The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพราะทุกอย่างเริ่มต้นได้จากจุดเล็ก ๆ และเรื่องเล็ก ๆ รอบตัว
ร่วมถอดบทเรียนความสำเร็จในความเป็นนามธรรมของ
“ความสมัครสมานสามัคคี”
สู่ความเป็นรูปธรรมอันยั่งยืนของสังคมชุมชน
สังคมฐานรากแห่งการต่อยอดไปสู่ความสามัคคีของคนในชาติ
สู่การรวมพลังเพื่อพัฒนาประเทศใน

“น้ำหนึ่งไทยเดียว”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by namnungthaideaw, 2022-07-11 06:38:26

นิตยสาร น้ำหนึ่งไทยเดียว

เพราะทุกอย่างเริ่มต้นได้จากจุดเล็ก ๆ และเรื่องเล็ก ๆ รอบตัว
ร่วมถอดบทเรียนความสำเร็จในความเป็นนามธรรมของ
“ความสมัครสมานสามัคคี”
สู่ความเป็นรูปธรรมอันยั่งยืนของสังคมชุมชน
สังคมฐานรากแห่งการต่อยอดไปสู่ความสามัคคีของคนในชาติ
สู่การรวมพลังเพื่อพัฒนาประเทศใน

“น้ำหนึ่งไทยเดียว”

ถอดบทเรียนความสำเร็จของชุมชน
จากหัวใจแหงความสมัครสมานสามัคคี

รับชมรายการน้ำหนึ่งไทยเดียว



คำนำ

“น้ำหนึ่งไทยเดียว” เปนโครงการผลิตส�อโทรทัศน ประเภท Inspiration Edutainment จำนวน 12 เร�อง

ที่นำเสนอการถอดบทเรียนความสำเร็จของกลุมคน ชุมชนตัวอยางทั่วประเทศ เพ�อการสรางสรรค พัฒนา และ
แกไขปญหาของสังคมชุมชนตนในทุกรูปแบบ ใหสำเร็จลุลวง ดวยหัวใจแหงความสมัครสมานสามัคคี เปนหนึ่งเดียว
โดยคณะผูจัดทำไดรวบรวมเนื้อหาที่สรางแรงบันดาลใจทั้งหมด จัดทำออกมาในรูปแบบของนิตยสาร

น้ำหนึ่งไทยเดียว ขอขอบคุณคณะกรรมการ คณะทำงานของกองทุนพัฒนาส�อปลอดภัยและสรางสรรค
ตลอดจนหนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงผูนำชุมชนและชาวบานทุกทาน ที่รวมถายทอดเร�องราว ความรูสึก
ประสบการณเ กย่ี วกบั ความสมคั รสมานสามคั คขี องชมุ ชน ซง่ึ คณะผจู ดั ทำหวงั เปน อยา งยง่ิ วา นติ ยสารนำ้ หนง่ึ ไทยเดยี ว
จะกอใหเกิดประโยชนต อสังคมไดในวงกวาง

คณะผูจัดทำ
น้ำหนึ่งไทยเดียว

1

2

สารบัญ หนา
1
คำนำ 3
สารบัญ 4
จุดเริ่มตน น้ำหนึ่งไทยเดียว 5
โหลงขอดโมเดล 6
เกาะจิก Recharge 7
ธนาคารปูมา 8
ชุมชนบานเตย 9
บอสวก การทองเที่ยวโดยชุมชน 10
ชุมชนบานสามขา 11
ชุมชนเขาทอง 12
ชุมชนไทยพวน 13
โนนเขวาโมเดล 14
ชุมชนบานคลองจรเขนอย 15
ชุมชนบานหนองไมเฝา 16
ชุมชนบานน้ำทรัพย 17-18
ชองทางการติดตอชุมชน 20
บรรณาธิการ
3

จดุ เริ่มตน น้ำหน่งึ ไทยเดียว

น้ำหนึ่งไทยเดียว การถายทอดเร�องราวความเปนน้ำหนึ่งใจเดียวผานผูนำ

หรือตัวแทนชุมชน กลุมคน กลุมองคกร หรือตัวแทนเยาวชน
จากหลากหลายพื้นที่ทั่วประเทศ ที่สามารถชวยกันแกไขปญหา
หรือพัฒนาชุมชนสังคมที่ตนอยู ใหกลายเปนสังคมชุมชนที่เขมแข็ง
มีการสรางความรูรักสามัคคี และปลูกฝงจิตสำนึกสาธารณะ
และคุณธรรมแหงความดีงามของการชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ใหเกิดเพิ่มมากขึ้น จนสามารถสงตอไปสูการลงมือทำ

4

โหลง ขอดโมเดล
อ.พรา ว จ.เชยี งใหม
จากหมบู านแหง ภัยพิบตั ิ สกู ารเปน หมูบา นตน แบบ

บนผนื ปา กวา 187,000 ไร ในทร่ี าบระหวา งหบุ เขา เขตอำเภอพรา ว
จังหวัดเชียงใหม “ตำบลโหลง ขอด” ถน่ิ พำนักของผูคนกวาหา พันชวี ติ
สวนใหญเลี้ยงชีพดวยการทำเกษตรกรรมเปนหลัก

ตั้งแตมีการสรางถิ่นที่อยูอาศัยขึ้นที่นี่ตั้งแตเม�อหลายสิบปกอน
ชาวบานโหลงขอดก็ใชประโยชนจากปามาโดยตลอด ทั้งของปา ตนไม
ดิน และน้ำ เม�อมีการขยายพื้นที่ทำกินก็เริ่มมการรุกล้ำเขาไปในพื้นที่ปา
การบุกรุกและทำลายปาทำใหดินเส�อมสภาพ ไมสามารถชวย
โอบอุมน้ำ เม�อมีฝนและลำน้ำไมมีน้ำไหลในฤดูแลง

สภาพแวดลอมของตำบลโหลงขอดในอดีตจึงแหงแลง
ยากจน และบอบช้ำอยางสาหัสจากอุทกภัย “ขจัดความไมรู
ดวยการใหความรู ขจัดความขัดแยงดวยการหันหนาเขามาคุยกัน”
นี่คือหลักการแกปญหาขั้นแรกที่พระครูวรวรรณวิวัฒนไดมองเห็น
พระครูเปนเสมือนศูนยรวมจิตใจของชาวบานโหลงขอดอยูกอนแลว
จึงเขามามีบทบาทสำคัญในการแกปญหาของโหลงขอด

จากการรวมมือของหลายภาคสวน จึงเกิดเปนโครงการ “ โหลงขอดโมเดล” ซึ่งเปนแบบแผนการสรางกติกา
รวมกันของคนในชุมชน

หลังจากมีการสรางกติการะหวางหมูบานกับปาแลว จึงมีการแกไขปญหาตาง ๆ เม�อมีปา ก็มีดินและน้ำ สามสิ่ง
ที่สัมพันธกันอยางแนบแนนกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนลุมน้ำ เม�อทำการเกษตรได เศรษฐกิจดี คนในชุมชนก็มีวิถีชีวิต
ที่สามารถพึ่งพาตัวเองได

ความสำเร็จของโหลงขอดโมเดล ไมใชแคการสรางแนวทางใหคนกับปาอยูรวมกันไดอยางยั่งยืนเทานั้น แตยัง
สะทอนภาพของความรวมมือกันอยางเขมแข็งของทุกภาคสวนในชุมชน พระสงฆคือศูนยรวมใจ ผูนำชุมชนคือสมอง
ผูชายคือดานหนา กลุมแมบานคือฝายสนับสนุนอยูเบื้องหลัง เด็ก ๆ คือผูสานตอภารกิจตอไปในอนาคต ในชุมชน
นี้จะขาดฝายใดฝายหนึ่งไปไมไดเลย

5

เกาะจกิ Recharge
อ.ขลุง จ.จนั ทบุรี
ชุมชนที่ผลิตกระแสไฟฟา ดวยตนเอง

“เกาะจิก” ชุมชนชาวประมงพื้นบานที่แมจะอยูหางจากฝง

อำเภอขลุงจังหวัดจันทบุรีไมถึง 5 กิโลเมตร แตสายไฟจาก
แผนดินใหญก็ยังคงพาดผานมาไมถึงเกาะแหงนี้

ถึงไมรูวาความฝนที่จะมีไฟฟาใชจะเปนจริงเม�อไหร แตคนที่นี่
ก็ไมเคยสิ้นหวัง กระทั่งวันหนึ่ง..เกาะจิกก็ถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ
หลังณรงคชัย เหมสุวรรณ ผูใหญบานคนใหมเขารับตำแหนง

“ ผมเขามารับตำแหนงผูใหญบานใหม ๆ ก็เริ่มคิดแลววาเราควรจะมีการปรับปรุงปรับปรุงพัฒนา

สาธารณูปโภคตาง ๆ ทำอยางไรจะทำใหใหคุณภาพชีวิตคนในชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เราก็เลย

”ทำประชุมประชาคมสงประชาคมหมูบานไปทางกระทรวงพลังงาน จึงไดนักวิจัยวิจัยมารวมกันคิดและ

ออกแบบระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานทดแทนแบบผสมผสาน
ณรงคชัย เหมสุวรรณ
ผูใหญบานเกาะจิก

เพราะระบบไฟฟาพลังงานทดแทนเกิดจากเสียงประชาคมของคนในชุมชน ในการบริหารจัดการระบบพลังงานของหมูบาน
ชาวบานยอมเปนทั้งผูออกฎและรักษากฎในเวลาเดียวกัน

พวกเขาจึงพรอมใจกันปฏิบัติตามธรรมนูญหมูบาน ซึ่งถือเปนขอตกลงตาง ๆ เพ�อใหทุกคนอยูรวมกันอยางผาสุก
ดวยความรักความสามัคคีนั่นเอง

แนวปฏิบัติของคนในชุมชนนี้นอกจากจะชวยลดคาใชจายในครัวเรือนลงไดแลว ยังเปนการชวยลดการปลอยกาซ
คารบอนไดออกไซตสูอากาศ และลดคราบน้ำมันที่อาจจะปนเปอนลงทะเลอีกดวย ซึ่งเม�อการดูแลสิ่งแวดลอมสัมฤทธิ์ผล
นี่อาจเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ดึงดูดใหนักทองเที่ยวแวะเวียนเขามาสัมผัสวิถีชีวิตและธรรมชาติ

นับตั้งแตป 2547 ที่ชุมชนเกาะจิกเริ่มมีระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยใชเปนของตัวเอง ความสำเร็จคงไมไดเกิดจาก
ความสมานสามัคคีเพียงอยางเดียวเทานั้น แตยังรวมไปถึงการยึดมั่นในกฎระเบียบของชุมชนที่พวกเขารวมกันปฏิบัติ
นั่นคงเปรียบไดดั่งแสงสวางกลางใจที่รัดรอยหัวใจทุกดวงใหเปนหนึ่งเดียว

6

ธนาคารปมู า

อาวมะขามปอ ม อ.แกลง จ.ระยอง
จากชุมชนไรปทู ะเล สูธ นาคารปมู าแหงความสามัคคี

“คนท่ีนีท่ ำปมู ามากนั ตงั้ แตร ุน ปู ยา ตา ยาย

ทำอวนปมู าเปน 50 60 ปแลว สมยั กอ นปูเยอะมาก
พอตอนน้ีปมู นั นอ ย มันกต็ องหากนิ ไกลขึน้ จบั กันอยางเดียว

”ไมมกี ารปลอย ไมม ีการอนุรกั ษเ ลยครับ
ก็เลยหมด หมดจริง ๆ
ชาวประมง อาวมะขามปอม

ที่อาวมะขามปอม อ.แกลง จ.ระยอง ในอดีตเม�อ 10 กวาปกอน
ที่นี่เคยประสบปญหาจำนวนปูทะเลลดนอยลง วิถีของชาวบาน ที่เคย
ยดึ อาชพี ชาวประมงมาตง้ั แตบ รรพบรุ ษุ เรม่ิ สน่ั คลอน สง ผลกระทบ
ตอการดำรงชีวิตที่มีรายไดลดนอยลง

จึงมีการพูดคุยกันในชุมชนและการประมงเพ�อหาทางออก
และทศิ ทางของการออกขอกฎระเบยี บ ในเรอ� งขอ ตกลงตา ง ๆ
ไมว า จะเปน เรอ� งของการประมงการจบั สตั วน ำ้ หรอื การรว มใช
พื้นที่ในสมาคม ซึ่งจะตองมีการออกเสียงของชาวบานในที่
ประชุมเปนตัวตัดสินขอกฎระเบียบนี้ นอกเหนือจากนั้น
ไดรวมกันกอตั้งธนาคารปูมา ชุมชนบานอาวมะขามปอมขึ้น
เพ�อแกวิกฤตปูมาหมดอาว

คืนไขปูมาสูทะเล คืนวิถีชีวิตสูชุมชน

ธนาคารปูมาเปรียบเสมือนธนาคารแหงอนาคต ของชาวอาวมะขามปอม โดยปูมาที่ชาวประมง จะตองนำมาฝาก
ที่ธนาคารปูมาแหงนี้จะตองเปนปูมาที่มีไขสีดำเทานั้นซึ่งแมปูมาหนึ่งตัว จะใหไขปูมา ที่พรอมฟกเปนลูกปูตัวนอย ๆ
ถึง 1 ลานฟอง และไมวาจะเปนเรือลอบปู หรือเรืออวนปู แตเม�อจับไดปูไขดำมาแลว ชาวบานจะรวมใจกัน มอบใหกับ
ธนาคารปูมา ดวยความเต็มใจ

ธนาคารปูมา เกิดจากการที่ชาวอาวมะขามปอม มองอนาคตรวมกัน มีความตองการจะอนุรักษปูมาเพ�อเพิ่มทรัพยากร

สัตวน้ำ และสืบทอดอาชีพประมงใหกับลูกหลาน เม�อมีจุดหมายเดียวกัน ความเห็นแกตัวจึงลดลง บังเกิดเปนความสามัคคี
จนกลายเปนหมูบานอาชีพประมงตนแบบ ที่นำไปสูความสำเร็จอยางยั่งยืน

7

ชุมชนบา นเตย
อ.พมิ าย จ.นครราชสมี า
จากปญ หาดินเคม็ ที่สรางหนค้ี รวั เรอื นกวา 4 ลา นบาท
สูก ารเปนชุมชนตัวอยางเขมแขง็

ชุมชนบานเตย หมูบานเล็ก ๆ ที่ตั้งอยูในตำบลกระเบื้องใหญ
อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา หากมองดวยสายตาแลว ชุมชน
บานเตยก็เปนอีกหมูบานหนึ่งที่ดูจะอุดมสมบูรณไมนอย แตหมูบาน
ที่เต็มไปดวยพืชผลทางการเกษตรนี้ ครั้งหนึ่งในอดีตกลับเต็มไปดวย
ปญหาที่ทับซอนกันอยางมากมาย

“ ปุยมันแพงก็เลยเริ่มเปนหนี้ไง เพราะวาทางธนาคารก็จะใหโอกาสชาวบานที่เปนลูกคาเปนหนี้ปุย
”เอามาใชกอนไดก็เลยวิเคราะหออกมา โอโห เยอะมาก ประมาณ 4 ลานกวาบาท

สมบัติ โชติกลาง
ผูใหญบานชุมชนบานเตย

จากปญหาที่รุมเราอยูรอบดาน ทั้งปญหาถนนพัง ปญหา
ดินเค็ม และปญหาหนี้สิน การแกปญหาเริ่มในหมูบานนั้นเริ่มจาก
การปรับโครงสรางพื้นฐาน นั่นคือเร�องการทำทางใหสะดวก
แกการสัญจรติดตอกับหมูบานอ�นแตปญหาใหญนั่นคือปญหา
หนี้สินจากปุยเคมียังไมไดรับการคลี่คลาย ชาวชุมชนบานเตย
จึงทำประชาคมรวมกันเพ�อแกปญหาที่คาราคาซังมานาน โดยใช
หลักประชาธิปไตยชาวบานสวนใหญจึงประชาคมลงความเห็น
กันวา การผลิตปุยใชเองคือทางออก

ทำดวยใจ กำไรคุณธรรม

โรงงานปุยอินทรียชุมชนบานเตยถูกกอตั้งขึ้นมาจาก
ความเห็นของทุกคนในชุมชน เพ�อแกปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน
โดยเฉพาะ ตนทุนในการทำการเกษตรที่นอยลง ทำใหชาวชุมชน
บานเตย สามารถปลอดหนี้ครัวเรือนกวา 4 ลานบาทไดใน
ระยะเวลาเพียง 2 ป

แตนอกจากการลดหนี้แลว สิ่งที่ไดกลับคืนมานั่นคือความอุดมสมบูรณแบบที่ไมเคยเปนมากอน

ชุมชนบานเตย ประสบความสำเร็จในการปลดหนี้ครัวเรือนไดอยางทุกวันนี้ เกิดจากการที่ชาวบานทุกคนรวมกันคิด
รวมกันออกความเห็น โดยมีผูนำที่เขมแข็ง มีผูตามที่พรอมตามดวยความสามัคคี ภายใตกติกาชุมชน “รวมคิด รวมทำ
รวมรับผลประโยชน ” จนกลายเปนหมูบาน ที่พลิกฟนดินเค็มใหกลายเปนแผนดินที่อุดมสมบูรณ

8

บอ สวก การทอ งเทยี่ วโดยชุมชน

อ.เมือง จ.นา น
จากปญหาความยากจน สกู ารพัฒนาเปน ชมุ ชนตน แบบทอ งเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรม

จุดเริ่มแทจริงที่ผลักดันใหชุมชนบอสวกเปนกลายเปนแหลง
ทองเที่ยวช�อดังเชนทุกวันนี้ไดนั้น มาจากวิถีชีวิตการใชชีวิตของ
พวกเขานั่นเอง และนี่คงเปนจุดเริ่มตนประการสำคัญที่ทำใหผูนำ
ชุมชนในขณะนั้น เห็นถึงโอกาสที่จะบุกเบิกพัฒนาดานทางทองเที่ยว
ใหเกิดขึ้นได และคงหวังวามันจะชวยสรางเม็ดเงินไหลเขาสูชุมชน
ไดนั่นเอง

ทวา....สิ่งท่ีฝน กลับไมเปน ด่ังคิด

เพราะชาวบานสวนหนึ่ง ไมเขาใจวาการทองเที่ยวโดยชุมชน
คืออะไร ทำอยางไร ทำแลวไดอะไร จึงกอใหเกิดความวิตกกังวล
และเกิดกระแสตอตานขึ้น

หากมองวาความลมเหลว คือ บทเรียน กระแสการตอตาน
ของชาวบานในครั้งนั้นคงเปนคำตอบที่ทำให การกอตั้ง “ชมรม
สงเสริมการทองเที่ยวโดยชุมชนบอสวก ” กาวเดินไปอยาง
ถูกทิศทาง ซึ่งในการกาวเดินครั้งใหมนี้ชุมชนบอสวกก็ไมได
ขับเคล�อนการพัฒนาไปโดยลำพัง มีหลายหนวยงานที่เกี่ยวของ
ย�นมือเขามาใหความชวยเหลือ

แตหากชาวบานยังไมเห็นความโดดเดนของตัวเอง
วิถีบอสวกก็คงไมอาจเผยเสนหตัวตนออกมาได แลว
พวกเขาจะตองทำอยางไรเพ�อจุดชนวนใหชาวบานมองเห็น
ศักยภาพของตัวเอง

“เราจะตอ งคนหาของดนี ะครบั ทีม่ ีความพรอ ม เอามาพฒั นา
”ใหไดมาตรฐานนะครับในทุกดานแลวก็เรียงรอยเปนเสนทาง

การทองเที่ยวโดยชุมชน

สุทธิพงษ ดวงมณีรัตน

ประธานชมรมสงเสริมการทองเที่ยวโดยตำบลบอสวก

สำหรับบอสวก จุดเริ่มตนแหงความสำเร็จคงไมไดเกิดจากความรวมมือรวมใจของคนทั้งชุมชนเทานั้น ดวยตลอด
เสนทางที่เดินมาอยางลมลุกคลุกคลานสายนี้ พวกเขาเติบโตขึ้นมาจากการความผิดพลาด ความไมรู กอนจะนำมาถอด
เปนบทเรียนแลวตกผลึกมาเปนองคความรู ที่มุงไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน

สำคัญที่สุดที่ภาคภูมิใจคือ ภูมิใจที่ไดรักษามรดกทางวัฒนธรรม นอกจากรักษาสิ่งที่มีอยูใหยั่งยืนแลว เรายังไมหยุดนิ่ง
ที่จะคนควาหาวิถีที่นำภูมิปญญาตาง ๆ ที่ฝงตัวอยูกับพอเฒา แมแก เพ�อที่จะเอามาพัฒนาเปนกิจกรรม

9

ชุมชนบา นสามขา
อ.แมท ะ จ.ลำปาง
จากชีวติ ทจ่ี มกับปญ หาหนส้ี นิ สยู ุทธการบริหารหนี้ในชุมชน

ยอนกลับไปเม�อกวา 25 ปกอน ความสุขสงบของผูคนที่นี่ไดถูกบันทอนลง จากวิกฤตปญหาหนี้สิน เม�อปญหา
หนี้สินครัวเรือน สงผลใหเกิดเหตุรายขึ้นในชุมชน

ดวยที่ตั้งของชุมชนเปนที่ราบถูกโอบลอมดวยภูเขา ชาวบานมีอาชีพทำไรทำนา หาของปา และพึ่งพาธรรมชาติ
นั่นคือรูปแบบการดำเนินชีวิตของชาวบานสามขามาชานาน

แตแลว.. เม�อระบบสาธารณูปโภคเริ่มเขามาถึงหมูบาน ทำใหของชาวบานเปลี่ยนวิถีชีวิต ไปสูกระแสบริโภคนิยม

ซึ่งนอกจากความศิวิไลซจากโลกภายนอกที่ลุกคืบเขาถึง
หมูบานแลว ก็ยังมีสถาบันการเงินหลายแหง ที่เยี่ยมหนาเขามา
ทักทายพวกเขาถึงรั้วประตูบาน ชาวบานเริ่มกูเงินจากนายทุน
ปลอยเงินกูนอกระบบ แตขาดวินัยในการใชจายและการผอนชำระ
จึงนำไปสูปญหาหนี้สินในเวลาตอมา

“สุดทายเรามามองดูวา วิเคราะหดูวา หนึ่งในนั้น
”ชาวบานเรากูอยางเดียว ไมเคยออมเลย

แลวจะเอาเงินที่ไหนมาปลดหนี้ตรงนี้

บุญเรือน เฒาคำ
ผูใหญบานสามขา

หลังจากที่บานสามขานำวิธีการปรับปรุงโครงสรางหนี้มาใชซึ่งก็สงผลไปในทางที่ดี จึงเกิดเปนโครงการวิจัยเพ�อ
ทองถิ่น ทวา...เสียงตอบรับกลับไมใชคำตอบที่เขาคาดคิด อาจเพราะงานวิจัยทองถิ่น เปนเร�องใหมของคนที่นี่

หากชาวบานผูกุมความลับขอมูลไมใหความรวมมือ งานวิจัยคงเดินหนาไปไดลำบาก
แลวทีมวิจัยจะรับมือกับปญหานี้อยางไร

ยอดหนี้สูงเสียดฟานี้มาจากไหน จะทำยังไงใหหนี้กอนมโหฬารนี้ลดลงได คือคำถามที่ชาวบานอยากรู

การใช“ บัญชีครัวเรือน ” แกปญหาคือคำตอบ แตวิธีการ
แปลกใหมนี้ จะใชไดผลกับบานสามขาหรือไมหากบัญชีครัวเรือน
คือเคร�องมือที่ชวยใหชาวบานรูพฤติกรรมการใชจายของตัวเอง
แลว การออมจึงเปนอีกวิธีสำคัญที่ชวยสรางความมั่นคงทาง
การเงินใหแกชุมชนแหงนี้ได

ชาวบานสามขาเรียนรูวิธีการบริหารจัดการหนี้สิน โดยการ
ทำบัญชีครัวเรือนเพ�อใหรูพฤติกรรมการใชจายของตนเอง
ทำควบคูก บั การออมทรัพยโดยอาศัยการมีวินัย มคี วามรับผดิ ชอบ
และอยูภายใตกฎระเบียบของชุมชน ทำใหแมปจจุบันปญหาหนี้สิน
ของพวกเขาอาจจะยังไมหมดไป แตก็สามารถดำรงชีพไดอยาง

10 มีความสุข

ชุมชนเขาทอง

อ.พะยหุ ครี ี จ.นครสวรรค
จากปญ หาคนชราถูกทอดทง้ิ สชู ุมชนตนแบบผสู งู อายุ

อีกไมกี่ปประเทศไทยจะกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ
ในวันที่ผูสูงอายุไรเรี่ยวแรงหาเงินหลอเลี้ยงชีวิตไมไดอีกตอไป ใครกัน
ที่จะชวยประคับประคองพวกเขาเหลานั้น

ชุมชนเขาทอง เตรียมพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ
ดวยการสรางชุมชนสุขภาวะ

“ พบวามีผูสูงอายุในสัดสวนจำนวนที่สูงมากในชุมชน...ตอนที่เรา
สำรวจเจอปญหาวาผูสูงอายุ ลูกหลานไปทำงานตางจังหวัด มีแต
ผูสูงอายุที่อยูกันเองดูแลกันเอง เราก็เห็นปญหาวาผูสูงอายุอยูกันเอง
สองคนในชุมชนจะดูแลกันยังไง...”

ศศิธร มารัตน
หัวหนางานผูสูงอายุและสงเสริมสุขภาพชุมชน

เม�อเห็นปญหา ความรวมมือจึงตามมา

โดยความรวมมือของหลายฝาย ศูนยผูสูงอายุเขาทอง จึงถูกจัดตั้งขึ้นเพ�อแกโจทยของชุมชน โดยมีภารกิจดูแล
ผูสูงอายุ ทั้งเร�องสุขภาพและการประคับประคอง จุดแข็งของชุมชนเขาทองคือความสัมพันธที่อยูกันฉันทเครือญาติ
แมการทำงานที่ผานมาจะมีทั้งความสำเร็จและความผิดพลาด แตการมีสวนรวมนี่เองที่นำไปสูการเรียนรูเพ�อพัฒนา
สุขภาวะของผูสูงในชุมชนใหดีขึ้น

สังคมผูสูงอายุ เปนเร�องของทุกคน ชาวชุมชนเขาทอง เขาใจปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน และเรียนรูที่จะมี

สวนรวมนี่เอง ที่นำไปสูการเรียนรูเพ�อพัฒนาสุขภาวะของผูสูงอายุในชุมชนใหดียิ่งขึ้นอยางยั่งยืน

11

ชมุ ชนไทยพวน

อ.ปากพลี จ.นครนายก

อตั ลักษณแ ละศกั ดศ์ิ รีแหงวถิ ีชาวพวนทีห่ ายไป สตู น แบบประวตั ศิ าสตรแ หง ชาติพนั ธุ

ภาษา.. คือรากของวัฒนธรรม

วัฒนธรรม คือวิถีชีวิตที่ผูคนประพฤติปฏิบัติสืบตอกันมาจนเปน
มรดกทางสังคม

แตเม�อไหรก็ตามที่ภาษาถิ่นถูกลืม

เม�อไหรที่วัฒนธรรมขาดผูสืบทอด วัฒนธรรมนั้นก็จะตายไป
ในเวลาอีกไมนาน

ประเทศไทยประกอบดวยประชากรที่มีความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม มีชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุยอยตาง ๆ และมีภาษา
ของชุมชนทองถิ่น ชุมชนชาวไทยเชื้อสายพวนวัดฝงคลอง
ตำบลเกาะหวาย อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เปนชุมชนหนึ่ง
ที่มีวัฒนธรรมของพวกเขาเองที่สืบตอกันมานับรอยป

ภาษาไทยพวนที่กำลังจะหายไป วัฒนธรรมที่ไรคนสืบสาน

วัฒนธรรมยังเปนสิ่งที่สะทอนความเจริญงอกงามของชนชาติหนึ่ง ๆ หากวัฒนธรรมสูญหายไป อัตลักษณของ
ชนชาตินั้น ๆ ก็สิ้นสุดลงดวยเชนกัน ชาวไทยพวนกลุมหนึ่งไดตระหนักถึงความจริงที่นาวิตกกังวลนี้

จากการทำงานรวมกันของหลายฝาย เปนผลใหมีการเปด “พิพิธภัณฑพื้นบานวัดฝงคลอง” ขึ้นในปพ.ศ. 2541
ซึ่งตอมาที่แหงนี้ก็กลายเปนแรงบันดาลใจเริ่มตนในการตามหาคุณคาใหมๆ ของชาวไทยเชื้อสายพวน

ในวันนี้ผลงานที่เปนรูปธรรมของโครงการศึกษาประวัติศาสตรไทยพวน ประกาศตัวอยางภาคภูมิใจอยูในโถง
นิทรรศการของพิพิธภัณฑ จากนั้นจึงไดรับการสงเสริม สนับสนุนจากหลายหนวยงาน จนไดยกระดับขึ้นมาเปน
“มิวเซียม ปะพวน ที่ปากพลี” ไดรับการยกยองใหเปนตนแบบพิพิธภัณฑการเรียนรูในระดับภูมิภาค และเปนแหลงทองเที่ยว
พิพิธภัณฑดานชาติพันธุของจังหวัดนครนายก

ความเขมแข็งและสามัคคีของคนในชุมชนไทยพวน ผลักดันใหเกิดการสืบหาที่มาตัวตนและฟนฟูวัฒนธรรมชีวิต
ความเปนอยูแบบไทยพวนดั้งเดิม เต็มไปดวยพลังแหงความพยายามที่จะสงตอสิ่งเหลานี้สูรุนลูกรุนหลาน เพ�อเปนการ
รักษาอัตลักษณของชุมชนเอาไวอยางยั่งยืน

12

ชุมชนบานโนนเขวา

อ.เมือง จ.ขอนแกน

จากกลมุ เกษตรกรปลูกผักราคาตำ่
สูการเปน ตนแบบกลมุ เกษตรแปลงใหญท ่ีใชตลาดนำการผลิต

แปลงผกั นานาชนดิ กวา 450 ไร ทช่ี ตู น อาบแสงอาทติ ยอ ยู คอื พน้ื ทก่ี ารทำเกษตรแปลงใหญข องบา นโนนเขวา ตำบลดอนหนั

อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน หมูบานที่ปลูกผักไมตองงอพอคาคนกลาง จนถูกขนานนามวา “โนนเขวาโมเดล”

แตกวาจะมาเปนโนนเขวาโมเดลอยางเชนทุกวันนี้ หมูบานแหงนี้ก็ตองผานอุปสรรคมาอยางมากมาย ทั้งปญหาสารพิษ
และปญหาผักราคาต่ำ

การสรางความเขาใจและใหความรูใหมที่ตรงขามกับความเคยชินดั้งเดิมของชาวบาน สำหรับเกษตรกรบานโนนเขวานั้น
ใชเวลาเพียง 3 ปเทานั้น ในการเปลี่ยนพฤติกรรมการใชสารเคมีโดยไมคำนึงถึงอันตราย เปนการทำเกษตรปลอดสารพิษ
จนไดรับการรับรองมาตรฐาน GAP

ปลูกผักไดมาตรฐาน GAP แตราคาผักยังคงตกต่ำ

ปญหาราคาตกต่ำ สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของชาวโนนเขวาจนเขาขั้นวิกฤติ ชาวบานเริ่มมองไมเห็นอนาคต
ในอาชีพที่ไดรับสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ แตแลวแสงสวางที่ปลายอุโมงคก็บังเกิด เม�อผูคารายใหญสนใจผักของโนนเขวา

แตปริมาณผักที่ตองการตอวันนั้นถือวาเปนจำนวนมาก กลุมเกษตรกรทำสวนบานโนนเขวาจึงถูกกอตั้งขึ้น ภายใต
ความตั้งใจที่จะรวมกลุมกันเพ�อใหมีพลังในการตอรองราคาผลผลิต และเพ�อรองรับรายการซื้อของหางที่มีมากในแตละวัน
การวางระบบการทำงานจึงเปนเร�องที่สำคัญเปนอยางมาก

นอกจากการปนผลประจำปแลว กลุมเกษตรทำสวนบานโนนเขวา ยังมีการจายเงินที่ไดจากการขายผักใหกับเกษตรกร
ผูเปนสมาชิกกลุมในทุกสัปดาห ถือเปนรายรับที่แนนอนกวาการขายผักสงพอคาคนกลางในอดีต

กลุมเกษตรทำสวนบานโนนเขวาในทุกวันนี้ คือตัวอยางของการทำงานแบบบูรณาการในทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ
ที่ชี้นำแนวทางที่ถูกตอง ภาคเอกชนที่ชวยสนับสนุน และภาคประชาชนที่ทำงานรวมกันอยางแข็งขัน สรางพลังของกลุม
จนเอาชนะปญหาที่มีไดในที่สุด

13

ชมุ ชนคลองจรเขน อ ย
ต.เกาะไร อ.บา นโพธิ์ จ.ฉะเชงิ เทรา
ถอดบทเรยี นแกป ญหายาเสพติดในชุมชน

ชุมชนคลองจรเขนอย อ.บานโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา หมูบานที่ทำการ
เกษตรเลี้ยงชีพมีวิถีชีวิตที่ดูสุขสงบ แตหากยอนกลับไปเม�อป 2537
ที่นี่เคยประสบปญหาดานยาเสพติดทั้งการเสพและการคาอยางรุนแรง

"หมาเหาจนเม�อยหลับ" เปนการเปรียบใหเห็นภาพของชุมชน
คลองจระเขนอยในเวลานั้น ที่มอเตอรไซดสงเสียงดังทั้งคืน คนนอก
เขามาซื้อยา คนในทั้งเสพทั้งขาย สงผลใหหมูบานที่เคยสงบสุขเริ่ม
เกิดรอยราว

ความทุกขกัดกินความสงบสุขของหมูบานไปเร�อย ๆ จนกระทั่ง
ชัยชาญ จำเริญ ผูเฝามองความเปนไปของชุมชนคลองจรเขนอย
มาเนินนานไดกาวเขามาเปนนายก อบต. ในป 2542 ปญหาเร�อง
ยาเสพติดถึงไดเริ่มแกไข

แกปญหายาเสพติดที่กัดกินชุมชน ดวยมาตรการบันได 3 ขั้น

ขั้นที่ 1 คือ ลด ขั้นที่ 2 คือละ ขั้นที่ 3 คือทำลาย

แตทวา การใหความรวมมือจากชาวบานนั้น ไมใชเร�องงาย... ทางเดียวที่ทีมทำงานเห็นพองตองกันในการแกปญหานี้
คือการสรางความเช�อใจใหกับคนในชุมชน จนในที่สุดการประชุมประชาคมโดยมีชาวบานเขารวมกันอยางพรอมเพรียง
จึงไดเกิดขึ้น เพ�อหาทางปญหายาเสพติดใหกับชุมชน

การรณรงคแ กปญหาของชมุ ชนคลองจรเขนอยต้งั อยูบ นแนวคดิ “ไมสรา งกระแสตอตาน ไมประนาม”เพราะผูเก่ียวขอ ง
ลวนเปนเครือญาติในชุมชน และลงมือปฏิบัติการแบบ “ใหความชวยเหลือ ใหอภัย ใหโอกาสกลับใจ” เพ�อใหผูหลงผิด
กลับมาสูสังคมดวยความยินยอม

จากความชวยเหลือจากกลุมประชาคมในวันนั้น
วันนี้...ผูใหญพเยาว ในฐานะผูใหญบานชุมชนจรเขนอย
คนปจจุบันและทีมงาน จึงทุมเททำงานในทุกวันนี้เพ�อ
ชาวชุมชนคลองจรเขนอย โดยอาศัยโมเดลที่ไดรับ
สืบตอมา

ชุมชนคลองจรเขนอย ในอดีตสามารถเอาชนะ
ยาเสพไดดวยความเขาใจดุจญาติมิตร และกลไกของ
ชุมชน โดยใหทุกคนมีสวนรวม ผานมา 22 ป โมเดลนี้
ยังคงถูกนำมาใชปกปองหมูบานของพวกเขา โดยคน
รุนใหม ที่พรอมทำงานเพ�อชุมชนดวยความสามัคคี

14

ชมุ ชนบานหนองไมเฝา

ต.เขาขลงุ อ.บา นโปง จ.ราชบรุ ี
ชุมชนตน แบบในการจัดการปญ หาขยะอยางยงั่ ยนื

บานหนองไมเฝา อ.บานโปง จ.ราชบุรี ที่นี่นอกจากปริมาณขยะจะเปนศูนยจนไดช�อระดับประเทศวาเปนหมูบาน
ปลอดขยะแลว พวกเขายังสามารถเปลี่ยนมันใหกลายเปนสิ่งตาง ๆ ที่มีมูลคาไดอีกดวย

แตในอดีตเคยเปนหมูบานที่มีปญหาขยะลนเมืองจนสง
ผลกระทบถึงคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของคนทั้งชุมชน
อยางนาตกใจ จากพฤติกรรมการจัดการขยะแบบไมถูกวิธี
ทำใหชาวบานตองทนอยูกับปญหาขยะรอบตัวทั้งยังตอง
เผชิญกับปญหาสุขอนามัยตลอดมา

กระทั่งนายสมบัติ เทพรส นายกองคการบริหารสวนตำบล
เขาขลุง ตะหนักถึงปญหาและริเริ่มนำแนวคิดดานการบริหาร
จัดการขยะมาแกปญหาอันนาเปนหวงนี้ใหกับชุมชน

อุปสรรคสำคัญคือชาวบานไมใหความรวมมือ
เพราะพวกยังไมมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการจัดการขยะ

เริ่มมีการประกาศชักชวนวาถาใครสนใจที่จะมาเขารวมโครงการก็ใหมารวมตัวกัน มีการจัดตั้งคณะกรรมการ มีการ
ทำแผนงานที่นายกกำหนดไว จากการใชตัวเองเปนตนแบบและลงมือทำใหเห็นเปนตัวอยาง ควบคูกับการประชาสัมพันธ
ใหความรูอยางตอเน�องสม่ำเสมอ ความพยายามนี้ทำใหชาวบานเกิดความศรัทธาและนำไปสูการใหความรวมมือในที่สุด

ความสำเร็จในแกปญหาขยะของชุมชนบานหนองไมเฝาเกิดจากการที่ผูนำชุมชนทั้งฝายปกครองและทองถิ่น ลงมือ
ปฏิบัติใหเห็นชาวบานเห็นเปนแบบอยาง และสงเสริมองคความรูดานการจัดการขยะที่ถูกวิธีใหกับชาวบาน รวมถึง
การสรางจิตสำนึกรักษาความสะอาดใหกับคนในชุมชน ดวยวางเปาหมายที่ชัดเจนคือ การจัดการขยะอยางยั่งยืน

15

ชุมชนบา นน้ำทรัพย

ต.แกงกระจาน อ.แกง กระจาน จ.เพชรบุรี
แกป ญหาความยากจนดวยวถิ ีเศรษฐกิจพอเพยี ง

คุณเช�อหรือไมวา ขุนเขาอันอุดมสมบูรณที่เห็นอยูนี้ ในอดีต
เคยมีสภาพเปนเขาหัวโลนมากอน จากการบุกรุกถางปาเพ�อบุกเบิก
ทำกิน

ซึ่งนอกจากสัมปทานเผาถาน ในเวลานั้นวิถีเกษตรกรรม
ของชาวบานน้ำทรัพยเอง ก็ดูเหมือนจะเปนอีกหนึ่งสาเหตุสำคัญ
ที่สรางปญหาความแหงแลงและความยากจนมาสูชุมชน อีกทั้ง
ยังมีปญหาการตัดไมทำลายปา และยาเสพติด

จึงเกิดการทำประชาคมหมูบาน เพ�อรับฟงความคิดเห็น
และรวมกันเสนอแนวทางการพัฒนา

แตการแกปญหาจะสำเร็จหรือไมนั้น..พลังความรวมมือของชาวบานคงเปนฐานรากสำคัญที่จะชวยใหการพัฒนาดำเนิน
ไปไดอยางราบร�น แลวเขาจะตองทำอยางไรจึงจะดึงการมีสวนรวมของชาวบานออกมาได

แกปญหายาเสพติด โดยใชความจงรักภักดี
ตอสถาบันพระมหากษัตริยเปนเปาหมายรวมกันในการดำเนินการ

พวกเขาใชเวลาเพียง 6 เดือนเทานั้นในการจัดการกับปญหานี้ไดสำเร็จ และประกาศตัวเปนหมูบานเฉลิมพระเกียรติ
ปลอดยาเสพนับตั้งแตนั้นมา

หลังขจัดปญหายาเสพติดไดสำเร็จ การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ คือเปาหมายตอไป เม�อระบบนิเวศ
อันสมบูรณที่กลับคืนมานี้ยังทำใหสัตวปาบางชนิดหวนคืนถิ่นอีกดวย จึงเกิดการพัฒนาตอยอดไปสูการทองเที่ยว
เชิงนิเวศเพ�อหารายไดเขาสูชุมชน โดยกิจกรรมที่สงเสริมใหนักเที่ยวไดมีสวนรวม แตยังเหลืออีกหนึ่งเปาหมายสำคัญ
ที่ยังไมบรรลุผล “ดำรงชีพแบบเศรษฐกิจพอเพียง” เพ�อแกปญหาความยากจน

ความทาทายนี้คงไมใชเร�องงายสำหรับพวกเขา เพราะตัวอยางที่ดีมีคากวาคำพูด เม�อคนในหมูบานเริ่มเห็นผลสัมฤทธิ์
จากการเปลี่ยนแปลงชีวิตไปสูวิถีเศรษฐกิจพอเพียง มีรายได มีความสุข พึ่งพาตัวเองไดอยางยั่งยืน นั่นคงเปนคำเชิญชวน
ไรเสียง ที่ทำใหชาวบานคนอ�นที่ไมเห็นดวยแตแรก หันมาทำตาม

จากพลังความจงรักภักดีอันเปนศูนยรวมใจที่สงใหชาวบานรวมผสานพลังขับเคล�อนการพัฒนาไปยังเปาหมายเดียวกัน
นั่นคือ วิถีความสุขอยางยั่งยืนของคนที่นี่ “บานน้ำทรัพย” จ.เพชรบุรี

ความสำเร็จในการแกปญหาตาง ๆ และการพัฒนาตอยอดไปสูกิจกรรมอ�น ๆ ของชุมชนบานน้ำทรัพย เกิดจากการ
รวมกันวางเปาหมายที่ชัดเจนและลงมือทำอยางจริงจัง โดยมีความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมจิตใจ
และเปนพลังในการขับเคล�อนการพัฒนา

16

ชอ งทางการติดตอชุมชน โหลงขอดโมเดล

ชุมชนเกาะจิก คุณเศริมศักดิ์ ปนเขียว
ผูใหญบาน บานหลวง ต.โหลงขอด
คุณณรงคชัย เหมสุวรรณ 065 747 7689
ผูใหญบานเกาะจิก
099 229 3883 ธนาคารปูมา

ชุมชนบานเตย คุณโสธร เทพนุเคราะห
นายกสมาคมประมงสุนทรภู
คุณสมบัติ โชติกลาง กลุมเกษตรกรทาประมงกร่ำ
ผูใหญบานชุมชนบานเตย 099 056 7999

061 316 8647 ชุมชนบอสวก

ชุมชนบานสามขา คุณสุทธิพงษ ดวงมณีนัตน
คุณบุญเรือน เฒาคำ ประธานชมรมสงเสริมการทองเที่ยว
ผูใหญบานชุมชนบานสามขา โดยตำบลบอสวก
081 028 9051
081 179 4771
17

ชอ งทางการติดตอชุมชน

ชุมชนเขาทอง

คุณศศิธร มารัตน

หัวหนางานผสู ูงอายแุ ละสงเสรมิ สขุ ภาพชุมชน

089 115 3199

ชุมชนไทยพวน

วาที่รอยตรีชาติชาย ยอดมิ่ง
ประธานชมรมสงเสริมการทองเที่ยว

ชุมชนไทยพวน
092 757 9377

ชุมชนโนนเขวา

คุณอภิสิทธิ์ ชุมยางสิม

ผูใหญบานและประธานกลุมเกษตรกรทำสวน

บานโนนเขวา จ.ขอนแกน

084 516 0085

ชุมชนคลองจรเขนอย
คุณพเยาว พวงเจริญ
ผูใหญบานชุมชนคลองจรเขนอย
087 924 8317

ชุมชนบานหนองไมเฝา

คุณสมบัติ เทพรส
นายกองคการบริหารสวนตำบลเขาขลุง
081 858 7857

ชุมชนบานน้ำทรัพย
คุณชูชาติ วรรณขำ
ผูใหญบานชุมชนบานน้ำทรัพย

092 610 4835

18

19

ขอขอบคุณ

ดร.ธนกร ศรีสุขใส

ผูจัดการกองทุนพัฒนาส�อปลอดภัยและสรางสรรค

นางสาวลัดดา ตั้งสุภาชัย

ประธานคณะทำงาน

นางสาวพิมพพรรณ ไพบูลยหวังเจริญ

คณะทำงาน

นายบุญเตือน ศรีวรพจน

คณะทำงาน

นางนนทพร พรประยุทธ วันงาม

คณะทำงาน

นายวีระพงษ กังวานนวกุล

คณะทำงานและเลขานุการ

คณะผูจัดทำ

นางกฤติกา เกลี้ยงกลม
นายณัฏฐชวัญช ใจธรรม
นางสาวจตุพร วงษเจริญ
นางสาวพราวรวี พจนปกรณ
นางสาวณัฐรุจา แกววิทยาการ
นายพนม เกลี้ยงกลม
นายสุนทร พันธสวัสดิ์
นายสหชาติ พยุงพันธ

20



“น้ำหนึ่งไทยเดียว”

เพราะทุกอยางเริ่มตนไดจากจุดเล็กๆ และเร�องราวเล็กๆ รอบตัว
รวมถอดบทเรียนความสำเร็จในความเปนนามธรรมของ

“ความสมัครสมานสามัคคี”

สูความเปนรูปธรรมอันยั่งยืนของสังคมชุมชน
สังคมฐานรากแหงการตอยอดไปสูความสามัคคีของคนในชาติ

สูการรวมพลังเพ�อพัฒนาประเทศ


Click to View FlipBook Version