The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรที่ 6 สมรรถนะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nipapornkamalaeman, 2022-09-03 08:05:41

หลักสูตรที่ 6 สมรรถนะ

หลักสูตรที่ 6 สมรรถนะ

รายงานผลการอบรม

การสรา้ งสอื่ ความร้แู บบปฏสิ มั พันธบ์ นแพลตฟอรม์ การจดั การ
ประสบการณ์การเรยี นรู้ Microsoft 365

หลกั สตู ร

6

นางสาวนภิ าพร กาหมาแลหมัน
ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ
โรงเรยี นนาทววี ทิ ยาคม
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาสงขลา สตูล



หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งส่อื ความรู้แบบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

บนั ทกึ ข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นนาทววี ิทยาคม

ที่ ศธ 04338.18/ วันท่ี ๒๖ กนั ยายน ๒๕๖๔

เร่อื ง หลกั สูตรที่ 6 : การสรา้ งสอ่ื ความรู้แบบปฏิสมั พนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการประสบการณ์การเรยี นรู้

Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience

Platform)

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรยี นนาทววี ทิ ยาคม
เรื่องเดิม
ด้วย นางสาวนิภาพร กาหมาแลหมัน ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่สี อนในรายวชิ า

วทิ ยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ได้เขา้ อบรมหลักสตู รที่ ๖ หลกั สูตรที่ 6 : การ
สรา้ งสอ่ื ความรู้แบบปฏิสัมพนั ธบ์ นแพลตฟอร์มการจัดการประสบการณ์การเรยี นรู้ Microsoft 365 (Interactive
Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) วันเสารท์ ่ี ๒ ตลุ าคม 2564 เวลา
๐๙:00 – 1๒:00 น. น้ัน

ข้อเท็จจรงิ
บัดน้ี การอบรมดงั กลา่ วได้เสรจ็ สิน้ แลว้ ขา้ พเจา้ จึงขอรายงานผลการอบรม ดังเอกสารแนบท้าย
ขอ้ เสนอพิจารณา

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณา

ลงชอื่ ...........................................................
(นางสาวนิภาพร กาหมาแลหมัน)

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม ก

หลักสูตรที่ 6 : การสรา้ งสื่อความรแู้ บบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

คำนำ

เนื่องด้วยสำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ รว่ มกบั บรษิ ัทไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด ไดม้ กี ารจัดอบรมในโครงการพฒั นาหลักสูตร
สมรรถนะครูดิจิทัล OBEC Microsoft Innovative Educator จำนวนทั้งหมด 7 หลักสูตรซึ่งประกอบได้ด้วย

หลักสูตรที่ 1 : NEXT Normal Education Reimagined การบริหารจัดการการเรียนการสอน
ออนไลน์ พร้อมประสบการณจ์ ริงจากผ้บู รหิ ารสถานศึกษา

หลักสูตรที่ 2 : กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนและการจัดประชุมออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพใน
ยุค NEXT Normal (Virtual Classroom and Meeting Guide, Steps and Best Practices in NEXT Normal)

หลกั สูตรที่ 3 : มมุ มองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผ้เู รยี นรสู้ ่กู ารเปน็
พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 "Reimagined Education & Learner for Global Digital
Citizenship in 21st Century"

หลักสตู รท่ี 4 : การสร้าง Blended Learning Platform for NEXT Normal Education
Reimagined ดว้ ย Microsoft 365

หลักสูตรที่ 5 : การออกแบบและเลือกอุปกรณ์ Smart & Safety Virtual Classroom ด้วย
Microsoft Windows

หลักสูตรที่ 6 : การสร้างสื่อความรู้แบบปฏิสัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการประสบการณ์การ
เรยี นรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform)

หลักสูตรที่ 7 : การจัดการสอบดิจิทัลรองรับการเรียนการสอนรูปแบบผสมผสานอย่างปลอดภัย
(Secure Digital Assessment for Hybrid Learning)

ข้าพเจ้าขอขอบคุณสำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ บริษัทไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด และผู้ที่มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย ที่มีส่วนร่วม
ในการจัดอบรมในครั้งนี้เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาได้นำแนวทางไปต่อยอดและเป็นวิธีปฎิบัติเพื่อ เพื่อให้เกิดผล
การจัดการเรียนรู้ที่ลงสู่ผู้เรียนอย่างสูงสุด ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-๑๙)

นางสาวนิภาพร กาหมาแลหมัน

โรงเรียนนาทวีวทิ ยาคม ข

หลักสูตรที่ 6 : การสรา้ งส่ือความร้แู บบปฏิสมั พันธบ์ นแพลตฟอร์มการจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

สารบัญ หนา้

เรือ่ ง ข
บนั ทกึ ข้อความ ค
คำนำ 1
สารบัญ 7
เอกสารประกอบการประชมุ 8
ภาคผนวก 11
ภาคผนวก ก ภาพกจิ กรรมการเขา้ รบั ฟงั
ภาคผนวก ข ภาพเกยี รตบิ ัตร

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม ค

หลักสูตรที่ 6 : การสรา้ งส่ือความร้แู บบปฏิสัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

หลกั สูตรที่ 6 : การสรา้ งสอ่ื ความรแู้ บบปฏสิ มั พนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจดั การประสบการณก์ ารเรยี นรู้

Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform)

การออกแบบการเรียนรู้'เพื่อสร้างประสบการณ : การเรียนรู้สำหรับการศึกษาในยุค NEXT Normal
Education Reimagined ที่ขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับการสร้างประสบการณ:การเรียนรู้ให้กับ
ผู้เรียนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครือ่ งมอื สนับสนุนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีการเรยี นรู้
ตลอดชีวติ มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดแี ละมคี วามสขุ ถือเป็นความท้าทายอย่างย่งิ ของการจัดการศกึ ษาในปัจจบุ ัน
Hybrid Learning เป็นแนวท่ีน่าสนใจสำหรับการจดั การศึกษาในยุคปัจจุบนั โดยเน้นการบูรณาการรูปแบบการ
สอน ส่ือความรู้และกจิ กรรมการทหี่ ลากหลาย

ภมู ทิ ศั นด์ ิจิทัลของไทยในระยะเวลา 20 ปี

ปฏิรปู ประเทศไทยสดู่ จิ ทิ ลั ไทยแลนด์
ดิจิทลั ไทยแลนด์ (Digital Thailand) หมายถงึ ประเทศไทยที่สามารถสรา้ งสรรค์ และใชป้ ระโยชน์จาก

เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน นวตั กรรม ขอ้ มูล ทนุ มนษุ ย์ และทรัพยากร
อื่นใดเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
โดยแผนพัฒนาดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม จะมีเป้าหมายในภาพรวม 4 ประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี

เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยการใช้นวตั กรรมละเทคโนโลยีดิจิทัล
เปน็ เครื่องมือหลกั ในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมการผลต การบริการ
สร้างโอกาสทางสังคมอย่างเท่าเทียมด้วยข้อมูลข่าวสารและบริการต่างๆผ่านสื่อดิจิทัลเพื่อยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนเตรียมความพร้อมให้บุคลากรทุกกลุ่มมีความรู้และทักษะที่เหมาะสมต่อการดำเนินชีวิต

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม 1

หลกั สูตรที่ 6 : การสรา้ งสื่อความร้แู บบปฏสิ มั พนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

ละการประกอบอาชีพในยคุ ดิจิทัลปฏริ ูปกระบวนทัศน์การทำงานและการให้บริการของภาครัฐ ด้วยเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลและการใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมลู เพ่อื ให้การปฏิบตั ิงานเกดิ ความโปร่งใส มีประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล

การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย มุ่งเน้นการพัฒนาระยะยาวอย่างยั่งยืน
สอดคล้องกับการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีแต่เนื่องจากเทคโนโลยีดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ดังนั้น นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้ จึงกาหนดภูมิทัศน์
ดิจิทัล เพื่อกำหนดทศิ ทางการพัฒนาและเป้าหมายใน 4 ระยะ

เพื่อให้วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลบรรลุผล
นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคมจึงได้กำหนดกรอบยุทธศาสตร์การ
พฒั นา 6 ดา้ นคือยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจทิ ัลประสิทธิภาพสูงใหค้ รอบคลุมท่วั ประเทศ

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สรา้ งสังคมคุณภาพท่ที ่วั ถงึ เท่าเทียมด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ปรับเปลยี่ นภาครฐั สกู่ ารเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 พัฒนากำลังคนใหพ้ รอ้ มเขา้ ส่ยู คุ เศรษฐกิจและสงั คมดจิ ทิ ัล
ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 สรา้ งความเชือ่ ม่ันในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล

หลักการออกแบบการเรยี นการสอน Instructional Design

โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม 2

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งส่ือความรแู้ บบปฏิสมั พนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

การจัดการเรยี นการสอน

สำหรับประเทศไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ ซง่ึ มหี น้าทร่ี ับผิดชอบเก่ยี วกบั การจัดการศกึ ษาของประเทศ
ได้กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)
ไว้ 5 รูปแบบด้วยกัน คือ On-site, On-air, On-demand, Online และ On-hand ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการ
ตัดสนิ ใจของผ้บู รหิ ารระดับนโยบาย ผ้บู รหิ ารการศึกษา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ตลอดจนความพรอ้ ม และบริบท
ของแต่ละสถานศึกษา โดยประสานงานรว่ มกบั ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 ระดับจังหวัด (ศบค.จังหวัด) โดยคำนึงถึงการเรียนรู้ และความปลอดภัยของนักเรียนเป็นหลัก ซึ่งจะ
กล่าวถงึ รายละเอียดของการจดั การเรียนการสอนรปู แบบตา่ งๆ พอสังเขป ดังน้ี

1.On-site คอื การเปิดทำการเรยี นการสอนตามปกติ หรือการเรยี นทสี่ ถานศกึ ษา
2.On-air คือ การเรียนรู้ผ่าน DLTV (Distance Learning Television) หรือการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม โดยมลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ทั้งการออกอากาศตามตาราง และ
การเรยี นย้อนหลงั
3.On-demand คือ การเรียนรู้ผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆ ที่ครู และนักเรียนตกลงใช้ร่วมกัน
เช่น Zoom Google classroom เปน็ ต้น
4.Online คือ การเรียนรู้โดยให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนการสอน โดยใช้เครื่องมือจากสถานศึกษา
กระจายไปสู่นักเรียนผ่านสัญญาณอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นรูปแบบที่ถูกใช้ในการจัดการเรียนการสอนจำนวนมาก
ท่ีสดุ
5.On-hand คอื การเรียนรู้ทบ่ี า้ นโดยครูจัดทำเอกสาร หรอื ใบงานให้กับนกั เรียน ซง่ึ อาจเป็นลักษณะ
แบบเรียนสำเร็จรูป โดยมีครูออกไปเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นครั้งคราว หรือให้ผู้ปกครองทำหน้าที่เป็นครูคอย
ชว่ ยเหลอื เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถเรยี นไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม 3

หลกั สตู รท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรแู้ บบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม 4

หลักสูตรที่ 6 : การสร้างสื่อความรแู้ บบปฏิสัมพันธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณ์การเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้แบบ TPACK Model

1. ความร้ดู า้ นเทคโนโลยี (Technological Knowledge) หรือ TK
หมายถึง ความรู้ความสามารถของผู้สอนที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้สื่ออุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา ทง้ั ในเร่อื งของซอร์ฟแวร์ (Software) และ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ต่าง ๆ รวมไปถึงอุปกรณ์ต่อ
พ่วงที่เกีย่ วข้อง (Associated peripherals) เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนที่มีความสอดคล้องและมีความ
เหมาะสมกบั เน้ือหาวชิ าและผู้เรียน เชน่ ผ้สู อนมีความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งของการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้
เทคโนโลยีจากเว็บ 2.0 (Web 2.0 tools) ตา่ ง ๆ เช่น Wiki, Blogs, Facebook เปน็ ตน้

โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม 5

หลกั สตู รที่ 6 : การสรา้ งสื่อความรูแ้ บบปฏิสัมพนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณ์การเรียนรู้

2. ความรู้ด้านวิธกี ารสอน (Pedagogical Knowledge) หรอื PK
หมายถึง ความรู้ความสามารถของผู้สอนที่นำมาประยกุ ต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางการเรียนการสอนให้กบั

ผู้เรียน หรือที่เกี่ยวกับวิธีการถ่ายถอดความรู้ไปสู่ผู้เรียนรวมไปถึงกลยุทธ์ หรือกระบวนการ การปฏิบัติ หรือ
วิธีการสอนทั้งในและนอกชั้นเรียน ในส่วนนี้ไม่ร่วมถึงทฤษฎีการศึกษา (Educational theories) และวิธีการ
ประเมิน (Assessment methods) เช่น การเรียนการสอนโดยใช้วิธีการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
(Problem – based Learning: PBL)วิธีการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning:
PBL) การเรยี นรทู้ ใี่ ช้สมองเป็นหลัก (Brain – Based Learning) วิธีสอนแบบโครงงาน (Project Method)
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self-Study Method)
เปน็ ตน้
3. ความรดู้ ้านเน้ือหา (Content Knowledge) หรอื CK

หมายถึง สาระ, ข้อมูล, แนวคิด, หลักการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการในหลักสูตรที่ต้องการที่จะ
ถา่ ยทอดไปยงั ผู้เรียน เช่น คณติ ศาสตร์, ภาษาไทย, วทิ ยาศาสตร์ หรอื วิชาอน่ื ๆ

โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม 6

หลกั สตู รที่ 6 : การสรา้ งสื่อความรูแ้ บบปฏิสมั พนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

บรรณานกุ รม

โครงการพฒั นาหลกั สตู รสมรรถนะครดู ิจิทลั obec microsoft innovative educator. (20๒๑, ๒
ตุลาคม). หลกั สตู รที่ 6 : การสร้างสอื่ ความรแู้ บบปฏิสมั พนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจดั การประสบการณ์
การเรยี นรู้. สบื ค้นวนั ท่ี ๔ ตลุ าคม 2564, https://learn obec.azurewebsites.net/

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (20๒๑, ๒ ตุลาคม). ภมู ิทศั นด์ จิ ิทลั ของไทย
ในระยะเวลา 20 ป.ี สบื คน้ วนั ที่ ๔ ตุลาคม 2564, https://onde.go.th/

อนุศร หงษ์ขนุ ทด. (2559). แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบ STEM ตามแนวคดิ TPACK Model.
https://krukobblog.wordpress.com/2016/09/29/stem/กองเทคโนโลยสี ารสนเทศ. (๒๕๖๓,
24 เมษายน). วธิ ีการบันทกึ วิดโี อการประชมุ ออนไลน์ - MUIT-Mahidol

โรงเรียนนาทวีวทิ ยาคม 7

หลกั สตู รที่ 6 : การสร้างสอื่ ความรูแ้ บบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณ์การเรียนรู้

ภาคผนวก ก

ภาพกิจกรรมการเขา้ อบรม

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม 8

หลกั สตู รท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรแู้ บบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

โรงเรยี นนาทวีวิทยาคม 9

หลกั สูตรที่ 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอร์มการจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

ภาคผนวก ข

เกียรติบตั รผ่านการทดสอบ

โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม 10

หลักสตู รที่ 6 : การสรา้ งสอ่ื ความร้แู บบปฏิสัมพันธบ์ นแพลตฟอร์มการจัดการ
ประสบการณก์ ารเรียนรู้

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งส่ือความร้แู บบปฏิสมั พันธ์บนแพลตฟอรม์ การ
จดั การประสบการณ์การเรยี นรู้ Microsoft 365 (Interactive

Knowledge Media Development on Learning Experience
Platform)

โรงเรียนนาทวีวิทยาคม 11


Click to View FlipBook Version