The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรายชื่อ เศรษฐศรสตร์พื้นฐาน โดยนำข้อมูลจากหน่วยที่ 6 เศรษฐกิจระหว่างประเทศมาจัดทำเป็นรูปแบบของหนังสือออนไลน์ อิเล็กเทอร์นิค E-bbok

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by shenos _45, 2020-02-28 11:01:58

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

หนังสือรายชื่อ เศรษฐศรสตร์พื้นฐาน โดยนำข้อมูลจากหน่วยที่ 6 เศรษฐกิจระหว่างประเทศมาจัดทำเป็นรูปแบบของหนังสือออนไลน์ อิเล็กเทอร์นิค E-bbok

ม.4-ม.6

หนว่ ยที6

เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ร า ย วิ ช า พื น ฐ า น

จั ด ทํา โ ด ย เ ล ข ที 6
น . ศ . ช นั ญ ชิ ด า เ ป ร ม จิ ต ร เ ล จ ที 1 6
น . ศ . สุ ช ชั ญ ญ า ห ม่ อ ม ขุ น ท ด
มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที 6 / 2

คํานาํ

เหนงั สืออเิ ลก็ เทอร์นคิ (E-Book) เลม่ นจี ดั ทําขึนเพือศึกกษาคน้ ควา้ ความร้เู กียว
กบั เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศในรายวชิ า เศรษฐศาสตร์พืนฐาน โดยในหนงั สือ

เล่มนีประกอบเนอื หาไปดว้ ย การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ การเงนิ
ระหว่างประเทศ การเปดเสรที างเศรษฐกจิ ไทยในยคุ โลกาววิ ัตน์ และ องค์การ

ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ทีสําคญั ในภูมภิ าคต่างๆ ของโลก

ทงั นที างด้านผู้จัดทําหวงั เปนอย่างยิงกวา่ หนังสืออิเล็กเทอร์นกิ เล่มนีจะเปน
ประโยชน์แกผ่ ู้ทเี ขา้ มาศึกษาเปนอยา่ งดี ทางผจู้ ดั ทําขออภยั หากเน้อหาส่วนใดมีขอ้

ผิดพลาดมา ณ ทีนี

คณะผ้จู ัดทํา
นางสาวชนญั ชิดา เปรมจิตร
นางสาวสุชัญญา หมอ่ มขุนทด

สารบญั

ก คํานาํ
ข สารบญั
01 การค้าและหารลงทนุ ระหวา่ งประเทศ
05 การเงินระหวา่ งประเทศ
07 การเปดเสรที างเศรษฐกิจไทยในยุค

โลกาภิวตั น์

1 1 องค์ารความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจที
สาํ คัญในภมู ภิ าคต่างๆของโลก

บทที 1

การค้าและการลงทนุ
ระหวา่ งประเทศ

การค้าและการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ

ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา่ งๆ สว่ นใหญ่ในดลกนเี ปนระบบแบบเปดคอื มี
การตดิ ต่อระหวา่ งประเทศ และการติดต่อกบั ตา่ งประเทศทีสาํ คัญ คือ การค้าและการ
ลงทนุ

1.การค้าระหวา่ งประเทศ

การค้าระหวา่ งประเทศ การซอื ขายสินคา้ และบรการระหวา่ งประเทศ ประเทศ
ทที ําการซอื ขายสนิ คา้ ระหวา่ งกนั เรยกวา่ “ประเทศคคู่ า้ ” สนิ ค้าทแี ต่ละประเทศซอื เรยกวา่
สินคา้ เข้า(imports) และสินค้าทีแตล่ ะประเทศขายไป เรยกวา่ สินคา้ ออก (exports)
ประเทศทซี ือสินคา้ จากต่างประเทศ เรยกวา่ ประเทศผนู้ าํ เขา้ ส่วนประเทศทขี ายสนิ คา้ ให้
ต่างประเทศ เรยกวา่ ประเทศผสู้ ง่ ออก โดยทัวไปแลว้ แตล่ ะประเทศจะมฐี านะเปนทัง
ประเทศ ผนู้ ําสินค้าเขา้ และ ประเทศผู้ส่งสินค้าออกในเวลาเดียวกนั เพราะประเทศต่างๆ
มีการผลิตสนิ คา้ แตกต่างกัน ประเทศทีผลติ สินคา้ ได้เกนิ ความต้องการของผบู้ รโภค
ภายในประเทศ จะมสี นิ ค้าเหลือก็สามารถส่งออกไปขายหรอแลกเปลยี นสนิ คา้ กับประเทศ
อนื ทีผลติ สนิ คา้ ภายในประเทศไม่ได้ หรอตอ้ งใช้ตน้ ทนุ การผลิตทสี ูงกวา่ แตล่ ะประเทศจะ
เลือกผลิตสินคา้ ทีประเทศของตนเอง มปี จจยั การผลิตทีเหมาะสมเพือใหไ้ ดต้ ้นทุนทตี าํ
ทีสดุ

เหตุผลทางเศรษฐกิจทที าํ ให้ประเทศตา่ งๆ ในโลกทําการคา้ ขายกนั เปนเพราะวา่
ไมม่ ีประเทศใดในโลกสามารถผลติ สนิ คา้ และบรการ ทกุ อย่างไดค้ รบและเพยี งพอกับ
ความตอ้ งการของผู้บรโภคภายในประเทศ ถงึ แม้วา่ บางประเทศจะมีขีดความสามารถ
ผลิตสินคา้ ได้ทกุ อยา่ ง แต่อาจจะมตี ้นทนุ การผลิตทีสูงกวา่ ซึงไมค่ มุ้ ค่าตอ่ การลงทนุ การที
แตล่ ะประเทศผลิตเฉพาะสนิ ค้าทตี นมคี วามถนดั หรอมีความไดเ้ ปรยบจึงเปนสงิ ทีคมุ้ คา่
และเกดิ ประโยชนแ์ ก่ทุกประเทศร่วมกัน ดงั นันการค้าระหวา่ งประเทศจงึ เกิดขึนถอื วา่
เปนการแบ่งงานกนั ทําระหวา่ งประเทศตามความชาํ นาญของประชาชน
ทรัพยากรธรรมชาติและภมู อิ ากาศในแตล่ ะประเทศซงึ เปนการใช้ทรัพยากรของโลกให้
เกิดประสทิ ธภิ าพ

ผา้ ไหมไทย หรอผ้าทอ ทีเปนงานฝมือทีต้องใชค้ วามละเอียดอ่อนและประณตี ค่อน
ข้างสูง ยิงงานละเอยี ดเท่าไหร่ มูลคา่ ก็ยงิ สูงขนึ และชาวต่างชาตกิ ็ไม่เกียงทีจะซอื
เลย หรออาจจะใช้ผา้ ไหมไทยและผ้าทอเปนวัสดุ นาํ ไปต่อยอด เพอื สร้างมูลค่า เช่น

เสอื ผา้ กระเปา หรอผ้าคลมุ ไหล่

ประโยชนข์ องการค้าระหวา่ งประเทศ

สินคา้ ในประเทศทีมจี าํ นวนมากพอกบั การจาํ หน่ายในประเทศ เรากจ็ ะทาํ การส่งออก
ไปจําหน่ายนอกประเทศ เพอื สร้างรายได้ให้กบั ประเทศชาติ ในขณะเดยี วกนั เรากร็ ับ
สนิ คา้ จากตา่ งประเทศเขา้ มาเพอื ใหผ้ ู้บรโภคชาวไทยไดใ้ ช้สนิ คา้ ทีหลากหลายและมีความ
ทนั สมยั ทีประเทศไทยผลิตเองไมไ่ ด้ หรอผลิตยงั ไม่มคี ณุ ภาพเทยี บเท่าต่างชาตนิ ันเอง
ทงั นีเปนการสร้างสัมพนั ธ์ไมตรระหวา่ งประเทศใหแ้ น่นแฟน และทําธุรกจิ อนื ๆ ร่วมกัน
ได้อกี ขณะเดยี วกนั รัฐบาลก็ยืนมอื มาดแู ลไมใ่ ห้เกิดการเอารัดเอาเปรยบหรอฉ้อโกงกันได้
จึงทําให้การทาํ การคา้ ระหวา่ งประเทศนนั

นโยบายการค้าระหวา่ งประเทศ

นโยบายการค้าระหวา่ งประเทศ หมายถึง มาตรการทรี ัฐวางไวเ้ พือดาํ เนนิ การเกียว
กับ การส่งออกและ นาํ เขา้ ระหวา่ งประเทศ แบ่งเปน 2 นโยบาย ดังนี                 
1. นโยบายการค้าเสร 
เปนการค้าโดยปราศจากการแทรกแซงใด ๆ จากรัฐบาล ใน กิจการคา้ ระหวา่ งประเทศ
ทาํ ให้การแข่งขันในตลาดเปนการแข่งขันอยา่ งสมบรู ณ์และราคา สินคา้ เปนไปตาม กลไก
ของตลาดลกั ษณะของนโยบายการคา้ เสร                                  
1. การผลติ สินค้าจะใชห้ ลักการแบ่งงานกนั ทาํ                                   
2. รัฐบาลแต่ละประเทศจะใหส้ ิทธิแกท่ กุ ประเทศเหมอื นๆ กันในการคา้ ระหวา่ ง
ประเทศ                                  
3. ไมม่ ขี ้อจํากัดทางการคา้ ไมว่ า่ จะเปนเรองการเก็บภาษีอากร หรอการจํากัด
โควต้า                 
2. นโยบายการคา้ ค้มุ กนั หรอการค้าคุม้ ครอง หมายถงึ การทรี ัฐบาลเขา้ แทรกแซงการค้า
ระหวา่ งประเทศ เพราะเกรงวา่ การผลติ ภายในประเทศจะแขง่ ขนั กบั สนิ คา้ นําเขา้ ไมไ่ ดโ้ ดย
ใช้ มาตรการต่าง ๆ ดังน ี                                  
(1) การตงั กาํ แพงภาษ ี สนิ คา้ นําเขา้ ทีตอ้ งการกีดกันจะตงั ภาษีนาํ เข้าสูง โดยการ กําหนด
การเก็บอัตราเดียวไม่วา่ จะนาํ เขา้ จากประเทศใดก็ตาม หรอกาํ หนดเปนหลายอัตรา สําหรับ
เก็บกบั ประเทศตา่ ง ๆ ไม่เท่ากนั ก็ได ้                                  
(2) การกาํ หนดโครงสร้างสนิ ค้า คอื การจํากดั สนิ ค้านาํ เขา้ และสง่ ออกมใิ หเ้ กนิ กวา่ ที
รัฐบาล กําหนดไว้ เพือแกป้ ญหาขาดดลุ การชาํ ระเงนิ ระหวา่ งประเทศ เพือชว่ ยสง่ เสรม
การผลติ ภายในประเทศ ทําให้ การจ้างงานขยายตวั รายไดส้ งู ประชาชนอยู่ดกี นิ ดขี นึ
เปนต้น                                  
(3) กลุ่มผกู ขาดระหวา่ งประเทศ หมายถึง การรวมกล่มุ ของผู้ผลติ จากหลายประเทศ เพอื
กําจดั การแขง่ ขันสนิ ค้าชนิดเดียวกนั ใหเ้ กิดอาํ นาจผูกขาดและไดร้ ับกําไรสงู สุด ปจจบุ นั
กลุ่มผูกขาด ได้แก่ กล่มุ ผผู้ ลิตนํามนั ส่งออกโอเปค                                  
(4) การทุ่มตลาด คือ การขายสนิ ค้าในต่างประเทศในราคาทตี ํากวา่ ราคาตลาด ภายใน
ประเทศ                                  

(5) การใหเ้ งินอดุ หนนุ สนิ คา้ ออก คอื การใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษแก่ผู้สง่ ออกและผผู้ ลติ ภายใน
ประเทศ เพือให้อยใู่ นระดับแขง่ ขันกับต่างประเทศได้                                  
(6) รัฐทําการค้าเอง คือ การคา้ ระดับประเทศทีมกี ารวางแผนจากส่วนกลางโดย รัฐเปน
ผู้วางแผนหรอตดั สนิ ใจนําเขา้ หรอส่งออกสนิ ค้าอะไร จํานวนเท่าใด

2.การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ

การลงทุนระหวา่ งประเทศก็คือการทีผปู้ ระกอบการจากประเทศหนงึ ไมว่ า่ จะเปนทงั
จากรัฐบาลหรอจากเอกชนมกี ารนําเงนิ ทนุ ทรัพย์สิน หรอเทคโนโลยีต่างๆ ไปทาํ การ
ลงทนุ ในอกี ประเทศหนงึ ซึงผูถ้ ือหนุ้ สามารถเข้าไปดําเนินการควบคมุ กจิ การได้จากการทมี ี
สดั สว่ นสําหรับการถือหนุ้ อยู่จาํ นวนหนงึ ซงึ สดั ส่วนของการถอื หุ้นทีวา่ นที ําให้การเข้าไป
ควบคุมกจิ การของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกนั ออกไป ปกติแลว้ การถอื หุน้ สามญั
หรอหุ้นทีมีสิทธใิ นการออกเสียงแคถ่ อื ประมาณ 10-25% ก็สามารถเข้าบงั คบั ควบคมุ
ธุรกจิ ระหวา่ งประเทศได้แล้วเชน่ กนั ซงึ การลงทนุ ระหวา่ งประเทศนีสามารถลงทุนไดท้ งั
แบบทางตรงและการลงทุนแบบทางออ้ มดว้ ย

การให้ก้ยู มื และการลงทนุ ในหลักทรพั ย์

อตั ราผลกระทบตอบแทนทคี าดวา่ จะได้รับ ผ้ลู งทุนจะตัดสนิ ใจให้กู้ยืมหรอลงทุนซือ
หลกั ทรพย์ในตา่ งประเทศกต็ อ่ เมอื เขาคาดวา่ อตั ราผลตอบแทนทจี ะได้จากการลงทนุ นนั
สงู กวา่ การลงทุนในประเทศ รวมทงั การมพี ิจารณาถงึ ความเสยี งตา่ ง จากการลงทนุ
เชน่ การลงทุนซอื ธนบัตรทมี ีความเสยี งจากการล้มละลายของกิจการทลี งทุนและความ
เสยี งจากการเปลยี นแปลงราตาของหลกทรพย์ในตลาด

การลงทนุ โดนตรง

การเคลอื นย้ายทุนจากประเทศหนึงไปยงั อกี ประเทศหนงึ โดยเจ้าของทุนยงั มีอาํ นาจ
ในการดแู ลกิจการทตี นเองเปนเจา้ ของ เปนการนาํ เงนิ ไปลงทุนโดยผู้ลงทนุ เขา้ ไปดําเนนิ
กิจการ มีการนําทรัพยากรการผลิต แรงงานและเทคโนโลยเี ข้าไปยังประเทศทลี งทุนสว่ น
ใหญ่เปนการลงทนุ ในระยะยาว การลงทุนในลกั ษณะนีคอื การลงทุนในรูปบรษัทข้าม
ชาตทิ ีมบี รษัทแมอ่ ยใู่ นประเทศทีเปนเจา้ ของทุนและมีบรษทั ทเี ปนเครอข่ายสาขาอยู่ใน
หลายประเทศ ในปจจบุ ันการลงทนุ โดยตรงสว่ นใหญ่ จะอยใู่ นรูปของการดาํ เนินงาน
โดยวสาหกิจ และมีสถาบันการเงนิ ของเอกชนเปนผูจ้ ดั หาเงนิ ทุนสาํ หรับการลงทนุ ใน
โครงการตา่ งๆ

บทที 2

การเงินระหวา่ งประเทศ

การเงินระหวา่ งประเทศ

การเงินระหวา่ งประเทศ เปนการแสดงความสมั พนั ธ์ทางด้านการเงนิ ระหวา่ ง
ประเทศหนึงกับอกี ประเทศหนงึ ซึงความสมั พันธ์นีสบื เนอื งมาจากการค้าขายระหวา่ ง
ประเทศ การก้ยู ืมเงนิ และการชําระหนี การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ และการชว่ ยเหลอื กนั
ระหวา่ งประเทศ

1.เงินตราต่างประเทศและการแลกเปลียน

การนําเงินตราสกลุ หนึงไปแลกเปลียนกบั อกี สกุลหนึง
การแลกเปลยี นเงนิ ตราเปนสิงทสี ําคัญในการดาํ เนนิ ธุรกจิ ระหวา่ งประเทศ การแลก
เปลยี นเงนิ ตราตา่ งประเทศทถี ูกต้องนนั ตอ้ งแลกทีธนาคารพาณชิ ย์ ซงึ มีการกําหนด
อัตราแลกเปลยี นไว้ 2 อยา่ ง คือ
1.อตั ราซอื (Buying) คอื อัตราทธี นาคารรับซือ (ราคาตํา)
2.อตั ราขาย (Selling) คือ อตั ราทีธนาคารขายไป (ราคาสงู )
ซงึ อตั ราแลกเปลียนทงั 2 ประเภท ธนาคารกลางเปนผู้กาํ หนด โดยเทยี บค่าเงนิ ของตน
กบั ทองคาํ หรอเงินตราสกุลอืนๆ ภายใต้เงือนไขทกี องทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศกาํ หนด
ปจจบุ นั ประเทศไทยกาํ หนดการแลกเปลียนเงินตราระหวา่ งประเทศเปนแบบ “ลอยตัว”
ชนดิ มกี ารจัดการจะใชอ้ ปุ สงค์และอุปทานของเงินตราเปนตัวกาํ หนดอตั ราแลกเปลียน
ซงึ ขนึ อย่กู บั สถาบนั การเงินทที ําการแลกเปลยี นเงินตรา แตอ่ ยู่ในความดแู ลของธนาคาร
กลาง
คา่ เงนิ แขง็ คอื เงินสกลุ ใดแข็งแสดงวา่ เงนิ สกุลนนั มีคา่ สูงขึน เช่น เงินบาทแข็งค่า เดิม
1 ดอลลาร์ USเทา่ กับ 40 บาท จะเปน 1 ดอลลาร์ US เท่ากบั 38 บาท
คา่ เงนิ ออ่ น คอื เงนิ สกลุ ใดอ่อนแสดงวา่ เงนิ สกุลนนั มคี ่าลดลง

2.ดลุ ยการชาํ ระเงินระหวา่ งประเทศ

รายงานทแี สดงถึงยอดรายได้และรายจา่ ยทีประเทศไดร้ ับหรอจ่ายใหแ้ กต่ ่าง
ประเทศในระยะเวลา 1 ป บัญชตี ่างๆ ทีใชแ้ สดงรายงานดุลการชาํ ระเงินระหวา่ งประเทศ
มอี ยู่ 3 บญั ชี คือ

บญั ชเี ดนิ สะพัด เปนบัญชีแสดงรายรับและรายจา่ ยเกยี วกับสนิ คา้ เขา้ และสนิ คา้ ออก หรอ
ดุลการค้ารวมทังดุลบรการ และดลุ บรจาค

บัญชีทุนเคลือนยา้ ย เปนบญั ชที แี สดงเกยี วกับการนําเงนิ ทนุ ไปลงทุนระหวา่ งประเทศ

บัญชีทนุ สาํ รองระหวา่ งประเทศ เปนบญั ชีทแี สดงการเปลยี นแปลงของจํานวนเงนิ สาํ รอง
ระหวา่ งประเทศในแต่ละป

ลักษณะของดุลการชําระเงินระหวา่ งประเทศ แบ่งออกเปน 3 ลักษณะ คือ
ดุลการชาํ ระเงินเกินดลุ คอื รายรับสงู กวา่ รายจ่าย (ทําใหเ้ งนิ ทุนสาํ รองเพิมขึน)
ดุลการชาํ ระเงินขาดดลุ คือ รายรับตาํ กวา่ รายจา่ ย (ทําใหเ้ งินทุนสํารองลดลง)
ดุลการชาํ ระเงินไดด้ ุล (สมดุล) คอื รายรับเท่ากบั รายจา่ ย (ทาํ ให้เงนิ ทนุ สาํ รองไมเ่ ปลยี น)
ความคิดเหน็

บทที 3

การเปดเสรที างเศรษฐกิจ
ไทยในยุคโลกาภิวตั น์

การเปดเสรที างเศรษฐกิจไทยในยุคโลกาภิวตั น์

ปรากฏการณท์ ีเกดิ ขนึ ในโลกยคุ ใหม่ทตี ังอยบู่ นฐานของเทคโนโลยี  อนั นําไปสู่
ความเปลยี นแปลงทเี ร่งเร็วขนึ ในทกุ ระดับของสังคมมนษุ ย์ แต่เรมเปนทนี ิยมใช้ในแวดวง
วชาการและสอื สารมวลชน ยงั ครอบคลมุ ทงั ดา้ นการเมือง เศรษฐศาสตร์ วฒั นธรรมและ
เทคโนโลยกี ารสือสาร  รวมทังยังมีอิทธิพลต่อความคดิ ความเชือของคนจาํ นวนมากใน
ยคุ สมัยใหม่ ซงึ จะเปนลักษณะของปรากฏการณท์ หี ลอมรวมความสมั พนั ธ์ทางการเมอื ง
เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ทเี กดิ ขนึ ในทกุ มมุ สว่ นของโลก ใหม้ คี วามเปนอันหนึง
อันเดยี วกันและใกลช้ ิดกนั มากขึนตามแบบอยา่ งโลกตะวนั ตก

1.ววิ ฒั นาการของการเปดเสรที างเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวตั น์

ประเทศไทยมกี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกับต่างประเทศมานานแล้ว แตก่ ารลงทนุ จากต่าง
ประเทศเพงิ มาเรมเมือมกี ารทําสนธสิ ญั ญาเบาวร์ งกบั องั กฤษใน พ.ศ.2398 ในรัชสมัย
พระาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั มผี ลทาํ ใหไ้ ทยต้องยกเลิกการผูกขาดทางการคา้ ขอ
พระคลังสนิ คา้ และเปดให้ต่างชาติเข้ามาลงทนุ โดยเสร ซงึ นบั เปนจุดเรมต้นทีทาํ ให้
เศรษฐกิจไทยเขา้ ไปเปนส่วนหนงึ ของเศรษฐกจิ โลกจนกระทงั ปจจบุ นั

2.ปจจยั ทางเศรษฐกิจทีมผี ลต่อการเปดเสรที างเศรษฐกิจไทย

จากววฒั นาการทางงการเปดเสรทางเศรษฐฏจิ ดังกล่าวอาจจาํ แนกปจจัยทมี ผี ลตอ่
การเปดเสรทางเศรษฐกิจของไทยออกกวา้ งๆได้ 3 ประการดังนี

นโยบายสง่ เสรมิ กองทนุ

ใน พ.ศ.2502 ใหร้ ัฐบาลสง่ เสรมลงทุนของภาคเอกชนทงั ชองไทยและตา่ งประเทศ
รัฐบาลจึงเรมส่งเสรมการลงทุนอยา่ งจรงจัง มีการออกกฏหมาย คือ พระราชบญั ญตั ิส่ง
เสรมารลงทนุ เพอื กจิ การอุตสาหกรม พ.ศ.2503 และนับแต่นนั มาจงึ เรมมเี งินทนุ จากต่าง
ประเทศไหลเข้ามามากขนึ

ผลกระทบจากเศรษฐกิจภายนอก

สถานการ์ณทางเศรษฐกิจโลกมคี วามสาํ คัญทที ําให้เศรษฐกจิ ไทยเข้าไปเปนส่วน
หนงึ ของเศรษฐกิจโลกมากขนึ เชน่ มีการสาํ สนธสิ ัญญาเบาวร์ ง ใน พ.ศ.2398 ทําให้
ต้องยอมเปดประเทศใหต้ ่างชาติเขา้ มาลงทนุ ได้อย่างเสร

การมสี ว่ นรว่ มในระบบเศรษฐกิจและการเมอื งของโลก

การตดิ ต่อับประเทศตา่ งๆ ทาํ ให้ประเทศไทยเข้าไปมสี ว่ นร่วมในระบบเศรษฐกจิ
และการเมืองของโลกในเวทีต่างทังระดับพหุภาคี ภมู ิภาค อนภุ ูมิภาค และทวภาคี

1) การเข้าร่วมเวทีเศรษฐกิจโลกระดบั พหุภาคี ไดแ้ ก่ การเข้าเปนสมาชิกองค์กร
เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศต่างๆ เช่น ธนาคารโลก กองทนุ ระหวา่ งประเทศ 

2) การเข้าร่วมกล่มุ ระดบั ภาค ได้แก่ การเข้าเปนสมาชกิ สมาคมประชาชาติแหง่
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้หรออาเซ๊ยน และเขตการคา้ เสรอาเซ๊ยนหรออาฟตา รวมทังการ
เปนสมาชิกความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟกหรอเอเปก 

3) การรรวมกลุม่ ระดบั อนุภมู ภิ าค เชน่ กลมุ่ เขตเศรษฐกจิ สามฝาย อนิ โดนเี ซย๊ -
ไทย-มาเลเซย๊ โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภาคลุ่มแน่นําโขง 
โครงการความรเรมแห่งอ่าวเบงกอลสําหรับความร่วมมอื หลากหลายสาขาทางวชาการ
และเศรษฐกจิ เปนต้น

4) ความร่วมมือระดบั ทวภาคี ซงึ เปนการตกลงระหวา่ งประเทศสองประเทศใน
การดาํ เนินการตามขอ้ ตกลงทกี าํ หนด เชน่ การจดั ทาํ ความตกลงการคา้ เสรไทย-ออสเต
เลีย
และไทย-ญปี นุ เปนตน้

3.ผลกระทบของการเปดเสรกี ารค้าต่อเศรษฐกิจไทย

โลกาภิวตนก์ อ่ ให้เกิดกวา้ งหรอเปดเสรในเรองของการค้า การลงทุน และการเงิน
ระหวา่ งประเทศ จงึ สง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐฏิจของประเทศตา่ งๆ ทวั โลก ซงึ มที ังผลทาง
บวกและทางลบ ประเทศทไี ด้ประโยชน์อยา่ งมากจากการเปดเสร กค็ อื ประเทศทีมคี วาม
เขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ สมารถปรับตัวเพอื ตอ่ ส้แู ละแสวงหาประโยชน์จากกลไกลตลาดได้
ในขณะทีประเทศทอี อ่ นแอทางด้านเศรษฐกจิ อาจะไดร้ ับผลประโยชนส์ ่วนหนงึ ขณะ
เดียวกนั กถ็ กู เอารัดเอาเปรยบจากประเทศอืนไดง้ ่าย

ผลดีของการเปดเสรกี ารค้าต่อเศรษฐกิจไทย

การเปดเสรทางการคา้ ส่งผลดตี ่อการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของไทย ดงั นี

1) เกิดการเจรญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ทําให้มกี ารติดต่อค้าขายสินคา้ และลงทนุ
ระหวา่ งประเทศเพมิ ขึน กลา่ วคือ ระบบเศรษฐกจิ ทีมีการแขง่ ขนั สมบูรณ์จะก่อให้เกิดการ
จัดสรรทรัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ทงั ผ้ผู ลตและผูบ้ รโภคจะไดร้ ับประโยชนส์ งู สดุ

2) เกดิ การพฒั นาเทคโนโลยีและการเพมิ ความสามารถในการผลิตของแรงงาน
การเปดเสรทางเศรษฐกจิ สง่ ผลใหก้ ารเคลือนยา้ ยสนิ คา้ และปจจยั การผลิตต่างๆ เปนไป
ได้โดยสะดวกการลงทุนจากตา่ งประเทศทเี พ่มขึนทําใหม้ กี ารนาํ เข้าเทคโนโลยหี รอมีการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆเพิมขึน เกิดการพัฒนาเทคโนโลยกี ารผลิต ทาํ ใหเ้ กดิ
แรงงานการผลติ สินค้าไดม้ ากขึน

ผลกระทบจากการเปดเสรที างการค้าต่อเศรษฐกิจไทย

นอกจากผลดดี ังกลา่ วแล้ว การเปดเสรอาจกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่างๆดงั นี

1) เกดิ การพึงพาทางเศรษฐกจิ การเปดเสรอาจนําไปสปู่ ญหาเสถียรภาพของระบบ
เศรษฐกจิ ทงั เสถียรภาพภายใจและภายนอก อันเดิ จากความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลกยงิ
มีการเปดเสรมากหรอพงึ พาภายนอกมากจะยิงมผี ลตอ่ เสถียรมากเพียงนนั

2) เกดิ การครอบงาํ จากตา่ งชาติ การดําเนนิ การของบรษทั ขา้ มชาตซิ ึงมเี ทคโนโลยี
ทีทนั สมัย และมีเงนิ ทนุ สงู เชน่ ธรุ กิจอุตสาหกรรมยานยนต์ ธุรกิจปลีกขา้ มชาติ ทาํ ให้
ประกอบการไทยเสียเปรยบ

3) เกดิ ความไม่เปนธรรมในการกระจายรายได ้ กลุ่มผู้มรี ายไดส้ ูงมักเปนกลุม่ ที
ประกอบอาชพี ในสาขาการผลิตทีทันสมัย คือ สาชาบรการและสาขาอตุ สาหกรรม โดย
เฉพาะ อุตสาหกรรมเพือการสง่ ออก ขณะทีผู้ประกอบอาชพี เกษตรกรรมสว่ นใหญย่ ังมี
ฐานะยากจน

4) เกดิ การเสือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิงแวดลอ้ ม การเปดเสรโดยมงุ่
เน้นการผลติ เพือส่งออกเปดโอกาศให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนกอบโกยผลประโยชนจ์ ากการ
ใชท้ รัพยากรของประเทศกาํ ลงั พฒั นา การใชเ้ ทคโนโลยีทีมกี ารใชเ้ ครองจักรเปนสว่ น
ใหญท่ าํ ใหม้ ีการจ้างงานเพมิ ไมม่ าก นอกจากนกี ย็ ังกอ่ ใหผ้ ลกระทบตอ่ สงิ แวดล้อม คอื
มลพิษต่างๆ เช่น นําเสยี ฝนุ ละออง อากาศเปนพษิ

5) ส่งผลกระทบตอ่ ภาคการเกษตร การเปดเสรการคา้ ทาํ ใหไ้ ทยสามารถส่งออก
สินค้าเกษตรได้มากขนึ แตก่ ็ยงั สร้าปญหาให้แกเ่ กษตรกรบางสว่ น ตวั อยา่ งเชน่ การเปด
เสรการค้ากบั จีบตงั แต่ พ.ศ.2546 สง่ ผลใหม้ ีการยกเลกิ ภาษนี ําเขา้ พชื ผักและผลไม้
ระหวา่ ง ไทย-จนี จํานวนมาก เช่น กระเทียว หอม มะเขือเทศ พชื ผักเมืองหนาว ลาํ ไย
มงั คุด ทเุ รยน เปนต้น

7) ส่งผลกระทบต่อภาคอตุ สาหกรรม การเปดเสรทางเศรษฐกจิ ส่งผลกระทบตอ่
โครงสร้างการผลิตของประเทศอย่างเหน็ ไดช้ ดั ในชว่ งของการเรมใช้แผนพฒั นา สินค้า
ส่งออกส่วนใหญข๋ องไทยเปนสนิ คา้ เกษตร ขณะทสี นิ คา้ อุตสาหรกรรมมกี ารส่งออกใน
ระดับไม่มากนกั จนกระทงั มกี ารพฒั นาเศรษฐกิจทงั ภายในประเทศและรหวา่ งทางอย่าง
ต่อเนอื งจนถึงปจจุบนั

บทที 4

องค์การความรว่ มมอื ทาง
เศรษฐกิจทีสาํ คัญใน
ภมู ภิ าคต่างๆของโลก

องค์การความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจทีสาํ คัญในภมู ภิ าค
ต่างๆของโลก

ในยุคโลกาภวิ ตั น์ประเทศตา่ ง ๆ ตอ้ งประสานประโยชนแ์ ละพงึ พากันอย่างเปน
ระบบ จงึ ตอ้ งรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ และปจจบุ ันเปนโลกไร้พรมแดนมกี ารซอื ขายทาง
อนิ เทอร์เน็ต มีเครอข่ายโยงถงึ กันไดส้ ะดวกรวดเร็ว ทาํ ใหเ้ กดิ ความสมั พันธ์ระหวา่ ง
เศรษฐกจิ ไทยและโลก แตท่ ุกประเทศมีปญหาเศรษฐกิจแตกตา่ งกัน ประเทศไทยก็มี
ปญหาเศรษฐกิจทงั ภายในและภายนอกประเทศทีทกุ ฝายต้องร่วมกันแกไ้ ขปญหา

1.องค์การการค้าโลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนองคก์ ารนานาชาติสงั กัดองค์การสหประชาชาต ิ (UN) ทาํ หน้าทีเกยี วขอ้ งกับข้อ
ตกลงทางดา้ นการค้าระหวา่ งชาติ เปนเวทสี าํ หรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจดั ข้อขัด
แยง้ ในเงือนไขและกฎเกณฑท์ างการค้าและการบรการระหวา่ งประเทศสมาชกิ

องคก์ ารการค้าโลกจดั ตงั ขึนแทนความตกลงทัวไปวา่ ดว้ ยการคา้ และภาษี
ศุลกากร เมือวนั ที 1 มกราคม พ.ศ. 2538 สาํ นักงานใหญต่ ังอยทู่ ีนครเจนวี า ประเทศส
วตเซอร์แลนด ์ ปจจุบนั มีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน

นโนยายทางฌสรษฐกิจทีสาํ คัญ

การดาํ เนินการขององค์การการค้าโลกมหี ลักการสาํ คญั ดังนี

1.กําหนดใหใ้ ชม้ าตราการทางการค้าระหวา่ งประเทศโดยไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ คือให้
ปฏบิ ตั ิตอ่ สนิ ค้าจากประเทศสมาชิกอยา่ เทา่ เทยี มกัน

2.ห้ามใชม้ าตราการจํากัดการนําเข้าและส่งออกทกุ ชนดิ ยกเวน้ ในกรณฉี ุกเฉนิ และ
จําเปนประเทศสมาชิกสามารถใช้มาตรกาาคุ้มกันชวั คราวในกรณีทมี ีการนาํ เขา้ มาผิดปกติ
และสามารถจํากัดการนําเข้าเพอื จดุ ระสงคใ์ นการแก้ไขการขาดดลุ การชาํ ระเงินระหวา่ ง
ประเทศ

3.ให้มีการรวมกลุ่มทางการคา้ เพอื ลดภาษรี ะหวา่ งกนั ไดห้ ากมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื ขยาย
การคา้ ประเทศสมาชกิ สามารถตกลงรวมกลุม่ เพอื ขยายการคา้ ระหวา่ งกันได้ แตม่ ีเงอื นไข
วา่ การรวมกลมุ่ ต้องไมม่ จี ดุ ประสงคเ์ พอื กีดกนั การนาํ เขา้ สนิ คา้ จากประเทศนอกกลุ่ม และ
เมอื รวมกลุ่มกันแลว้ ตอ้ งไมก่ ระทบต่อลประโยชนเ์ ดิมของประเทศนอกกลุม่

4.กระบวนการยุติข้อพพิ าททางการคา้ เมือเกดิ มีขอ้ ขัดแยง้ ทางการคา้ ใหห้ ารอ เพือ
หาทางยตุ ิขอ้ พพิ าท หากไม่สามารถหาขอ้ สรุปได้ใหน้ ําเรองสู่กระบวนการยุตขิ ้อพพิ าท โดย
การยืนเรองตอ่ องคก์ รระงับข้อพพิ าททาง WTO เพือจัดตังคณะผู้พจิ ารณาขึนพจิ ารณา
และรายงานผลใหป้ ระเทศสมาชกิ อนื ร่วมกันพจิ ารณาบังคบั ใหเ้ ปนไปตามผลพิจารณาของ
คณะผู้พจิ ารณาหากไม่ปฏบิ ตั ิตามตดั สนิ ประเทศผเู้ สียหายสามารถทาํ การตอบโต้ทางการ
ค้าได้

5.ให้สิทธพิ ิเศษแกป่ ระเทศกาํ ลงั พัฒนาในการปฏิบตั ิตามพันธกรณี ผอ่ นผนั ให้
ประเทศกาํ ลงั พัฒนาในการปฏบิ ัติตามพนั ธกรณี ผอ่ นผนั ให้ประเทศกาํ ลงั พัฒนามรี ะยะ
เวลาในการปฏบิ ัตติ ามพันธกรณที ียาวนานกวา่ จํากดั การนําเขา้ ไดห้ ากมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื
การพัฒนาเศรษฐกิจและรักษาเสถียรภาพดลุ การชาํ ระเงิน และสทิ ธพิ เิ ศษทางศุลกากรแก่
ประเทศกาํ ลังพฒั นา

2.สหภาพยุโรป

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนองคก์ ารนานาชาติสังกัดองค์การสหประชาชาต ิ (UN) ทาํ หนา้ ทีเกยี วข้องกบั ขอ้
ตกลงทางดา้ นการคา้ ระหวา่ งชาติ เปนเวทสี าํ หรับการเจรจาตอ่ รอง ตกลงและขจัดขอ้ ขดั
แย้งในเงอื นไขและกฎเกณฑ์ทางการคา้ และการบรการระหวา่ งประเทศสมาชิก

องค์การการค้าโลกจดั ตังขนึ แทนความตกลงทัวไปวา่ ดว้ ยการค้าและภาษี
ศุลกากร เมือวนั ท ี 1 มกราคม พ.ศ. 2538 สาํ นักงานใหญต่ ังอยทู่ นี ครเจนวี า ประเทศส
วตเซอร์แลนด์ ปจจบุ นั มสี มาชิก 164 ประเทศและดนิ แดน

สหภาพยุโรปดาํ เนินการผ่านระบบผสมระหวา่ งสหภาพเหนือชาตแิ ละความร่วมมอื
ระหวา่ งรัฐบาล[8][9][10] องค์กรตัดสนิ ใจหลกั เจด็ องค์กร เรยก สถาบนั ของสหภาพ
ยโุ รป ไดแ้ ก ่ ทีประชุมยุโรป คณะมนตรแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายโุ รป คณะกรรมาธิการ
ยโุ รป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยโุ รปและศาลผู้สอบบญั ชียุโรป

นโนยายทางฌสรษฐกิจทีสาํ คัญ

มดี ังนี

1.นโยบายการค้า มีการยกเลกิ ภาษีศุลกากร มาตราการจํากดั ปรมาณ และคา่
ธรรมเนยี มทีเกบ็ จากการนาํ เขา้ และส่งออก เร่งรัดดาํ เนินการปรับพิกดั อัตราศลุ กากร
ระหวา่ งประเทศสมาชกิ ใหเ้ ปนอตั ราเดียวกนั เพอื เปนสหภาพศลุ กากร และยกกระดับการ
รวมกล่มุ จากสหภาพศุลกากรเปนตลาดร่วม หรอเรยกวา่ ตลาดยโุ รปเดยี ว

2.นโยบายเกษตร เปนนโยบายสาํ คญั ทสี ง่ ผลกระทบตอ่ สินค้าเกษตรทวั โลก การ
ดําเนนิ นโยบายนีมีวตั ถปุ ระสงค์เพือประกนั รายได้ใหแ้ ก่เกษตรกร สง่ เสรมการใช้
เทคโนโลยแี ละทรัพยากรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รักษาเสถยี รภาพด้านราคาและประกันวา่
จะมีสินค้าเพยี งพอแก่การบรโภคในราคาทเี หมาะสม

3.นโยบานการเงิน มกี ารนาํ ระบบการเงนิ ของยโุ รป มาใชโ้ ดยมสี าระสําคญั คือให้
สร้างหน่วยเงนิ ตรายโุ รป ขนึ มาโดยใชแ้ ทนหน่วยบญั ชียโุ รป จัดตังกลไกอัตราแลกเปลียน
โดยกาํ หนดใหส้ มาชิกตอ้ งรักษาระดับอัตราแลกเปลียนให้อยใู่ นอย่ใู นกรอบทกี ําหนด จะ
จัดกลไหหารสินเชอื เพือช่วยเหลอื ประเทศสมาชิกทมี ปี ญกาค่าเงนิ ลดลงเพอื รักษา
เสถียรภาพของระบบการเงนิ

3.ขอ้ ตกลงการค้าเสรอี เมรกิ ารเหนอื

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนองคก์ รทางเศรษฐกจิ ในทวปอเมรกาเหนือ ในการทจี ะร่วมมือกันแสวงหาตลาด
สง่ ออกและลดตน้ ทนุ การผลิตสินค้า เพอื ใหม้ ีราคาถูกลง สามารถแข่งขนั กบั ตลาดโลกได้
หลังจากทสี หภาพยุโรป ไดแ้ กป้ ญหาภาวะเศรษฐกจิ ถดถอย โดยการเปดตลาดเสรเปน
ตลาดเดียวแล้ว ผู้นาํ แห่งสหรัฐ แคนาดา และเม็กซิโกไดจ้ ดั ประชุมกันเมือ พ.ศ. 2535 ที
จะเปดเสรทางการคา้ ระหวา่ งกนั ให้เปนตลาดเดียว และจะลดอัตราภาษีศลุ กากรให้เหลอื
ร้อยละ 0 ภายใน 5 ป โดยไดม้ ีผลตงั แต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2537 เปนต้นมา

นโนยายทางฌสรษฐกิจทีสาํ คัญ

มีดังนี
1.ด้านการคา้ มีการยกเลิกภาษศี ลุ กากรระหวา่ งกันทุกสินคา้ ระหวา่ งกนั ทกุ สินค้า
ยกเวน้ สนิ คา้ การเกษตรลดอุปสรรคทางการค้าทมี ิใชภ่ าษี โดยมีการขยายโควตาสง่ ออก
อยา่ งเปนขันตอนและให้ยกเลิกในทสี ดุ ไม่ใชใ่ ช้มาตรฐานความปลอดภัยของสนิ คา้ มาเปน
ข้ออ้างในการกีดกันทางการคา้ เปนต้น

2.ด้านทรัพยส์ นิ ทางปญญา ใชม้ าตรการปกปองลขิ สทิ ธิ สิทธิบตั ร และ
เครองหมายการคา้ อยา่ งเพยี งพอ เพอื ปองกนั การละเมิรทรัพย์สินทางปญญา

3.ด้ารการระงบั ข้อพิพาท มีการจัดตงั คณะกรรมการไตรภาคีเพอื ทาํ หน้าทเี จรจา
และระงับข้อพิพาทเกียวกบั มาตรฐานดา้ นสิงแวดลอ้ ม สขุ ภาพ และความปลอดภัย รวม
ทงั ใหแ้ ตล่ ะประเทศออกกฎหมายเกยี วกบั สิงแวดลอ้ ม

4.ด้านสินคา้ เกษตร ถือวา่ เปนสนนิ คา้ ทีมคี วามอ่อนไหวและมีความสาํ คญั ดังนันจงึ
เปนสนิ คา้ ดา้ นเดยี วทมี กี ารค้มุ ครองแกส่ มาชกิ เปนพิเศษ

4.กล่มุ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคเอเชยี -แปซฟิ ก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนกลมุ่ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งเขตเศรษฐกจิ ในภูมิภาคเอเชยี -
แปซฟิ ก

เอเปคกอ่ ตงั ขนึ เมอื ป พ.ศ. 2532 โดยมจี ุดประสงค์ มงุ่ เนน้ ความเจรญเติบโตและ
การพฒั นาทยี ังยนื ของภมู ิภาค และผลกั ดันใหก้ ารเจรจาการค้าหลายฝาย รอบอรุ ุกวยั
ประสบผลสาํ เร็จ ขณะเดียวกนั เอเปคกต็ อ้ งการถ่วงดลุ อาํ นาจทางเศรษฐกิจของกลมุ่
เศรษฐกิจตา่ ง ๆ โดยเฉพาะกล่มุ สหภาพยโุ รป 

สทิ ธปิ ระโยชนท์ ีสมาชกิ เอเปคใหแ้ กก่ นั จะมผี ลตอ่ ผู้ทมี ิไดเ้ ปนสมาชิกเอเปคด้วย

นโนยายทางฌสรษฐกิจทีสาํ คัญ

ตามปฏญิ ญาโบกอร์ เอเปกกําหนดแนวทางความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ไว้ 3 ด้าน
คอื การเปดเสรทางการค้าและการลงทุน การอํานวยความสะดวกด้านการค้าและการ
ลงทนุ และความร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจและวชาการ มีวตั ถุประสงค์ ดังนี

1.พัฒนาและส่งเสรมระบบการคา้ พหุภาคี

2.สนับสนุนการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก

3.ลดอุปสรรคและอาํ นวยความสะดวกดา้ รการคา้ การบรการ และการลงทุน
ระหวา่ งประเทศสมาชิกโดยใหส้ อดคลอ้ งกับกฎเกณฑข์ ององคก์ ารการค้าโลก

4.ส่งเสรมความร่วมมอื ทางด้านการเงินการคลงั ในการแก้ไขวกฤตเิ ศรษฐกจิ

5.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

ความเปนมาและความสาํ คัญ

การร่วมกันทางเศรษฐกจิ ของประเทศในเขตอาเซยี น เพอื ผลประโยชนใ์ นอํานาจ
การต่อรองทางเศรษฐกจิ การสง่ ออก และการนําเขา้ ของสนิ คา้ จะเรมใชใ้ น พ.ศ. 2558

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดาํ เนนิ การควบคูไ่ ปกบั  ประชาคมการเมอื งและความ
มนั คงอาเซยี น และประชาคมสังคม-วฒั นธรรมอาเซยี น ซึงเปนสามส่วนหลกั ของ
ประชาคมอาเซียน

นโนยายทางฌสรษฐกิจทีสาํ คัญ

ในสว่ นของประชาคมของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นจะดําเนินการเพอื ความร่วม
มอื ทางเศรษฐกิจ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์สําคัญไดแ้ ก่

1.การตลาดและฐานการผลิตเดียวกนั โดยพฒั นาไปสู่การใช้กฎระเบียบการค้าใน
ประเทศสมาชกิ ทังหมดอย่างเดียวกัน ทงั ทางดา้ นมาตฐาน คุณภาพ ราคา อัตราภาษี
รวมถงึ กฎระเบียบในการซือขาย

2.การสร้างอาเซย๊ นใหม้ ขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางการค้าสงู มกี ารพัฒนา
โครงสร้างพนื ฐานโทรคมนาคม กองเงินธนาคาร การจดั ระบบการคา้ ใหม้ กี ารแข่งขันที
เปนธรรมและให้ความสําคัญต่อการคมุ้ ครองทรัพยส์ นิ ทางปญญา

3.การพัฒนาการทางเศรษฐกิจอยา่ งเทา่ เทียมกนั ระหวา่ งสมาชกิ อาเซยี น โดยการ
พัฒนาวสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม และเสรมสร้างขดี ความสามารถผ่านโครงการ
ความร่วมมือตา่ งๆ

4.การบรู ณาการเชอื มโยงอาเซย๊ นเขา้ กับเศรษฐกิจโลก โดยการเน้นและประสาน
นโยบายเศรษฐกจิ อาเซียนกบั ประเทศนอกภูมภิ าคร่วมกัน

ประโยชนข์ องการจดั ตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

การจัดตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น จะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ประเทศสมาชิกใน
ภูมิภาคดังนี

1.เสรมสร้างความแข็งแร่งทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ในระดับภูมภิ าคและ
การสร้างเสรมศกั ยภาพในการแข่งขันของอาเซียนในตลาดโลก

2.ขยายการค้าและการลงทุนในภูมิภาคให้สงู ขนึ เนอื งจากการรวมตัวกนั ของประ
ชมคมเศรษฐกจิ อาเซียนสง่ ผลให้มีการเคลอื นย้ายสินคา้ บรการ การลงทุนและเงนิ มนุ ได้
อย่างเสรมากขนึ

3.ลดการพึงพาตลาดในประเทศทีสาม โดยเฉพาะสินคา้ ในกล่มุ ทีอาเซียนมศี ักยภาพ
และสามารถผลติ ได้ในระดับมาตรฐานสากล

4.ยกระดบั ความเปนอยู่ของผบู้ รโภคให้ดีย่งขนึ เนอื งจากผลติ สามารถผลติ
สินค้าและบรการไดอ้ ยา่ งเสร ทําใหม้ สี นิ ค้าในตลาดหลากหลายรุปแบบ ผผู้ ลิตสินค้า
ต่าง ไดห้ ลากหลายมากนึ แตม่ ีราคาทถี ูกลง

5.พัฒนาขดี ความสามารถทางแขง่ ขันของอาเซียน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจนี
เกิดขนึ ระหวา่ งสมาชิก ไมว่ า่ จะเปนยกระดบั การผลิตสินคา้ และบรการ รวมไปถงึ การ
เกอื กูลกนั ในแต่ละขนั

6.เพิมศกั ยภาพทางดา้ นการผลิต การรวมกันเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเชีย
ช่วยให้เกิดกระบวนการใช้ทรัพยากรภายในประเทศสมาชิกอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

6.กล่มุ โอเปก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

องค์การกลุม่ ประเทศผ้สู ง่ นาํ มันออก กาํ เนดิ ใน พ.ศ. 2503 มีสมาชิกก่อตงั 5
ประเทศ ประกอบด้วยประเทศซาอดุ ีอาระเบยี  อริ ัก อหิ ร่าน คเู วต และเวเนซุเอลา เดมิ มี
สาํ นกั งานใหญ่ทีประเทศสวตเซอร์แลนด์ ปจจบุ นั โอเปกมีสมาชกิ เพิมอกี 9 ประเทศ
คือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไนจเี รย แอลจีเรย ลิเบยี  กาบอง (ต่อมาถอนตวั ในป ค.ศ.
2008 แล้วกลับมาในป ค.ศ. 2016) เอกวาดอร์ (เคยเปนสมาชกิ ในป ค.ศ. 1973 แลว้
ถอนตวั ไป แลว้ กลับมาในป ค.ศ. 2007) แองโกลา อเิ ควทอเรยลกิน ี และลา่ สดุ
สาธารณรัฐคองโก รวมเปน 14 ประเทศ โดยไดย้ า้ ยสาํ นกั งานใหญไ่ ปทกี รุง
เวยนนา ประเทศออสเตรย ตังแต่ ค.ศ. 1965

นโนยายทางฌสรษฐกิจทีสาํ คัญ

กลุ่มโอเอกมกี ารกําหนดผโควตาการผลิตแกป่ ระเทศสมาชิก ทําให้สามารถกําหนด
ราคานาํ มนั ในตลาดโลกได้เนอื งจก่ ร่วมกนั จํากัดปรมาณผลติ และไมม่ ีการแขาางขันกันใน
ตลาด

ประเทศในกล่มุ โอเอกมปี รมาณนาํ มนั ดนิ สํารองทีสามารถขดุ ขึนมาใช้ไดม้ ากทสี ุดใน
โลก ดังนัน เมอื รวมกลใุ่ กันจึงทําให้มอี ทิ ธิพลต่อระบบเศรษฐกิจ

7.ธนาคารระหวา่ งประเทศเพอื การบูรณะและพฒั นาหรอื
ธนาคารโลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนองคก์ รระหวา่ งประเทศทีได้จดั ตังขึนมาหลงั สงครามโลกครังทีสอง โดย
ประเทศมหาอาํ นาจในทวปอเมรกาเหนอื และทวปยุโรป โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพือช่วยให้
ประเทศสมาชกิ ไดท้ ําการฟนฟปู ระเทศหลงั สงครามโลกครังทสี อง โดยมงุ่ เน้นการลงทุน
เพอื เพิมประสิทธภิ าพการผลติ และเร่งรัดการเจรญเติบโตทางเศรษฐกิจ เปนองคก์ รอยู่ใน
สังกัดขององค์การสหประชาชาต ิ มสี าํ นักงานใหญต่ งั ทีกรุงวอชิงตนั ดีซ ี ประเทศ
สหรัฐอเมรกา ปจจบุ ันมีประเทศสมาชิกทงั หมด 188 ประเทศ เงนิ ทนุ ของธนาคารโลกได้
มาจากการจาํ หนา่ ยพนั ธบตั รในตลาดการเงินสําคัญของโลก คา่ บาํ รุงจากประเทศสมาชกิ
และเงนิ ค่าห้นุ ของประเทศสมาชกิ

ประเทศไทยกับธนาคารโลก

ธนาคารโลกก่อตงั ขนึ มาจากการประชมุ ทีเบร็ตตนั วดู ส์ รัฐนิวแฮมเซียร์ ประเทศ
สหรัฐอเมรกา เมอื เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 การประชมุ ครังนไี ดร้ ่างกฎบตั รขนึ มาสอง
ฉบับสําหรับธนาคารโลก ซึงมีอกี ชอื หนงึ วา่ ธนาคารระหวา่ งประเทศเพือการบูรณะและ
พัฒนา และกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ ตอนทมี กี ารก่อตังสถาบันการเงินทงั สองขึน
มาทเี บร็ตตนั วดู สน์ ัน ทังสองสถาบนั มกี ารแบง่ ความรับผดิ ชอบกันอย่างชัดเจน กองทุน
จะให้การสนบั สนนุ ทางการเงินระยะสนั เพือช่วยประเทศต่าง ๆ แกป้ ญหา
ดุลการชําระเงนิ ในขณะทีธนาคารโลกจะใหท้ นุ สนบั สนุนการพฒั นาระยะกลางและระยะ
ยาวในรูปแบบเงินก้ยู ืม

8.กองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนองคก์ รทรี ัฐบาลของกลมุ่ ประเทศพนั ธมิตรไดร้ ่วมกอ่ ตังขนึ มีฐานะเปนทบวง
การชํานาญพเิ ศษของสหประชาชาติ โดยมขี ้อบังคบั วา่ ประเทศทีจะเปนสมาชกิ
ธนาคารโลก และจะต้องเปนสมาชิกของ IMF ดว้ ย เรมเปดดาํ เนินการในเดอื นมนี าคม ป
ค.ศ. 1947 ประเทศทีสมคั รเปนสมาชกิ กองทนุ การเงนิ ฯ จะต้องเปนสมาชกิ ขององคก์ าร
สหประชาชาตอิ ยกู่ อ่ นแลว้ ในปจจบุ ันมสี มาชกิ 188 ประเทศ (South Sudan เปน
สมาชิกอันดบั ที 188 เขา้ ร่วมเมอื วนั ที 18 เมษายน ค.ศ. 2012)

ประเทศไทยกับกองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ

ประเทศไทย เข้าร่วมเปนสมาชกิ กับ IMF เมอื วนั ที 3 พฤษภาคม 2492 โดยเปน
สมาชิกลาํ ดับที 44สิงท ี IMF ให้ความช่วยเหลือลกั ษณะหนึง คอื  การใหค้ วามชว่ ยเหลอื
อย่างเร่งดว่ นตามโครงการเงนิ กูแ้ บบ Stand-By  ซงึ จะเปนการให้เงินกู้ระยะสัน  เพือ
แกไ้ ขปญหาการขาดดลุ การชาํ ระเงินซึงประเทศผูก้ ูจ้ ะตอ้ งปฏิบตั ิตาม โดยเงอื นไขตา่ ง ๆ
กจ็ ะเปนการควบคุมEconomic Variable ต่าง ๆ เชน่   การคลัง  การ
เงิน  เปนต้น  ไทยเคยเขา้ ร่วมโครงการนีมาแล้ว 5 ครังด้วยกนั  โดยครังล่าสดุ  ไทยได้เขา้
ร่วมเมือเดือนสงิ หาคม 2540เพือแกไ้ ขวกฤตการณค์ รังใหญ่ทางเศรษฐกจิ ของไทย ซึง
เกิดจากการปรับเปลยี นตัวเองเขา้ สู่กระแสโลกาภิวตั นโ์ ดยไมม่ ีรากฐานทีมนั คง

9.ธนาคารเพอื การพฒั นาเอเชยี

ความเปนมาและความสาํ คัญ

เปนสถาบนั การเงินทีมจี ุดมงุ่ หมายเพือสนับสนนุ ระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนา
ของประเทศแถบเอเชยี และแปซฟิ ก ผา่ นการใหเ้ งินกู้ และความสนบั สนนุ ด้านเทคนิค ก่อ
ตังขึนในป พ.ศ. 2509 โดยความชว่ ยเหลือของสหประชาชาติ มปี ระเทศเข้าร่วมกอ่ ตงั
32 ประเทศ จนถงึ ปจจบุ นั (พ.ศ. 2562) มปี ระเทศสมาชิกทงั สิน 68 ประเทศ เปน 49
ประเทศในภูมภิ าค และ 19 ประเทศจากพนื ทีอนื

ธนาคารพัฒนาเอเชยี มสี าํ นักงานใหญ่อยทู่ กี รุงมะนิลา ประเทศฟลปิ ปนส์ ในแต่ละ
ปไดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลือด้านเงนิ กู้เปนเงนิ ประมาณ 7 พันลา้ นดอลลาร์สหรัฐ โดยแต่ละ
โครงการมีมลู คา่ ประมาณโครงการละ 100 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ ใชเ้ งินทุนจากการลงทุน
พันธบตั รในตลาดการเงนิ ตา่ งๆ

ประเทศไทยกับธนาคารเพอื การพฒั นาเอเชยี

ประเทศไทยไดเ้ ขา้ ร่วมเปนประเทศสมาชกิ ก าลังพฒั นาทีถอื หุ้นใน ADB โดยร่วม
เปนภาคีสมาชกิ ในความตกลงวา่ ด้วยการสถาปนา ADB เมอื ป ๒๕๐๙ และได้มีการออก
พระราชบัญญตั ิให้ อํานาจปฏบิ ัตกิ ารเกยี วกบั ADB พ.ศ. ๒๕๐๙ เพือใหป้ ฏบิ ตั ิการร่วม
กบั ADB ตามขอ้ ผูกพัน โดยมอบหมายใหก้ ระทรวงการคลงั เปนหนว่ ยงานราชการหลัก
ทีดูแลภารกิจเกยี วกบั ADB และใหร้ ัฐมนตรวา่ การกระทรวงการคลังด ารงตาํ แหนง่ ผู้
วา่ การ (Governor) ของไทยใน ADB และปลดั กระทรวง
การคลงั ดาํ รงตาํ แหน่งผูว้ า่ การส ารอง (Alternate Governor) ของไทยใน ADB
และมีสํานักงานเศรษฐกิจ หลกั ในการเชือมโยงการท างานของ ADB กับภาครัฐ ภาค
เอกชน หุ้นส่วนการพฒั นา และผมู้ ีสว่ นได้เสียในภาคประชาสังคมของไทย

10.การประชุมสหประชาชาติวา่ ด้วยการค้าและการพฒั นา

ความเปนมาและความสาํ คัญ

ก่อตังขึนในปพ.ศ. 2507 เพือเปนองค์กรถาวรระหวา่ งรัฐบาล ทีเปนเครองมอื หลัก
ของสหประชาชาตทิ ีจัดการดา้ นการค้า การลงทุน และการพัฒนา

เปาหมายขององค์กรนีคือ การเพิมโอกาสทางการค้า การลงทนุ และการพฒั นา
และชว่ ยเหลือประเทศเหลา่ นนั ในการเขา้ สู่ระบบเศรษฐกิจโลก ในพืนฐานแหง่ ความเท่า
เทียม

ปจจบุ นั องั ค์ถัดมีประเทศสมาชกิ 194 ประเทศ และมสี าํ นกั งานใหญ่ทีกรุงเจนี
วา ประเทศสวตเซอร์แลนด์ องั คถ์ ัดมีเจ้าหน้าทปี ระจาํ 400 คนและมีงบประมาณรายป
ประมาณ 50 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ และมีงบเพิมเตมิ ช่วยเหลือด้านเทคนิคอกี 25 ลา้ น
ดอลลาร์สหรัฐ

เลขาธิการของคนไทย คือ ดร.ศภุ ชยั พานชิ ภกั ด ิ ดาํ รงตาํ แหนง่ ตังแตว่ นั ที 1
กันยายน 2548-2551

ประเทศไทยกับกองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ

การจัดตัง สถาบันระหวา่ งประเทศเพอื การคา้ และการพัฒนา (สคพ.) gห็นความ
สําคัญร่วมกนั ในการรเรมความร่วมมอื ในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ โดยรัฐบาลไทยได้
ร่วมจดั ตงั สถาบัน ITD ทีจฬุ าลงกรณ์มหาวทยาลัย ตอ่ มาเมอื วนั ที 1 พฤษภาคม
2545 เพือ เปนศนู ย์กลางในการเพมิ และเสรมสร้างขดี ความสามารถและประสทิ ธิภาพ
รวมทงั ทกั ษะในการเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศใหแ้ ก่บคุ ลากรของประเทศกาํ ลงั
พัฒนาในภมู ภิ าคเอเชีย เพอื การกาํ หนดและดําเนินนโยบายใหส้ ามารถรับมอื และจัดการ
กับความเปลียนแปลง ทีเกดิ จากโลกาภวิ ตั น์และการเปดเสร ผา่ นการสัมมนาการฝก
อบรม และการวจัย ทงั ยังเผยแพร่ผลงานศกึ ษาวจัยและขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นเศรษฐกจิ
ใหส้ าธารณชนได้ รับทราบอยา่ งตอ่ เนอื งและทวั ถงึ ข้อมลู เกยี วกบั ITD

11.การรวมกล่มุ อนภุ มู ภิ าคทีประเทศไทยมบี ทบาทสาํ คัญ

เขตเศรษฐกิจสามฝายอินโดนีเซยี -ไทย-มาเลเซยี

เปนการรวมกลุ่มกนั เฉพาะพนื ทีบางส่วนของแตล่ ะประเทศทีมีอาณาเขตติดต่อใกล้
เคียงกนั ซึงประกอบดว้ ยบรเวณตอนเหนอื เกาะ สุมาตราของอินโดนเี ซยี คือ สมุ าตรา
เหนอื เมดาน และอาเชห์ บรเวณ 4 รัฐ ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของ มาเลเซยี คือ
รัฐเคดาห์ เปรัค เปอร์ลิส และปนงั ส่วนประเทศไทยครอบคลุมบรเวณ 5 จังหวดั
ชายแดนภาคใต้ คอื สงขลา ยะลา ปตตานี นราธิวาส และสตูลแนวคิดในการจัดตังเรม
ขึนในป 2535 เมือประเทศมาเลเซียได้เสนอแนวทางพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
สามฝายขึน ส่งผลใหม้ กี ารประชมุ ระดบั ผ้นู ําและรัฐมนตรของทัง 3 ประเทศ ขนึ เปนครัง
แรก ณ ประเทศมาเลเซีย เมอื เดือนกรกฎาคม 2536 ซึงผู้นาํ ของทัง 3 ประเทศ ไดเ้ หน็
ชอบในหลกั การ จึงร่วมกันร่างขอ้ เสนอจัดตังโครงการนีขึน

โครงการสเี หลียมเศรษฐกิจ

ความร่วมมอื โครงการสีเหลียมเศรษฐกจิ ครอบคลมุ พนื ทภี าคเหนอื ของไทย ภาค
เหนือของลาว ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของพมา่ และภาคใตข้ องจนี (มลฑลยนู นาน) ซงึ
พนื ทดี ังกล่าวครอบคลุมเนือทขี อง 4 ประเทศ มีประชากรอาศยั อยกู่ วา่ 100 ล้านคน
ถอื วา่ เปนส่วนหนึงของโครงการพัฒนาความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุ่มแมน่ าํ
โขง ซึงมีความใกล้ชดิ ทางด้านภูมิศาสตร์และเชือชาติ ตลอดจนศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ที
เกือกูลกนั แนวคดิ หลกั ของความร่วมมอื โครงการสีเหลยี มเศรษฐกิจคือ การเชอื มโยง
ระบบคมนาคมของพนื ทบี รเวณดงั กลา่ วเพือใหก้ ารเคลือนยา้ ยสนิ คา้ บรการและ
ประชาชนเปนไปอย่างสะดวกรวดเร็วและประหยดั อันเปนพืนฐานทจี ะช่วยให้เกดิ ความ
เตบิ โตทางเศรษฐกิจ และความกินดอี ยู่ดขี องประชาชนในเขตพนื ทีภายใตค้ วามร่วมมอื

ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจในอนภุ มู ลิ ่มุ แมน่ าํ โขง

เปนความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พมา่  สปป.ลาว กัมพูชา จนี (ยูนนาน)
และเวยดนาม เรมโครงการตงั แตป่ พ.ศ. 2535 โดยรัฐบาลไทยได้ขอความชว่ ยเหลอื ทาง
วชาการจากธนาคารพัฒนาเอเชยี  ซึงเปนผสู้ นับสนุนหลกั มพี นื ทีรวมกนั ประมาณ ๒
ลา้ น ๓ แสน ตารางกโิ ลเมตร หรอประมาณพนื ทยี ุโรปตะวนั ตก มีประชากรรวมกนั
ประมาณ ๒๕๐ ลา้ นคน และอดุ มสมบูรณไ์ ปด้วยทรัพยากรธรรมชาต ิ อีกทงั ยงั เปน
จุดศนู ย์กลางในการเชือมโยงระหวา่ งภูมภิ าคเอเชียใต้ เอเชียตะวนั ออก เอเชยี ตะวนั ออก
เฉียงใต้

จบการนาํ เสนอ
จดั ทําโดย

น.ส.ชนญั ชดิ า เปรมจติ ร
น.ส.สชุ ชญั ญา หมอ่ มขุนทด

ชนั มธั ยมศึกษาปที 6/2


Click to View FlipBook Version