รายงานผล
การเข้ารับชมการถา่ ยทอดสดการเตรยี มการจัดการเรยี นการสอน
ของโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปกี ารศกึ ษา 2564
นางสาวนภิ าพร กาหมาแลหมัน
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ
โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม รายงานผลการเขา้ รบั ชมการถา่ ยทอดสด เอกสารลำดบั ที่
สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา การเตรียมการจดั การเรยี นการสอนของ NT-CG-SOC-DOC – 60 /2564
โรงเรียนในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
สงขลา สตลู สำเนาเล่มที่ 1 จาก 2
ปกี ารศึกษา2564
จดั ทำโดย
นางสาวนภิ าพร กาหมาแลหมนั
บันทกึ ข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนนาทวีวทิ ยาคม อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ท่ี ศธ 04338.18 / วนั ที่
เรอ่ื ง รายงานการเข้ารบั ชมการถา่ ยทอดสดการเตรยี มการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นในสังกดั
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปกี ารศกึ ษา 2564
เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม
เรอ่ื งเดมิ
ตามที่ข้าพเจ้านางสาวนิภาพร กาหมาแลหมัน ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา
สตูล ได้เข้ารับชมการถ่ายทอดสดการเตรียมการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัด ศธ
ปีการศึกษา 2564 จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
ทาง https://www.youtube.com/channel นั้น
ขอ้ เทจ็ จริง
บัดนี้ การถ่ายทอดสดการเตรียมการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัด ศธ
ดังกล่าว ได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอนำส่งรายงานการเข้ารับชมการถ่ายทอดสดการจัดการเรียน
การสอนของโรงเรียนในสงั กัดอ ศธ มาพรอ้ มกบั หนังสอื ฉบับน้ี
ขอ้ เสนอเพอ่ื พิจารณา
จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ
ลงชื่อ ..................................................
(นางสาวนภิ าพร กาหมาแลหมัน)
ตำแหนง่ ครู
รายงานการเข้ารบั ชมการถา่ ยทอดสด
การเตรียมการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี นในสังกัด ศธ ปีการศึกษา 2564
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
********************************************************
ความเปน็ มา
นางสาวตรีนชุ เทียนทอง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (รมว.ศธ.) กล่าวภายหลังการ
ประชุมร่วมกับผู้บริหารองค์กรหลักศธ.ถึงการเตรียมความพร้อมก่อนการเปิดภาคเรียนที่ 1/2564
ในวันที่ 1 มิถุนายนว่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ประกาศเลื่อนการเปิดภาคเรียนจาก
กำหนดการเดิมในวันที่ 17 พฤษภาคมเป็นวันที่ 1 มิถุนายนนั้น ซึ่งทำให้นักเรียนมีช่วงระยะเวลาว่าง
11 วันก่อนการเปิดภาคเรียน ดังนั้นตนจึงคิดว่าจะมีวิธีการใดบ้างที่อยากจะเติมเต็มการเรียนรู้
ของนักเรียนแมโ้ รงเรียนหยุดแต่การเรียนของเด็กต้องไม่หยุดการเรียน ดังนั้นที่ประชุมจึงมีข้อสรุปว่า
จะแบ่งการเตรียมความพร้อมช่วงเวลา 11 วันของนักเรียน แยกเป็นการเรียนรู้ในช่วงวันดังกล่าว 2
กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มกจิ กรรมแบบออนไลน์ โดยเป็นการเรยี นรู้ของกลุ่มเดก็ ท่ีมคี วามพรอ้ มในการเข้าถึงส่ือ
ออนไลน์ในรปู แบบต่างๆ และ กลุ่มกิจกรรมแบบออฟไลน์ สำหรับกลุ่มนักเรยี นทีไ่ มส่ ามารถเข้าถงึ สอ่ื
ออนไลน์ได้ ซงึ่ หน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ งภายใน ศธ.ได้ร่วมจัดการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับผเู้ รยี นแตล่ ะช่วงวัย
รมว.ศธ.กล่าวต่อไปว่า ทั้งนี้ในส่วนกิจกรรมออไลน์จะมีคลังสื่อการเรียนรู้ต่างๆแขวนไว้บน
เว็บไซต์ของศธ. โดยส่วนหนึ่งได้รับการสนับสนุนสื่อการเรียนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน (สช.) ขณะที่กลุ่มกิจกรรมออฟไลน์ มอบหมายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(สพท.) ทำหนา้ ทอี่ อกแบบกจิ กรรมรว่ มกับศูนย์บรหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั
โคโรนา 2019 ระดับจังหวัด เพื่อออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น การฝึกทักษะ
อาชีพ หรือการเรียนรู้เรื่องการออมเงินของเด็กแต่ละคน เป็นต้น อย่างไรก็ตามกิจกรรมทั้งออนไลน์
และออฟไลน์ไม่ได้เป็นการบังคับว่าโรงเรียนจะต้องทำทุกแห่ง เพราะเรายังต้องคำนึงถึงมาตรการ
ความปลอดภัยด้านสุขภาพของนักเรียนด้วย อย่างไรก็ตาม ตนจะมีการแถลงข่าวเตรียมความพร้อม
ก่อนเปิดภาคเรยี นอยา่ งเป็นทางการอีกคร้ังในวนั ที่ 11 พฤษภาคมน้ี
ด้านนายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (เลขาฯ กพฐ.) กล่าว
ว่า ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จะทำภารกิจให้เชื่อมโยง
กับนโยบายของรมว.ศธ. คือ ช่วงแรกการเตรียมความพร้อมของครูเรื่องอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน
เพ่อื ใหก้ ารเปิดภาคเรยี นไปแลว้ ทกุ ฝ่ายทีเ่ ก่ียวขอ้ งจะไมเ่ กดิ ความเครียด เนื่องจากเรามบี ทเรียนมาแลว้
1 ปีพบว่าการจัดการเรียนการสอนผ่านออนไลน์เด็กยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์การเรียนที่ดีพอ
แตป่ ีนเี้ ราจะสำรวจความพรอ้ มของเดก็ แต่ละคนวา่ มคี วามพรอ้ มสำหรบั การเรยี นในรปู แบบไหนได้บา้ ง
โดยเบื้องต้นจากการสำรวจพบว่าร้อยละ 50 เด็กต้องการมาเรียนที่โรงเรียน และเป็นพื้นที่สีขาว
ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ดังนั้นครูผู้สอนจะเป็นผู้จัดการเรียนการสอนให้ตามความเหมาะสม
โดยคำนึงถึงความปลอดภัยด้านสุขภาพเด็ก นอกจากนี้จะลดกระแสความกังวลของผู้ปกครอง
ที่ไม่เข้าใจว่าสาเหตุใดถึงต้องมาเปิดเรียนในวันที่ 1 มิถุนายน โดยสพฐ.ได้เตรียมกิจกรรมเสริมทักษะ
อาชีพเป็นหน่วยการเรียนอย่างหลากหลายให้แก่นักเรียนในช่วง 11 วันก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อเป็น
ทางเลือกให้แก่นักเรียน พร้อมประกาศให้เขตพื้นที่เป็นศูนย์การรับนักเรียนสำหรับเด็กที่พลาด
จากการสอบเข้าโรงเรียนดงั และยังไม่มีที่เรียน โดยเขตพื้นที่จะจัดลำดับโรงเรียนที่ว่างไว้ให้ ซึ่งยืนยนั
ว่าเดก็ มีท่ีเรียนทุกคนอย่างแน่นอน ทัง้ นี้ในวันที่ 11 พฤษภาคมรมว.ศธ.จะชแ้ี จงทำความใจใหแ้ ก่ครูทว่ั
ประเทศไดร้ ับทราบนโยบายการเปิดภาคเรยี นดว้ ย
12 นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูใ้ หท้ นั สมัย และทนั การเปลยี่ นแปลงของโลก
ในศตวรรษท่ี 21 โดยม่งุ พฒั นาผู้เรยี นทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะ
ทีเ่ หมาะสมกับบริบทสังคมไทย
2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
อาชวี ศกึ ษา ใหม้ สี มรรถนะทางภาษาและดิจทิ ัล เพอื่ ใหค้ รูและอาจารยใ์ ด้รับการพัฒนาให้มี
สมรรถนะทั้งด้านการจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอน
และการใชส้ ่ือทนั สมัย และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ผลลัพธท์ างการศกึ ษาทเ่ี กิดกับผู้เรยี น
3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลฝานแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP)
และการส่งเสริมการฝึกทกั ษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผดิ ชอบพฒั นา
แพลตฟอร์มการเรียนรู้ดว้ ยดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ี
ทันสมัยและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูล
กลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัด
การศึกษา
4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัด
การศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับ
การปรบั ปรุงเพือ่ กำหนดให้มีระบบบริหารและการจัดการ รวมถงึ การจดั โครงสร้างหน่วยงาน
ใหเ้ อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นการสอนใหม้ ีคุณภาพ สถานศกึ ษาให้มคี วามเป็นอสิ ระและคล่องตัว
การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวดั เป็นฐาน มีระบบการบริหารงานบุคคลโดยยึด
หลกั ธรรมาภิบาล
5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัด
ความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสาย
วิชาชีพ เพื่อให้ระบบการประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา ได้รับการปรบั ปรงุ ให้ทันสมัย ตอบสนองผลลพั ธ์ทางการศึกษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดม
ทรัพยากรทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรทาง
การศึกษามีความเป็นธรรมและสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
ทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจายทรัพยากรทั้งบุคลากรทางการศึกษา งบประมาณและสื่อ
เทคโนโลยไี ด้อย่างท่วั ถงึ
7. การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การ
ปฏิบัติ เป็นการผลิตและการพัฒนากำลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวุฒิ
แห่งชาติ เชื่อมโยงระบบการศึกษาและการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์
ดว้ ยธนาคารหน่วยกติ และการจัดทำมาตรฐานอาชีพในสาขาที่สามารถอา้ งองิ อาเซยี นได้
8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนา
รา่ งกาย จิตใจวนิ ยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาใหส้ มกับวยั เพ่ือเป็นการขบั เคลอื่ นแผน
บูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่
การปฏิบัตเิ ป็นรปู ธรรม โดยหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งนำไปเป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการ
เพ่อื พัฒนาเดก็ ปฐมวยั และมีการตดิ ตามความก้าวหน้าเป็นระยะ
9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบ
การศึกษาระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีพและ
คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีมีส่วนชว่ ยเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทโี ลกได้
10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ใน
การจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีทท่ี ันสมัยมาใช้ในการจัดการศกึ ษาผ่านระบบดิจิทลั
11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา
และผู้เรียนท่ีมคี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ เพอื่ เปน็ การเพิม่ โอกาสและการเข้าถงึ การศึกษาที่
มีคณุ ภาพของกล่มุ ผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผู้เรยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ
12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั โดยยึดหลกั การเรียนรู้ตลอดชีวิต
และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มี
คณุ ภาพของกลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาสทางการศึกษาและผเู้ รียนทีม่ ีความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ
7 วาระเรง่ ด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
• วาระที่ 1 เรื่องความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการใน
การดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน เพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ มีความสขุ และได้รับ
การปกปอ้ งคมุ้ ครองความปลอดภัยท้งั ดา้ นร่างกายและจติ ใจ รวมถึงการสร้างทกั ษะให้ผู้เรียน
มคี วามสามารถในการดแู ลตนเองจากภัยอันตรายต่าง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสังคม
• วาระที่ 2 หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยยึด
ความสามารถของผ้เู รียนเปน็ หลัก และพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ กิดสมรรถนะทตี่ อ้ งการ
• วาระที่ 3 Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้
ข้อมูลภาพรวมการศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และ
สามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
• วาระที่ 4 ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา ( Excellent
Center) สนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent
Center) ตามความเลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความ
ต้องการของประปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือที่
ทนั สมยั สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยปี จั จบุ ัน
• วาระที่ 5 พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของ
ผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชพี และรายได้ที่เหมาะสม และเพ่ิมขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ของประเทศ
• วาระที่ 6 การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยให้มี
คุณภาพและมาตรฐาน ประซาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมี
มาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตามศักยภาพตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรท่ี
เหมาะสมเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มในการเขา้ สสู่ ังคมผ้สู ูงวัย
• วาระที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัด
การศึกษาให้ผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสามารถ
ดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับผู้อื่นในสังคม สามารถช่วยเหลือตนเอง
และมีส่วนร่วมในการพฒั นาประเทศ
แนวปฎิบัติการรับสมัครเด็กเข้าเรียนและการสอบคัดเลือกการรายงานตัวและการมอบตัวใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควดิ -19
งบประมาณบคุ ลากรและงบเงนิ อดุ หนนุ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
\
การดำเนนิ การภายใต้ ครพู ร้อม
การบรู ณาการการเรยี นรู้
การเตรียมความพรอ้ มเปิดภาคเรียรที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
1 ม.ิ ย. 2564 ทุกโรงเรยี นต้องพร้อมในการจดั การเรียนการสอน โดยการเรยี น
การจัดการเรยี นรูโดยการใชก้ ารเรยี นรู้ 5 รูปแบบ
มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
การอำนวยความสะดวกจากหนว่ ยงานต่างๆทมี่ าชว่ ยโรงระยะเวลาในการเตรียมความพรอ้ ม
ชอ่ งทางเลอื กในการเรยี นรู้ Online ในชว่ งเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น
\
\
ภาคผนวก ข
ตารางการอบรม