่นของการแสดงนาฏศิลป์  ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ 
และการละครทตี่ อ้ งการส่อื ความหมาย และการละคร
ในการแสดง
- วิวฒั นาการ

- ความงามและคุณคา่

33 ศ 3.1 ม.4 - 6/6 ๖. บรรยายและวเิ คราะหอ์ ิทธิพล  เทคนิคการจดั การแสดง 

ของเคร่ืองแต่งกาย แสง สี เสยี ง - แสง สี เสยี ง
ฉาก อุปกรณ์ และสถานที่ - ฉาก

ท่ีมีผลตอ่ การแสดง - อปุ กรณ์

- สถานท่ี

- เครอื่ งแต่งกาย

34 ศ 3.1 ม.4 - 6/7 ๗. พฒั นาและใชเ้ กณฑ์การประเมนิ  การประเมินคุณภาพของการแสดง 
ในการประเมนิ การแสดง
- คณุ ภาพด้านการแสดง

- คุณภาพองคป์ ระกอบการแสดง

35 ศ 3.1 ม.4 - 6/8 ๘. วเิ คราะห์ทา่ ทางและการเคล่ือนไหว  การสร้างสรรคผ์ ลงาน 

ของผู้คนในชวี ิตประจ้าวันและนา้ มา - การจดั การแสดงในวนั ส้าคัญ
ประยุกตใ์ ชใ้ นการแสดง
ของโรงเรียน

36 ศ 3.2 ม.4 - 6/1 ๑. เปรียบเทยี บการน้าการแสดง  การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่าง ๆ 

ไปใชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ

37 ศ 3.2 ม.4 - 6/2 ๒. อภปิ รายบทบาทของบุคคลส้าคัญ  บุคคลสา้ คญั ในวงการนาฏศิลป์ 
ในวงการนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร
ของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ และการละครของไทยในยุคสมัยตา่ ง ๆ

ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๓๐

ชัน้ ที่ รหัสตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้

ม.๔-๖ 38 ศ 3.2 ม.4 - 6/3 ๓. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์  วิวฒั นาการของนาฏศลิ ป์ 

และการละครไทย ต้งั แต่อดีต และการละครไทยตั้งแต่อดตี
จนถึงปัจจุบนั
จนถงึ ปัจจบุ ัน

39 ศ 3.2 ม.4 - 6/4 ๔. น้าเสนอแนวคิดในการอนรุ กั ษ์  การอนุรักษน์ าฏศิลป์ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ 
นาฏศลิ ปไ์ ทย

รวม ๓๙ ตัวชี้วัด ๒๗ ๑๒

รวมท้ังหมด ๒๗9 ตวั ช้วี ัด 157 122

ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559


Click to View FlipBook Version