The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การแก้ปัญหาในชั้นเรียนโดยการสอนแบบรวมแรงร่วมใจเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์
เรื่องทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mussalimah, 2021-10-22 02:30:10

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น

วิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การแก้ปัญหาในชั้นเรียนโดยการสอนแบบรวมแรงร่วมใจเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์
เรื่องทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

วิจัยในช้ันเรยี น
เร่อื ง การแก้ปัญหาในชัน้ เรียนโดยการสอนแบบรวมแรงรว่ มใจ

เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาทศั นศลิ ป์
เรือ่ งทัศนศลิ ปข์ องชาตแิ ละทอ้ งถ่ิน
ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1

จัดทาโดย

นางณิชาภทั ร ธัญวงศ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ
แขวงคลองถนน เขตสายไหม จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร

วิจยั ในชน้ั เรยี น

ชือ่ เรอื่ ง การแก้ปัญหาในช้นั เรียนโดยการสอนแบบรวมแรงรว่ มใจเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น

ช่ือผู้วิจัย วิชาทศั นศิลป์ เรอื่ งทัศนศลิ ป์ของชาตแิ ละท้องถน่ิ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
รายวิชา
ปกี ารศึกษา นางณิชาภทั ร ธญั วงศ์

ทศั นศิลป์ รหสั วชิ า ศ22102 ภาคเรียนท่ี 2

2561

ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา

การเรียนการสอนในรายวชิ าทัศนศิลป์ของนกั เรียนในห้องเรียน พบว่านกั เรียน มคี วามรับผดิ ชอบต่อการเรียน
ค่อนข้างน้อย จึงท่าให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีต่าซ่ึงก่อให้เกิดความเสียหายต่อการเรียนจากการศึกษาเอกสาร
พบว่า นวัตกรรมการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส่าคัญหลาย ๆ อย่างท่ีได้มีการสร้างขึ้น เช่น รูปแบบการสอนแบบร่วมแรง
ร่วมใจระหว่างครูกับนักเรียน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้กับผู้เรียนเป็นการ
ผสมผสานระหว่างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมกับทักษะด้านเนื้อหาวิชาการต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นอย่างดี โดยให้
ผู้เรียนได้อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ได้ช่วยกันท่างานและแลกเปล่ียนความคิดเห็นส่วนตัวซ่ึงกันและกัน โดยแต่ละ
กลมุ่ ตอ้ งประกอบไปด้วยผู้เรียนท่มี ีความรูเ้ ป็นตวั นา่ การคิดและเปน็ ผู้ควบคมุ เพ่ือนได้หรือเพื่อน ๆ ให้ความไว้วางใจ ซ่งึ
ความสามารถแตกต่างกันจะให้ผู้เรียนท่ีเก่งช่วยเหลือผู้เรียนที่อ่อนได้ส่วนหน่ึง และความส่าเร็จของบุคคล คือ
ความสา่ เรจ็ ของกลุ่ม ดงั นน้ั เพอื่ ให้ผ้เู รียนมีความรับผดิ ชอบต่อการเรียนในรายวชิ าวชิ ามากยิ่งขึ้น ผสู้ อนจงึ เลือกวิธีการ
สอนแบบร่วมแรงร่วมใจ โดยใช้รูปแบบ STAD เพ่ือน่ามาปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบ และยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ซง่ึ จะเป็นแนวทางในการพฒั นาผเู้ รียนได้อย่างย่ังยนื ตามหลักการของยุทธศาสตร์ชาตทิ ี่ได้วางไว้

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นกฎหมายหลักทางด้านศึกษาฉบับแรกของประเทศ
ไทยที่ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและให้ข้อมูลอย่างกว้างขวาง เพ่ือก่าหนดเน้ือหาสาระต่างๆ
เก่ียวกับการจัดการศึกษาของประเทศ อันส่งผลกระทบที่ส่าคัญในการจัดการเปล่ียนแปลงการจัดการศึกษาของชาติ
อย่างมาก โดยในการจัดการศึกษายึดหลักว่าผู้เรียนส่าคัญท่ีสุด มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติ ความสนใจ
และเต็มศักยภาพ เน้นความรู้คู่คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และการบูรณาการความรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างตนเอง
กับสังคมเพ่ือพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ท่ีจ่าเป็นส่าหรับการประกอบอาชีพและการด่ารงชีวิตอย่างมีความสขุ ก่าหนดให้
สถานศึกษาใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการประเมินผลผู้เรียน และการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมี
ประสทิ ธิภาพ

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย

เพ่ือแก้ปัญหาในชั้นเรียนและยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1
วชิ าทศั นศลิ ป์จา่ นวน 26 คน เรื่องทศั นศิลปข์ องชาตแิ ละทอ้ งถนิ่

ขอบเขตของการวจิ ัย นักเรยี นอยใู่ นระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1
นกั เรียนอยใู่ นระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 จา่ นวน 26 คน
ประชากร
กลุ่มตวั อยา่ ง

ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั

การศึกษาการเรียนการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมถึงปรับพฤติกรรม
นักเรียนที่ขาดความรับผิดชอบในการเรียน ในการเรียนในช่ัวโมง โดยการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจแบบ STAD เพื่อ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน้ัน พบว่านักเรียนให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนเป็นอย่างดี โดยภาพรวม
นกั เรียนมคี วามรับผดิ ชอบในการเรยี นมากขนึ้ จากเดิม และยังมผี ลการเรียนท่ดี มี ากข้ึนกวา่ เดิม

เครื่องมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั

1. รปู แบบการสอนแบบรว่ มแรงร่วมใจ โดยวิธี STAD
2. ผลคะแนนการเรียนการสอนในรายวชิ า
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมความรับผิดชอบในการส่งงาน

วธิ ีการดาเนนิ การวิจยั

1. ช้ีแจงวิธีการเรยี นการสอนแบบร่วมแรงรว่ มใจต่อนักเรยี นในชั้นเรียน โดยครผู ้สู อนทา่ การแบ่งกลุม่ นกั เรียน
เป็นกลมุ่ ย่อย ๆ โดยแตล่ ะกลมุ่ มสี มาชกิ จ่านวนเทา่ ๆ กนั หรือใกลเ้ คยี งกัน

2. ผู้สอนพิจารณาความเหมาะสมของกลุ่มเพ่ือให้สมาชิกของกลุ่มมีความรู้ความสามารถแตกต่างกันโดย
พิจารณาจากคะแนนเฉล่ียในชั้นเรียน ผลการเรียนและผลการปฏิบัติงานมอบหมายในรายวิชา ในเดือนสิงหาคม ของ
การเรียนประกอบการพจิ ารณา

3. ผู้สอนช้ีแจงระเบียบการเรียนการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจ โดยรูปแบบ STAD ตลอดจนการท่างานที่
มอบหมายจากผูส้ อนและการทา่ งานท่ีมอบหมายจากกลุ่ม

4. งานที่มอบหมายจากกลุ่มมอบหมายหน้าท่ีให้ปฏิบัติงานและความรับผิดชอบการท่างานในกลุ่มและ
กระตุ้นใหเ้ หน็ ความสา่ คัญของความสา่ เร็จของกลมุ่

5. ตดิ ตามสังเกตพฤติกรรมหลังจากปรับเปล่ียนวิธกี ารสอน
6. เกบ็ รวบรวมคะแนนประเมินผล

ผลการวจิ ยั

จากการศึกษาการเรียนการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมถึงปรับ
พฤติกรรมนักเรียนที่ขาดความรับผิดชอบในการเรียน ในการเรียนในชั่วโมง โดยการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจแบบ
STAD เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนั้น พบว่านักเรียนให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนเป็นอย่างดี โดย
ภาพรวมนักเรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนมากขึ้นจากเดิม และยังมีผลการเรียนท่ีดีมากข้ึนกว่าเดิม โดยระดับ
คะแนนเฉลี่ยก่อนการวิจัย (x )̅ ได้ 5.22 คะแนน และหลังจากการใช้แบบฝึกทักษะมาช่วยในการสอนท่าให้ระดับ
คะแนนเฉลี่ยหลังการวิจัย (x )̅ ได้ 9.17 คะแนน ซึ่งเพ่ิมขึ้นถึง 3.96 คะแนน คิดเป็นคะแนนที่เพิ่มข้ึนร้อยละ 75.83%
จากการศึกษาวิจัยพบว่าการสอนโดยวิธีร่วมแรงร่วมใจระหว่างครูกับนักเรียนในราย วิชาทัศนศิลป์ท่าให้ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผเู้ รยี นมีพัฒนาการทด่ี ขี ึ้นอย่างเห็นได้ชดั

ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรมีการตดิ ตามพฤติกรรมความรับผิดชอบในการส่งงานของนักเรียนอยา่ งต่อเนื่อง
2. ปลูกฝงั ลกั ษณะทด่ี แี ก่นักเรยี น
3. สังเกตการณ์เรยี นการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจ มีผลตอ่ พฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบของนักเรยี นอย่างถาวร

ภาคผนวก

ตารางเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน

ท่ี ชอ่ื สกลุ คะแนนกอ่ นเรียน คะแนนหลังเรยี น
59
1 เด็กชายบญุ ส่ง เรกรอ้ ง 58
59
2 เด็กชายพชิ ญตุ ม์ ทองดี 6 10
59
3 เด็กชายธีรัตน์ ฤาโสภา 58
6 10
4 เดก็ ชายสรลั พัฒน์ ผอ่ งรอบมะสัน 69
6 10
5 เดก็ ชายตราบพิชติ สพุ ลจติ ร 58
59
6 เดก็ ชายปณั ณวชิ ญ์ พรหมภาสิต 4 10
49
7 เด็กชายศกั ดิ์เกษม ทัศนศ์ รี 48
59
8 เด็กชายธรี ภัทร์ แจ่มสิน 4 10
6 10
9 เดก็ ชายเอกรนิ ทร์ ฟองย้อย 59
6 10
10 เดก็ ชายวรวุฒิ ประภาสโนบล 69
6 10
11 เดก็ ชายชินภัทร ชโู ตชนะ 59
68
12 เด็กชายธนั วา แซต่ งั้ 6 10
48
13 เดก็ ชายรตั ตเิ ทพ บางแดง 59
5.22 9.17
14 เดก็ ชายทินภัทร บญุ ทศ +3.96
+75.83%
15 เด็กหญิงมีนา พรมขา่

16 เด็กหญงิ ชนญั ธิดา หลงสภี มู ิ

17 เดก็ หญิงวมิ าดา รุ่งเป้า

18 เดก็ หญงิ สธุ ิมา เจรญิ สุข

19 เดก็ หญงิ กัญญาพชั ร พรมตาแก้ว

20 เดก็ หญิงชลนธี ละอองบัว

21 เดก็ หญิงกนกพร สิงหข์ นั ธ์

22 เดก็ หญงิ ครองขวัญ สุมาทร

23 เดก็ หญิงณัชรชา ปะเสระกงั

24 เด็กหญงิ รนิ รดา ดอกจนั ทร์

25 เด็กหญิงพรพรรณ ดอกสงู เนนิ

26 เด็กหญิงปิญานัส สุทธศิ ลิ

ค่าเฉลีย่ คะแนน

ผลต่างคะแนนท่เี พ่ิมขึ้น

รอ้ ยละทเ่ี พิม่ ข้ึน

แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน

คาชี้แจง ให้นกั เรยี นเลือกค่าตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. งานทศั นศลิ ปข์ องชาติสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ เอกลกั ษณ์ 6. งานสถาปตั ยกรรมมีลกั ษณะเดียวกันกับงานประตมิ ากรรม
ลักษณะใด ในเร่ืองใด
ก. ลักษณะนามธรรม ก. ลักษณะ 3 มติ ิ
ข. ลักษณะการด่ารงชวี ติ ข. ศรัทธาต่อศาสนา
ค. ลักษณะและรปู แบบในอุดมคติ ค. เลียนแบบสงิ่ มชี ีวิต
ง. ลักษณะและรปู แบบของแต่ละทอ้ งถิน่ ง. มงุ่ เน้นประโยชน์ใชส้ อย

2. ลกั ษณะงานจิตรกรรมไทยในสมยั โบราณนยิ มเขยี น ขน้ึ 7. เจดีย์วัดเชยี งม่นั จังหวัดเชียงใหมไ่ ด้รบั อิทธพิ ลจากศลิ ปะ
เพ่อื สง่ิ ใด แบบใด
ก. พุทธบูชาตามผนงั โบสถว์ ิหาร ก. ศิลปะลงั กา
ข. เรอื่ งราวทางศาสนาบนผืนผา้ ข. ศลิ ปะพกุ าม
ค. การใชช้ ีวติ ประจา่ วนั บนผนงั ถ้่า ค. ศลิ ปะศรีวชิ ัย
ง. ประเพณีวฒั นธรรมทศี่ าลาการเปรยี ญ ง. ศิลปะทวารวดี
3. “พระบฏ” คืออะไร 8. ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ มผี ลต่องานทัศนศิลปใ์ นเรอ่ื งใด
ก. จติ รกรรมฝาผนัง ก. รูปแบบงานจติ รกรรม ประตมิ ากรรม สถาปตั ยกรรม
ข. จติ รกรรมแผ่นไม้ ข. รปู แบบงานจติ รกรรม วรรณกรรม นาฏดุริยางคก์ รรม
ค. จิตรกรรมบนผนื ผา้ ค. รปู แบบงานประตมิ ากรรม สถาปตั ยกรรม
ง. จติ รกรรมสมดุ ภาพ วรรณกรรม
4. สถาปตั ยกรรมไทยในสมยั รัชกาลที่ 3 มลี กั ษณะสา่ คัญ ง. รปู แบบงานจติ รกรรม ประตมิ ากรรม นาฏดุริยางค์
อยา่ งไร กรรม
ก. สรา้ งตามแบบแผนในสมัยอยุธยา 9. ความเหมอื นของงานจติ รกรรมท่ีสา่ คญั ทกุ ภาค คือขอ้ ใด
ข. รับแบบอยา่ งสถาปตั ยกรรมตะวนั ตก ก. ความเช่อื ทางไสยศาสตร์
ค. ผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบไทยและจนี ข. ความเชื่อทางศาสนา
ง. แก้ไขพทุ ธลกั ษณะของพระพุทธรูปให้มีลักษณะ ค. การใช้ชีวิตประจา่ วนั
คลา้ ยมนษุ ย์สามัญมากข้ึน ง. พทุ ธประวัติ
5. ประติมากรรมไทยสรา้ งขน้ึ เพื่อวตั ถุประสงคใ์ ด
ก. การค้าขาย 10. ภาคใดที่มีการสร้างพระพุทธรูปปางมารวิชยั
ข. ศรทั ธาต่อศาสนา ก. ภาคเหนือ ภาคกลาง
ค. ใช้ในชีวิตประจา่ วนั ข. ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคใต้
ง. แลกเปลี่ยนในชุมชน ค. ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้
ง. ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

1. ค 2. ก 3. ค 4. ค 5. ข 6. ก 7. ข 8. ก 9. ง 10. ง

แบบสังเกตการประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคล

ประเด็นการประเมิน การให้คะแนน
1. ตรงกับจุดประสงคท์ ก่ี ่าหนด (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)
2. มีความถกู ต้องของเนอ้ื หา
3. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์
4. ความตรงตอ่ เวลา

รวมคะแนน

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
11 - 12 ดีมาก
9 - 10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ากวา่ 6 ปรบั ปรงุ

งานทศั นศิลปข์ องชาตแิ ละของทอ้ งถ่นิ

ใบงาน ลักษณะ รูปแบบงานทศั นศลิ ปข์ องชาติ

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเขยี นอธิบายลักษณะ รูปแบบงานทศั นศลิ ปข์ องชาติ ลงในกรอบที่ก่าหนด

งานสถาปัตยกรรม งานประติมากรรม

ลกั ษณะ รปู แบบ
งานทศั นศิลป์ ของชาติ

งานจิตรกรรม

เฉลย ใบงาน ลักษณะ รปู แบบงานทศั นศิลป์ของชาติ

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนเขยี นอธบิ ายลักษณะ รูปแบบงานทศั นศลิ ป์ของชาติ ลงในกรอบท่ีกา่ หนด

(พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ้สู อน)

ใบงาน ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศลิ ปข์ องท้องถน่ิ

คาชี้แจง ให้นักเรยี นเขียนอธบิ ายลกั ษณะ รปู แบบงานทศั นศิลปข์ องทอ้ งถิ่น ลงในกรอบที่ก่าหนด

งานสถาปัตยกรรม งานประติมากรรม

ลกั ษณะ รปู แบบ
งานทศั นศิลป์ ของท้องถ่ิน

งานจิตรกรรม

เฉลย ใบงาน ลกั ษณะ รปู แบบงานทศั นศลิ ป์ของท้องถน่ิ

คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนเขยี นอธบิ ายลักษณะ รูปแบบงานทศั นศลิ ป์ของทอ้ งถนิ่ ลงในกรอบท่ีก่าหนด

(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อย่ใู นดุลยพนิ ิจของครูผสู้ อน)

งานทศั นศลิ ปใ์ นแตล่ ะภูมภิ าค


Click to View FlipBook Version