หน่วยท่ี 1
ความรู้เบอื้ งต้นเกย่ี วกบั อนิ เทอรเ์ น็ต
1.1 ความหมายของอนิ เทอรเ์ น็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด
ของโลก โดยจะเป็นการเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เคร่ืองจากทั่วโลกมา
เช่ือมต่อเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยให้ติดต่อส่ือสารและแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกันได้ทั่วโลก
ในการติดต่อกันระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ จำเปน็ ต้องมีการระบวุ ่า สง่ มาจากไหน่ ส่งไป
ให้ใครซึง่ ตอ้ งมีการระบุ ช่ือเคร่ือง (คลา้ ยกับเลขทบ่ี ้าน) ในอินเทอรเ์ นต็ ใช้ข้อตกลงในการ
ติดต่อท่ีเรียกว่า TCPIP (ข้อตกลงที่ทำให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันได้ ซ่ึงจะใช้สิ่งที่เรียกค่า
"ไอพี-แอดเดรส (IP-Address)" ในการระบุช่ือเครอ่ื งจะไม่มีเบอร์ทซ่ี ำ้ กันได้
รูปที่ 1.1 ระบบการเชื่อมตอ่ ของอินเทอร์เนต็
1.2 ประวตั ิความเป็นมาของอนิ เทอรเ์ นต็
อินเทอร์เน็ต มีพัฒนาการมาจากอาร์พาเน็ต (ARPAnet) เรียกสั้น ๆ ว่า อาร์พา
ท่ีต้ังข้ึนในปี 2512 เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ใช้
ในงานวิจัยด้านทหาร (Advanced (bnielient O3a wiefur AeeResearch Project
Agency: ARPA)
ปี 2515 หลังจากที่เครือข่ายทดลองอาร์พาประสบความสำเร็จอย่างสูง และได้มี
การปรับปรุงหน่วยงานจากอาร์พามาเป็นดาร์พา (Defense Advanced Research
Project Agency: DARPA)
ปี 2518 อ าร์พ า ขึ้น ต รงกับ ห น่ วย ก ารส่ื อ ส ารข อ งกอ งทั พ (Defense
Communication Agency)
ปี 2526 อาร์พา ได้แบ่งออกเป็น 2 เครีอข่ายด้านงานวิจัย ใช้ชื่ออาร์พาเน็ต
เหมือนเดิม ส่วนเครือข่ายของกอง ทัพใช้ช่ือว่า มิลเน็ต (Millitary Network: MILNET)
ซ่ึงมีการเชื่อมต่อโดยใช้ โพรโตคอล (Transmission Control ProtocolInternet
Protocol) เปน็ ครัง้ แรก
ในปี 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติของอเมริกา (NSF) ได้ให้เงินทุนในการ
สร้างศูนยซ์ เู ปอรค์ อมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ช่ือว่า NSFNET
ปี 2533 อาร์พารองรับภาระท่ีเป็นกระดูกสันหลัง (Backbone) ของระบบไม่ได้
จึงได้ยุติอาร์พาเน็ตและเปลี่ยนไปใช้ NSFNET และเครือข่ายขนาดมหึมา จนถึงทุกวันน้ี
และเรียกเครือข่ายนี้ว่า อินเทอร์โดยเครือข่ายส่วนใหญ่จะอยู่ในอเมริกา ปัจจุบันนี้มี
เครือข่ายย่อยมากถึง 50,000 เครือข่ายทีเดียว และคาดว่า ภายในปี 2543 จะมีผู้ใช้
อินเทอรเ์ นต็ ท้ังโลกประมาณ 100 ลา้ นคน หรอื ใกล้เคยี งกบั ประชากรในโลกทั้งหมด
สำหรับประเทศไทยนั้น อินเทอร์เน็ตเริ่มมีบทบาทอย่างมากในช่วงปี 2530-
2535 โดยเร่ิมจากการเป็นเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์ระดับมหาวิทยาลัย
(Campus Network) แล้วจึงเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตอย่างสมบูรณ์เม่ือเดือน
สิงหาคม 2535 และในปี 2538 ไดเ้ ปดิ ใหบ้ ริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณซิ ย์ (รายแรก
คือ อินเทอร์เน็ตเคเอสซี ซ่ึงขณะน้ัน เวิลด์ไวด์เว็บกำลังได้รับความนิยมอย่างมากใน
อเมริกา
อนิ เทอรเ์ น็ต เรียกกนั ย่อ ๆ ว่า เน็ต (Net) หรือ The Net หรือ อินเทอร์เน็ตก็
คือ เว็บ (Web) และเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) เป็นเพียงบริการหนึ่งของ
อินเทอรเ์ นต็ เทา่ นน้ั แตบ่ ริการน้ี ถอื วา่ เปน็ บรกิ ารทม่ี ผี ู้นยิ มใช้มากท่สี ดุ
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้
บ ริก า ร จ ด ห ม า ย เล็ ก ท รอ นิ ก ส์ แ บ บ แ ล ก เป ลี่ ย น ถุ งเม ล์ เป็ น ค รั้ งแ รก ท่ี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (Prince of SongkhlaUniversity)
และสถาบันทคโนโลยีแห่งเอเซียหรือสถาบันเอไอที (AIT) ภายใต้โครงการความร่วมมือ
ระหวา่ ง จากประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP) ซง่ึ เปน็ การติดต่อเช่อื มโยงโดย
สายโทรศัพท์ จนกระท่ังปี ปัจจุบันพ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
หาดใหญ่ ได้ย่ืนขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยโดยได้รับท่ีอยู่อินเทอร์เน็ต Sitrang
psu.th ซึง่ นับเป็นท่ีอยู่อนิ เทอรเ์ นต็ แห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บรษิ ัท
DEC (Thailand) จำกัด ได้ขอท่ีอยู่อินเทอร์เน็ตเพ่ือใช้ประโยชน์ภายในของบริษัทโดย
ได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ตเป็น dect co.th โดยท่ีคำ "" เป็นส่วนที่เรียกว่า โดเมน
(Domain) ซ่ึงเป็นส่วนท่ีแสดงโซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมา
จากคำวา่ Thailand
รปู ท่ี 1.2 แสดงการใชง้ านอินเทอร์เน็ตแทนการเขียนจดหมายส่งทางไปรษณีย์
การใช้งานอินเทอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ช่ัวโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้น
เป็นคร้ังแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบริการ จฬาลงกรณ์
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ได้ เช่ า ว ง จ ร สื่ อ ส า ร ค ว า ม เร็ ว 9 6 0 0 บิ ต ต่ อ วิ น า ที จ า ก
การสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเช่ือมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตท่ีบริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี
(UUNET Technologies) ประเทศสหรฐั อเมริกา
ในปีเดียวกันได้มีหน่วยงานท่ีเช่ือมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่าน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลแห่งเอเชีย
มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
มหาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายน้ีว่า”ไทย
เนต็ ”ซง่ึ นบั เปน็ เครือขา่ ยท่ีมี เกตเวย์หรือประตูสู่เครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ แหง่ ประเทศไทย
ปัจจุบันมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการตฺบโตมากกว่า 100% สมาชิกของ
อินเทอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิตินักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่ิงทวี
ความสำคัญมากขึ้นเป็นลำดับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้แลกเปล่ียนข่าวสารระหว่างกัน
โดยงา่ ย ในปจั จุบนั มีเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เชือ่ มโยงไปทวั่ โลก ผ้ใู ช้ในซกี โลกหนึง่ สามารถ
ตดิ ต่อกบั ผใู้ ชใ้ นซีกโลกหนง่ึ ได้อย่างรวดเร็ว
“อินเทอร์เน็ต” (lnternet) เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในยุคของสังคม
ข่าวสารปุจจุบันอินเทอร์เน็ตมีขอบข่ายครอบคลุมพ้ืนท่ีแทบทุกมุมโลก สมาชิกใน
อินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุดใด ๆ เพื่อส่งข่าวสารและข้อมูลระหว่าง
กันได้ บริการข้อมูลในอินเทอรเน็ตมีหลายรูปแบบและมีผู้นิยิมใช้เพ่ิมมากข้ึน ปัจจุบันมี
เครือข่ายทั่วโลกท่ีเช่ือมเข้าเป็น อินเทอร์เน็ตประมาณ 45,000 เครือข่ายจำนวน
คอมพิวเตอร์ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามีประมาณ 4 ล้านเคร่ือง หรือหากประมาณ
จำนวนผูใ้ ช้อินเทอรเ์ นต็ ทว่ั โลกคาดว่ามป่ี ระมาณ 25 ลา้ นคน และมีแนวโน้มเพ่มิ มากข้นึ
การเช่ือมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยมีจุดกำเนิดมากจากเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ระหว่างมหาลัย หรือท่ีเรียกว่า “แคมปัสเน็ตเวร์ก” (Campus Network)
เค รื อ ข่ า ย ดั งก ล่ าว ได้ รั บ ก าร ส นั บ ส นุ น จ าก “ศู น ย์ เท ค โน โล ยี อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ” (NECTEC) จนกระทั่งได้เชื่อมเข้าสู้อินเทอร์เน็ตโดยสมบูรณ์ใน
เดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยใช้ E-mail
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 โดยเร่ิมท่ี “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่” เป็น
แห่งแรก และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ภายใต้ความร่วมมือระหว่างไทยและ
ออสเตรเลียในช่วงเวลต่อมา ในขระนั้นยังไม่ได้มีการเชือ่ มต่อ แบบ On-line หากแต่เป็น
การแลกเปลี่ยนข่าวสาร ด้วย E-mail โดยใช้ระบบ MSHnet และ UUCP โดยทาง
ออสเตรเลยี จะโทรศพั ท์เชื่อมเข้ามาส่รู ะบบวันละ 2 คร้ัง
1.2 ประโยชน์และการใชง้ านของอนิ เทอรเ์ นต็
ปัจจบุ นั อินเทอรเ์ น็ต มคี วามสำคญั ตอ่ ชวี ติ ประจำวันหลายดา้ น อาทิ ดา้ น
การศกึ ษา พาณชิ ย์ ธรุ กรรม วรรณกรรม และอนื่ ๆ ดังนี้
1.3.1 ประโยชน์ของอนิ เทอร์เนต็
1. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์
(1) คน้ หาขอ้ มลู ต่าง ๆ เพอ่ื ชว่ ยในการตดั สินใจทางธุรกจิ
(2) สามารถซอื้ ขายสินคา้ ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็
(3) ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ สามารถเปิดให้บริการ และ
สนับสนุนลูกค้าของตน ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คำแนะนำ
สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรือ
โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นตน้
2. ด้านสนันสนุนการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการติดต่อส่ือสาร
เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสาร ระหว่างคณาจารย์และนักศึกษา
สถาบันการศกึ ษาเกยี่ วกับการเรียนการสอนดงั น้ี
(1) การใช้เป็นระบบส่ือสารส่วนบุคคล บทอินเทอร์เน็ตมอิเล็กทรอนิกส์
เมล์หรือเรียกย่อๆว่า อีเมล์ (E-mail) เป็นระบบที่ทำให้การสื่อสารระหว่างกันเกิดข้ึนได้
ง่าย แต่ละบุคคลจะมีตู้จดหมายเป็นของตัวเองสามารถส่งข้อความถึงกันผ่านในระบบน้ี
โดยส่งไปยังตูจ้ ดหมายของกันและกัน นอกจากน้ียังสามารถประยุกต์ไปใช้ทางการศึกษา
ได้
(2) ระบบข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต มีลักษณะเหมือนกระดานข่าวท่ีเช่ือมที่
เชื่อมโยงถึงกันท่ัวโลกทุกคนสามารถเปิดกระดานข่าวท่ีตนเองสนใจหรือสามารถส่ง
ขา่ วสารผ่านกลุม่ ข่าวบนกระดานนี้ เพ่ือโต้ตอบขา่ วสารกนั ได้
(3) การใช้เพ่ือสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตมีแหล่งข้อมูล
ขนาดใหญ่ที่เช่ือมโยงกัน และติดต่อกับห้องสมุดทั่วโลก ทำให้การค้นหาข้อมูลข่าวสาร
ตา่ งๆทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพ หมายถงึ สามารถคน้ หาและไดม้ าซงึ่ ขอ้ มลู ใน
เวลาอันสั้น โดยเฉพาะบบนอินเทอร์เน็ตจะมีคพหลัก (Index) ไว้ให้สำหรับการสืบค้นที่
รวดเรว็
(4) ฐานข้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web) เป็นฐานข้อมูลแบบ
เอกสาร (Hypertext) และแบบมีรูปภาพ (Hypermedia) จนมาปัจจุบัน ฐานข้อมูล
เหล่าน้ีได้พัฒนาขึ้นมาจนเป็นแบบมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่งมีทั้งข้อความ รูปภาพ
วดิ ิโอ วดี ิทัศน์ และเสยี งผ้ใู ชเ้ ครือขา่ ยน้สี ามารถสืบคน้ ได้จากท่ีตา่ งๆท่ัวโลก
(5) การพูดคุยแบบโต้ตอบหรือคุยเป็นกลุ่ม บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถ
เช่ือมต่อกันและพูดคุยกันได้ด้วยเวลาจริง ผู้พูดสามารถพิมพ์ข้อความโต้ตอบกันได้ไม่ว่า
จะอยู่ท่ีใดบนเครอื ข่าย
(6) การส่งถ่ายข้อมูลระหว่างกันแบบ FTP (Files Transfer Protocol) คือ
สามารถโอนย้ายถา่ ยเทข้อมูลระหว่างกันเป็นจำนวนมากๆ ได้โดยส่งผา่ นระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตซึ่งทำให้สะดวกต่อการรับ-ส่งมูลข่าวสารซ่ึงกันและกัน โดยไม่ต้องเดินทาง
และขา่ วถึงผู้รับไดร้ วดเร็วยิ่งข้ึน
(7) การใช้ทรัพยากรท่ีห่างไกลกัน ผู้เรียนอาจอยู่ท่ีบ้านและเรียกใช้ข้อมูลท่ีเป็น
ทรัพยากรการเรียนรขู้ องมหาวทิ ยาลัยได้
ข้อพงึ ระวังในการใช้อนิ เทอร์เนต็ เพอื่ การศึกษา
(1) การสืบคน้ ขอ้ มลู เนือ่ งจากข้อมลู บนเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นขอ้ มูลทไ่ี ม่ได้
มกี ารรับรองจากผเู้ ชี่ยวซาญ องค์กร หรือสถาบันใด และเปน็ ขอ้ มูลที่ผูใ้ ช้เครือขา่ ยทุกคน
มีสิทธิท่ีนำเสนอความคิดเห็น เผยแพร่ข่าวสารอย่างเป็นอิสระ ดังนั้น ผู้ใช้จึงจำเป็นต้อง
ตรวจสอบข้อมูลและใช้วิจารณญาณในการเลอื กสรรเอาเอง
(2) การติดต่อสื่อสาร แม้ว่าการส่งอีมล์จะเป็นวิธีการติดต่อสื่อสารท่ีแสน
สะดวกสบายแต่ก็มขี ้อจำกัดบางอย่าง คือ ผู้รับไม่สามารถสังเกตการแสดงออกทางสหี น้า
ท่าทาง หรือน้ำเสียง ประกอบของผู้ส่งได้เลย ดังน้ัน การเขียน หรือพิมพ์ข้อความใด ๆ
ในอีเมล์จึงจำเป็นต้องเขียนให้ชัดเจน กระชับ และถูกกาลเทศะ เพื่อป้องกันความเข้าใจ
ผิดที่อาจเกิดขน้ึ ได้
(3) การเผยแพร่ข้อมูล เนื่องจากอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายไร้พรหมแดน ที่ไม่มี
เจา้ ของและไมข่ นึ้ กับกฎระเบยี บขององค์กรใดองคก์ รหนึง่ ดงั นนั้ ผู้ใชเ้ ครอื ข่ายทต่ี อ้ งการ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร หรือนำเสนอข้อคิดเห็นใด ๆ บนเครือข่ายจึงจำเป็นจะต้องมี
จรรยาบรรณในการใช้อินเทอร์เน็ต โดยตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อผู้อื่น และหลีก
เสี่ยงการนำเสนอข้อมูลที่ไม่เหมาะสม คลาดเคล่ือน หรือท่ีอาจกระทบกระเทือน หรือ
สรา้ งความเสยี หายตอ่ ผู้อื่นได้
3. ดา้ นความบันเทงิ
(1) คนั หา Magazine online รวมท้งั หนงั สือพิมพ์และข่าวสารอ่นื ๆ ได้
(2)ฟงั วทิ ยผุ า่ นเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ ได้
(3) ดาวน์โหลด (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่าง ทั้งภาพยนตร์ใหม่และเก่ามา
ดูได้
รปู ที่ 1.4 การใช้งานอนิ เทอร์เนต็ ดา้ นความบนั เทิง
1.3.2 การใชง้ านบนอินเทอรเ์ น็ต
1. การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ผ่านเครอื ข่าย
ที่สมัครเป็นสมาชิก แทนการส่งจดหมายแบบเขียนใส่ซองปิดผนึกจ่าหน้าซองถึงผู้รับ แต่
การส่งอเี มลท์ ำใหถ้ งึ ผรู้ ับไดอ้ ยา่ งรวดเร็วกวา่ แบบเดมิ
2. การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพ่ือค้นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่มากมายจากแหล่งข้อมูล
ต่าง 7 ทว่ั โลกไดโ้ ดยผา่ น World Wide Web
3. ส่ือสารด้วยข้อความ Chat เป็นการพูดคุยโดยพิมพ์ข้อความตอบกัน การ
สนทนากนั ผ่านอินเทอรเ์ น็ต เปรียบเสมอื นเรานั่งอย่ใู นห้องสนทนาเดยี วกนั แม้อยู่คนละ
ประเทศหรอื คนละชกี โลก
รูปที่ 1.5 คน้ หาข่าวสารดว้ ย Google และสอ่ื สารขอ้ ความดว้ ย Facebook
1.4 การใหบ้ รกิ ารบนอนิ เทอรเ์ นต็
1.4.1 เวลิ ดไ์ วดเ์ ว็บ (WWW)
เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเครือข่ายใยแมงมุม เหตุที่เรียกช่ือน้ีเพราะว่าเป็นลักษณะ
ของการเชื่อมโยงข้อมูล จากที่หน่ึงไปยังอีกที่หนึ่งเรื่อย ๆ เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นบริการท่ี
ได้รบั ความนิยมมากที่สดุ ในการเรียกดูเวบ็ ไซตต์ ้องอาศัยโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (web
browser) ในการดูข้อมูล บราวเซอร์ท่ีได้รับความนิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น โปรแกรม
Internet Explorer (IE), Netscape Navigator, Google Chrome, Safari, Opera
1.4.2 จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail)
การติดต่อสื่อสารดยใช้อีเมลสะดวก และประหยัดเวลา หลักการทำงานของ
อีเมลเปรียบเสมือนการส่งจดหมายธรรมดา โดยจะต้องมีที่อยู่ที่ระบุชัดเจน เรียกว่า
"อเี มลแอดเดรส (E-mail address)"
องค์ประกอบของ E-mail address ประกอบดว้ ย
1. ชอ่ื ผใู้ ช้ (User name)
2. ซ่ือโดเมน Username@domain_name
การใช้งานอเี มล สามารถแบง่ ได้ดังนี้
1. Corporate E-mail คือ อีเมล ที่หน่วยงานต่าง ๆ สร้างข้ึนให้กับพนักงาน
หรือบุคลากรในองค์กรน้ัน เช่น [email protected] คือ E-mail ของนักศึกษา
ของสถาบันราชภัฏสวนดสุ ติ เปน็ ต้น
2. Free E-mail คอื อีเมล ทสี่ ามารถสมคั รได้ฟรตี าม web mail ต่าง ๆ เชน่
Yahoo Mail และ Chaiyo Mail
1.4.3 บริการโอนยา้ ยไฟล์ (File Transfer Protocol)
บริการโอนย้ายไฟล์เป็นบริการท่ีเก่ียวข้องกับการโอนย้ายไฟล์ผ่านระบบ
อนิ เทอร์เน็ตการโอนย้ายไฟลส์ ามารถแบง่ ได้ ดงั น้ี
1. การดาวน์โหลดไฟล์ (Download File) คือ การรับข้อมูลเข้ามายัง
เครื่องคอมพวิ เตอร์ของผู้ใช้ ปัจจุบนั มีหลายเว็บไซต์ทจ่ี ัดให้มกี ารดาวน์โหลดโปรแกรมได้
ฟรี เชน่ www.download.com
2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) คือ การนำไฟล์ข้อมูลจากเครื่องของ
ผู้ใช้ไปเก็บไว้ในเครื่องท่ีให้บริการ (Server) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น กรณีที่ทำการ
สร้างเว็บไซต์ จะมีการอัพโหลดไฟล์ไปเก็บไว้ในเคร่ืองบริการเว็บไซต์ (Web Server) ที่
เราขอใช้บริการพ้ืนท่ี (Web Server) โปรแกรมท่ีช่วยในการอัพโหลดไฟล์ เช่น FTP
Commander
1.4.4 บรกิ ารสนทนาบนอินเทอร์เนต็ (Instant Message)
สนทนาบนอินเทอรเ์ น็ต คอื การสง่ ขอ้ ความถึงกนั โดยทันทีทนั ใด นอกจากนี้
ยังสามารถส่งสัญลักษณ์ต่าง ๆ อาทิ รูปภาพ ไฟล์ข้อมูลได้ด้วย การสนทนาบน
อนิ เทอรเ์ น็ตนบั เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมไม่น้อย ตัวอยา่ งโปรแกรมประเกทน้ี เช่น
Messenger, Line, Tinder, WEChat เปน็ ต้น
1.4.5 บรกิ ารคน้ หาขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ต
1. Web directory คือ การค้นหาโดยการเลือก Directory ท่ีจัดเตรียม
และแยกหมวดหมู่ไว้เรียบร้อยแล้ว เว็บไซต์ที่ให้บริการ Web Directory เช่น
www.yahoo.com, ww.sanook.com
2. Search Engine คอื การค้นหาข้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรม Search โดยการ
เอาคำที่ต้องการค้นหาไปเทียบกับเว็บไซต์ต่าง ๆ ว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างท่ีมีคำที่เราต้องการ
ค้ น ห า website ท่ี ใ ห้ บ ริ ก า ร search engine เ ช่ น www.yahoo.com,
www.sanook.com, www.google.co.th, www.sansarn.com
3. Metasearch คือ การค้นหาข้อมูลแบบ Search engine แต่จะทำการ
ส่งคำท่ีต้องการไปค้นหาในเว็บไซต์ท่ีให้บริการสืบค้นข้อมูลอื่น ๆ อีก ถ้าข้อมูลท่ีได้มีซ้ำ
กั น ก็ จ ะ แ ส ด งเพี ย งราย ก าร เดี ย ว เว็ บ ไซ ด์ ท่ี ให้ บ ริก าร Metasearch เช่ น
www.search.com, www.thaifind.com
1.4.6 บริการกระดานข่าวหรอื เวบ็ บอรด์ (Web board)