The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by payaojiw, 2022-04-10 01:39:54

ID-Plan ปี2564ครูจิ๋ว

ID-Plan ปี2564ครูจิ๋ว

รายการสมรรถนะและพฤติกรรม นอ้ ย ระดับการปฏบิ ตั ิ มาก
ทส่ี ดุ ทสี่ ดุ
4.6 จดั ทำแผนการวจิ ยั และดำเนินกระบวนการวจิ ัยอยา่ งเปน็ น้อย ปาน มาก
ระบบตามแผนดำเนนิ การวิจัยท่ีกำหนดไว้ กลาง

4.7 ตรวจสอบความถูกต้องและความนา่ เชื่อถอื ของผลการวจิ ยั
อย่างเป็นระบบ

4.8 มกี ารนำผลการวิจยั ไปประยกุ ตใ์ ช้ในกรณีศกึ ษาอืน่ ๆ ท่ีมี
บรบิ ทของปญั หาท่ีคลา้ ยคลึงกัน

4.9 นำขอ้ มูลนักเรยี นไปใชช้ ว่ ยเหลอื /พัฒนาผู้เรยี นทง้ั ดา้ น
การเรยี นรแู้ ละปรบั พฤติกรรมเป็นรายบุคคล

4.10 จัดกจิ กรรเพอ่ื ป้องกันแกไ้ ขปัญหาและสง่ เสริมพฒั นาผเู้ รียน
ให้แก่นักเรยี นอย่างทวั่ ถงึ

5. สมรรถนะภาวะผู้นำครู
5.1 เห็นคณุ คา่ ใหค้ วามสำคัญในความคิดเหน็ หรือผลงานและ

ใหเ้ กยี รตผิ อู้ น่ื
5.2 กระตุน้ จงู ใจ ปรบั เปลีย่ นความคดิ และการกระทำของผู้อ่ืน

ให้มีความผกู พนั และมุ่งมั่นต่อเป้าหมายในการทำงานร่วมกนั
5.3 มีปฏิสัมพนั ธ์ในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อ่ืนโดยมงุ่ เนน้

ไปการเรยี นรู้ และการพัฒนาวชิ าชีพ
5.4 มีทกั ษะการฟงั การพูด และการตัง้ คำถามเปดิ ใจกวา้ ง

ยืดหยุน่ ยอมรบั ทศั นะท่หี ลากหลายของผู้อืน่ เพ่ือเปน็ แนวทาง
ใหม่ ๆ ในการปฏบิ ัติงาน
5.5 ใหค้ วามสนใจตอ่ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่เี ปน็ ปัจจบุ นั โดยมีการ
วางแผนอย่างมีวสิ ยั ทศั น์ซ่งึ เชื่อมโยงกบั วิสัยทัศน์ เปา้ หมาย
และพันธกิจของโรงเรียน
5.6 รเิ รมิ่ การปฏิบัตทิ ่นี ำไปสู่การเปลย่ี นแปลงและพฒั นา
นวัตกรรม
5.7 กระตุ้นผ้อู ืน่ ให้มีการเรียนร้แู ละความร่วมมือกันในวงกว้าง
เพื่อพฒั นาผู้เรยี น สถานศึกษา และวิชาชพี
5.8 ปฏิบัติงานรว่ มกับผู้อน่ื ภายใตร้ ะบบ/ขน้ั ตอนทเี่ ปล่ยี นแปลง
ไปจากเดิมได้

รายการสมรรถนะและพฤติกรรม น้อย ระดบั การปฏิบตั ิ มาก
ท่สี ุด ท่สี ดุ
5.9 สนบั สนุนความคดิ รเิ ร่มิ ซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรองของ นอ้ ย ปาน มาก
เพ่อื นรว่ มงาน และมสี ่วนร่วมในการพฒั นานวตั กรรมต่าง ๆ กลาง

5.10 ใช้เทคนิควธิ กี ารหลากหลายในการตรวจสอบประเมิน
การปฏบิ ัติงานของตนเองและผลการดำเนินงานสถานศึกษา

5.11 กำหนดเปา้ หมายและมาตรฐานการเรยี นรูท้ ่ที า้ ทาย
ความสามารถของตนเองตามสภาพจรงิ และปฏิบตั ิให้
บรรลผุ ลสำเรจ็ ได้

5.12 ยอมรบั ขอ้ มลู ป้อนกลบั เกย่ี วกับความคาดหวงั ดา้ นการเรียนรู้
ของผเู้ รียนจากผปู้ กครอง

6. สมรรถนะการสรา้ งความสมั พันธแ์ ละความร่วมมือกับชุมชน
เพ่ือการจัดการเรียนรู้

6.1 มีปฏสิ มั พันธท์ ีด่ ีกับผูป้ กครองและชมุ ชนในการตดิ ต่อสื่อสาร
เพอ่ื การจดั การเรียนรู้

6.2 ประสานงานกับผู้ปกครองและชุมชนให้เข้ามามสี ่วนรว่ ม
ในการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดปีการศึกษา

6.3 เปิดโอกาสให้ผู้มีสว่ นเกีย่ วขอ้ งเขา้ รว่ มวางแผนการจดั กิจกรรม
การเรยี นรู้ในระดับช้ันเรียน

6.4 เปิดโอกาสใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชนเขา้ มาแลกเปล่ยี นเรียนรู้
เกย่ี วกบั การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษา

6.5 สร้างเครือข่ายความร่วมมอื ระหวา่ งครู ผู้ปกครอง ชุมชนและ
องคก์ รอ่ืน ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชนในการแลกเปลย่ี นข้อมูล
สารสนเทศเพื่อการจัดการเรยี นรู้

6.6 จัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ใหป้ ราชญช์ าวบ้านหรอื ภูมปิ ัญญา
ในทอ้ งถ่นิ เขา้ มามีส่วนรว่ ม

6.7 มีการเปดิ โอกาสใหผ้ มู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ของสถานศึกษาเขา้ มา
มสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

6.8 มกี ารเสนอผลการจดั การเรยี นรู้ต่อฝ่ายต่าง ๆ ของชุมชน
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละแก้ไขปัญหารว่ มกันในทุกภาคเรียน

ลงชือ่ .................................................. ผปู้ ระเมิน
(นายบญุ เชิด มณีเขียว)

ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านลานหนิ

แนวทางการประเมนิ การให้คะแนนและการแปลผลการประเมินสมรรถนะครู

1. การประเมนิ ตามแนวทางนี้ใชแ้ บบประเมินสมรรถนะสำหรับครผู ู้สอนทำการประเมนิ สมรรถนะในการ

ปฏิบัติงานตามสภาพจริง เพื่อจะได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้สอน และนำผลการประเมินไปใช้ใน

การกำหนดกรอบการพัฒนาสมรรถนะครูใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลสงู สุดต่อการพฒั นาผู้เรยี น

สถานศกึ ษาและวิชาชีพ ผูใ้ ชแ้ บบประเมนิ สมรรถนะครู ดังน้ี

1. ครผู ู้สอน : ประเมนิ ตนเอง

2. เพ่อื นครผู สู้ อนในสถานศึกษาเดยี วกัน : ประเมินครผู ู้สอน

3. ผบู้ ริหารสถานศึกษา : ประเมินครูผู้สอน

2. การให้คะแนนการประเมินสมรรถนะครู

2.1 การให้คะแนนในแตล่ ะขอ้ รายการจะมีระดับคณุ ภาพของสภาพการปฏิบัติงาน 5 ระดบั

ไดแ้ ก่ ปฏิบตั นิ อ้ ยท่สี ุด ปฏบิ ตั ิน้อย ปฏิบตั ปิ านกลาง ปฏบิ ัติมาก และปฏิบตั ิมากที่สดุ โดยกำหนดคา่ คะแนน

เป็น 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลำดับ

2.2 การตัดสนิ ผลในแตล่ ะสมรรถนะ ให้ทำการคำนวณหาคะแนนเฉลี่ยรายสมรรถนะ

และทั้งฉบับของครูเป็นรายบุคคล โดยนับจำนวนความถี่ของระดับการปฏิบัติ แล้วนำจำนวนความถี่ที่ได้นับได้

ทั้งหมดมาคำนวณหาคะแนนรวม โดยการนำจำนวนความถี่ในแตล่ ะระดับการปฏบิ ัติมาคูณคะแนนในแต่ละระดับ

คุณภาพการปฏิบัตงิ านดงั น้ี คอื ปฏิบัตนิ ้อยทส่ี ดุ คณุ ดว้ ย 1 ปฏบิ ตั นิ ้อย คูณด้วย 2 ปานกลาง คณู ดว้ ย 3

ปฏิบัติมาก คูณด้วย 4 และปฏิบัติมากที่สุด คูณด้วย 5 แล้วนำคะแนนมารวมกัน จากนั้นนำคะแนนรวมที่ได้

คำนวณหาคะแนนเฉลีย่

3. การแปลผลการประเมินสมรรถนะครู เป็นการนำคะแนนเฉล่ยี มาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์การแปลผล

ทกี่ ำหนดไว้ โดยกำหนดเกณฑ์จากผลการวิเคราะหค์ ่าเฉล่ีย (x) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของข้อมลู ท่เี ก็บ

รวบรวมได้ทัง้ หมดดังนี้

ค่าคะแนนเฉลีย่ ระดับคุณภาพ

มากกวา่ ค่าเฉล่ยี รวม + S.D. รวม ดี

ระหวา่ ง คา่ เฉลีย่ รวม ± S.D. รวม พอใช้

นอ้ ยกวา่ คา่ เฉล่ีย รวม - S.D. รวม ปรับปรุง

การใหค้ ะแนนและแปลผลการประเมินสมรรถนะ

ค่าคะแนนเฉล่ีย ระดบั คุณภาพ

4.01 – 5.00 สูง

3.01 – 4.00 ปานกลาง

ตง้ั แต่ 3.00 ลงมา ควรปรับปรุง

4. การนำเสนอผลการประเมินสมรรถนะครู
การนำเสนอผลการประเมนิ ใหน้ ำคะแนนเฉลยี่ และระดับคณุ ภาพในแต่ละสมรรถนะมากรอกลงในแบบ
สรปุ ผลการประเมินสมรรถนะของครผู ู้สอนในตอนท้ายของแบบประเมิน แล้วจงึ รายงานผลการประเมิน
ให้ผบู้ รหิ ารหรือหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งนำไปเปน็ แนวทางในการพฒั นาสมรรถนะครูต่อไป


Click to View FlipBook Version