The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 ระบบเครือข่ายอินเทอรืเน็ต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Heart, 2022-12-07 00:21:10

หน่วยที่ 3 ระบบเครือข่ายอินเทอรืเน็ต

หน่วยที่ 3 ระบบเครือข่ายอินเทอรืเน็ต

หน่วยที่ 3
ระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต

3.1.1 ความหมายของระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ต (Internel) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก โดยมี
มาตรฐานการรับส่งขอ้ มูลระหว่างกันเปน็ หนึ่งเดียว ซง่ึ คอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครื่องสามารถรับส่งข้อมูลใน
รูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร ภาพและเสียงได้ รวมทั้งสามารถค้นหาข้อมูลจากที่ต่าง ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว

รปู ท่ี 3.1 แสดงระบบเครอื ขา่ ยินเทอรเ์ น็ต

3.1.2 ความสำคัญของระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็

ระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตมมี าตรฐานการรับสง่ ข้อมลู ทช่ี ัดเจน และเปน็ หน่ึงเดียวทำให้การ
เชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์คนละชนดิ คนละแบบเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งง่ายดายไมว่ า่ จะเป็นเมนเฟรคอมพวิ เตอร์
มินิคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลชนดิ ต่าง ๆ อาทิ พีซี แมคอนิ ทอช หรือเครื่องแบบใดๆก็ตาม
ซึ่งโดยท่ัวไปแลว้ คอมพวิ เตอร์ทปี่ ระกอบกนั เข้าเปน็ เครอื ขา่ ยหลกั ของอินเทอร์เน็ตมกั จะเป็นเครือข่าย
ของมินิคอมพวิ เตอร์ หรอื ระบบเครอื ขา่ ยท้องถิน่ (Local Area Network หรอื LAN) และเครือข่ายของ
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ บางคนจึงเรยี กอินเทอร์เน็ตวา่ เปน็ "เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร"์
(Networkof Networks) ส่วนคอมพิวเตอรส์ ว่ นบุคคลทงั้ หลายน้นั มกั จะไม่ไดเ้ ช่อื มตอ่ กบั ระบบอินเทอรเ์ น็ต

ตลอดเวลาเพียงแตเ่ ชอื่ มตอ่ เข้าไปเป็นคร้ังคราวเม่ือต้องการใชง้ าน การเชอื่ มตอ่ จากเครือข่าย
ท่วั โลกโดยทวั่ ไประบบอินเทอรเ์ นต็ มคี วามสำคัญในรูปแบบ ดังนี้

1. การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ที ันสมยั
2. การตดิ ต่อสื่อสารที่สะดวก และรวดเรว็
3. แหลง่ รวบรวมข้อมูลแหลง่ ใหญท่ ่ีสุดของโลก

สรปุ ความสำคญั ของระบบอินเทอร์เนต็ คือ เปน็ เครือ่ งมือท่จี ำเป็นสำหรับงานไอที ทำให้
เกิดช่องทางในการเข้าถึงขอ้ มูลทร่ี วดเร็วชว่ ยในการตัดสินใจและบริหารงานทัง้ ระดับบุคคลและองค์กร

3.2 ประเภทของระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต

3.2.1 Peer To Peer
Peer To Peer เป็นระบบทเี่ ครื่องคอมพวิ เตอรท์ กุ เคร่ืองบนระบบเครือขา่ ยมีฐานเท่าเทยี มกัน
คือทุกเคร่ืองสามารถจะใช้ไฟลใ์ นเครอ่ื งอื่นได้ และสามารถให้เคร่ืองอืน่ มาใชไ้ ฟลข์ องตนเองได้เช่นกนั
ระบบPeer To Peer มีการทำงานแบบดสิ ทริบวิ ต์ (Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากร
ตา่ ง ๆ ไปสู่เวิรก์ สเตชั่นอ่นื ๆ แต่จะมปี ัญหาเรือ่ งกรรักษาความปลอดภยั เน่ืองจากข้อมูลท่เี ป็นความลับ
จะถกู ส่งออกไปสคู่ อมพิวเตอรอ์ ่นื เชน่ กนั โปรแกรมทท่ี ำงานแบบ Peer To Peer คือ Windows for
Workgroup และPersonal Netware

3.2.2 Client/Server
เป็นระบบการทำงานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดย
จะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเชิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอนต์ แทนที่แอปพงานอยู่เฉพาะบน
เครื่องเชิฟเวอร์ ก็แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอปพลิเคชันมาทำงานไคลเอนต์ด้วย และเมื่อใดที่
เครอื่ งไคลเอนต์ตอ้ งการผลลัพธข์ องข้อมลู บางสว่ น จะมกี ารเรยี กใช้ไปยังเครือ่ งเชริ ์ฟเวอร"์ ให้นำเฉพาะ
ขอ้ มูลบางสว่ นเทา่ น้ันสง่ กลับมาให้เครอ่ื งไคลเอนต์เพอื่ ทำการคำนวณขอ้ มูลนน้ั ตอ่ ไป

3.3รูปแบบการเช่อื มตอ่ ของระบบเครือขา่ ย LAN Topology
3.3.1 แบบบัส (Bus)ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะ
ถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอนต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง
(Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node
C ไดร้ บั ขอ้ มลู แล้วจะนำขอ้ มลู ไปทำงานตอ่ ทนั ที

รปู ที่ 3.3 แสดงระบบเครอื ขา่ ยแบบนัส
3.3.2 แบบวงแหวน (Ring)
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งจนครบวงจรใน
การส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งไปสู่เครื่องหน่ึง
จนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้ามีสายขาดในส่วนใดจะทำให้ไม่
สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล 8M กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token
Ring ซง่ึ จะใช้รับสง่ ข้อมลู ระหว่างเคร่ืองมินิหรอื เมนเฟรมของ BM กบั เคร่อื งลูกขา่ ยบนระบบ

รูปท่ี 3.4 แสดงระบบเครือขา่ ยแบบวงแหวน

3.3.3 แบบดาว (Star)
การเชอื่ มต่อแบดาวนจ้ี ะใช้อุปกรณ Hub Swich เป็นศนู ย์กลางในการเช่ือมตอ่ โดยเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ทุกเคร่อื งจะต้องผ่าน Hub สายเคเบิลทใี่ ช้ส่วนมากจะเปน็ UTP และ Fiber Optic ใน
การส่งขอ้ มลู Hub จะเป็นเสมอื นตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ปัจจบุ ันมีการใช้ Switch เป็น
อปุ กรณใ์ นการเชอ่ื มตอ่ ซง่ึ มีประสิทธภิ าพการทำงานสูงกว่า

รูปท่ี 3.5 แสดงระบบเครอื ขา่ ยแบบดาว
3.3.4 แบบไฮบรดิ (Hybrid)
แบบไฮบริดเป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อย ๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน
อย่างเช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเช่อื มตอ่ เขา้ ด้วยกัน เหมาะสำหรับ
บางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network จะมี
โครงสรา้ งแบบ Hierarchical หรือ Tree ทม่ี ลี ำดบั ชั้นในการทำงาน

รปู ท่ี 3.6 แสดงระบบเครือข่ายแบบไฮบริก

3.4 อุปกรณ์ทใี่ ช้ในระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต

3.4.1 โมเด็ม (Modem)
โมเต็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิทัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายงั
ผรู้ ับและแปลงสญั ญาณดิจทิ ลั ให้เปน็ แอนะล็อก เม่อื ต้องการสง่ ขอ้ มลู ไปนชอ่ งสอื่ สาร กระบวนการทโ่ี ม
เต็มแปลงสัญญาณดิจิทัลให้เสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทำหน้าที่ มอ
ดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเต็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้
เป็นสัญญาณดิจิทัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation) โมเด็มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันมี 2
ประเภท โมเดม็ ทท่ี ำงานเป็นทง้ั โมเค็มและเคร่อื งโทรสาร เรยี กวา่ Faxmodem

รปู ท่ี 3.7 โมเดม็

3.4.2 การ์ดเครอื ขา่ ย (Network Adapter) หรือ การด์ LAN

การ์ดเครือข่ายเป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่องต่างกันได้
ไม่จำเป็นต้องเป็นรุ่นหรือแบบเดียวกันควรเป็นการ์ดแบบ PCI เนื่องจากสามารถส่ง
ข้อมูลได้เร็วกว่าแบบ ISA และเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ๆ มักจะไม่มี Slot ISA ควรเป็น
การด์ ที่มีความเรว็ เปน็ 100 Mbps ซึ่งจะมีราคามากกว่าการ์ดแบบ 10 Mbps ไมม่ าก
นัก แต่ส่งข้อมูลได้เร็วกว่า นอกจากนี้ควรคำนึงถึงขั้วต่อหรือคอนเนกเตอร์ของการ์ด
ด้วย โดยทั่วไปคอนเนกเตอร์ของการ์ด LAN จะมีหลายแบบ เช่น BNC , RJ-45เป็น
ต้น ซ่งึ คอนเนกเตอรแ์ ต่ละแบบกจ็ ะใชส้ ายทแ่ี ตกตา่ งกัน

การ์ดเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Lan) เป็นเครือข่ายที่อาศัย
คลื่นวิทยุ (RF:Radio Frequency) โดยคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่ได้รับ
การติดตั้งตัวส่ง (การ์ดWireless สำหรับเครื่องพีซี หรือ การ์ดเน็ตเวิร์ค
แบบ PCMCIAสำหรับเครื่องโน็ตบุ๊ค ไว้ จะส่งสัญญาณคลื่นวิทยุไปใน
อากาศหาตัวรับที่เรียกว่า Wireless Access Point ซึ้งต่อเข้ากับสายLAN
ธรรดา โดยเชือ่ มตอ่ เขา้ กบั ระบบเครอื ข่ายตามปกตอิ กี ทอด

3.4.3 เกตเวย์ (Gateway)

เกตเวยเ์ ปน็ อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์อกี อยา่ งหนึง่
ทชี่ ว่ ยในการสื่อสารขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ หน้าท่หี ลกั คือชว่ ยให้
เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 2 เครอื ขา่ ยหรือมากกว่า ซง่ึ มลี กั ษณะ
ไมเ่ หมอื นกัน สามารถติดตอ่ ส่อื สารกันไดเ้ หมอื นเปน็ เครอื ขา่ ย
เดียวกัน

3.4.4 เราเตอร์ (Router)

เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายที่มีขนาดหรือ
มาตรฐานในการส่งข้อมูลต่างกนั สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์จะทำงานอยู่
ชั้นNetwork หน้าที่ของเราเตอร์ก็คือ ปรับโพรโทคอล (Protoco) (โพรโทคอลเป็นมาตรฐานในการ
สอ่ื สารขอ้ มูลบนเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์) ทต่ี ่างกนั ให้สามารถส่ือสารกันได้

3.4.5 บรดิ จ์ (Bridge)

บริดจ์มีลักษณะคล้ายเครื่องขยายสัญญาณบริดจ์จะทำงานอยู่ในชั้น Data Link บริดจ์ทำงาน
คล้ายเครื่องตรวจตำแหน่งของข้อมูล โดยบริดจ์จะรับข้อมูลจากต้นทางและส่งให้กับปลายทาง โดยที่
บริดจ์จะไม่มีการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใด ๆ แก่ข้อมูล บริดจ์ทำให้การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายมี
ประสิทธิภาพ ลดการซนกันของขอ้ มลู ลง บริดจ์จึงเป็นสะพานสำหรับข้อมูลสองเครอื ขา่ ย

3.4.6 รีพีตเทอร์ (Repeater)

รีพีตเทอร์เป็นเครื่องทบทวนสัญญาณข้อมูล สัญญาณข้อมูลในระยะ
ทางไกล 7 สำหรับสัญญาณ จะต้องมีการขยายสัญญาณขอ้ มูลที่เริม่ เบาบางลง
เนื่องจากระยะทาง และสำหรับสัญญาณดิจิทัลจะต้องมีทบทวนสัญญาณเพ่ือ
ปอ้ งกันการขาดหายของสญั ญาณเนือ่ งจากการส่งระยะทางไกล ๆ เชน่ กนั รีพตี
เทอรจ์ ะทำงานอยู่ในช้นั Physical

3.4.7 สายสญั ญาณ

สายสัญญาณเป็นสายสำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเข้าด้วยกันหากเป็น
ระบบที่มีจำนวนเครื่องมากกว่า 2 เครื่อง ก็จะต้องต่อผ่านฮับอีกทีหนึ่ง โดยสายสัญญาณสำหรับ
เชือ่ มต่อเครื่องในระบบเครือขา่ ย มี 2 ประเภท ได้แก่

1. สาย Coaxial มลี ักษณะเป็นสายกลม คลา้ ยสายโทรทศั น์ ส่วนมากจะเปน็ สดี ำสายชนิดน้ีจะ
ใช้กับการ์ด LAN ที่ใช้คอนเนกเตอร์แบบ BNC สามารถส่งสัญญาณได้ไกลประมาณ 200 เมตรสาย
ประเภทนี้จะต้องใช้ตัว T Connector สำหรับเชื่อมต่อสายสัญญาณกับการ์ด LAN ต่าง ๆ ในระบบ
และต้องใช้ตวั Terminator ขนาด 50 โอหม์ สำหรับปดิ หวั และท้ายของสาย

2. สาย UTP สายยแลน ชนิด Category 5e แบบ Unshielded twisted pair (UTP) cables
เป็นที่ไม่มีชนวนป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกหรือ Shieded (ส่วนที่มี Shielded จะกล่าวใน
ภายหลัง) สายชนิดนี้ เป็นสายที่มี จำนวน 4 คู่สาย 8 เส้น และมีขนาดของแกนทองแดงขนาดที่ 24
AWG (05Squmm) ซึ่งมีการผลิตแกนทองแดงแบบแกนเดี่ยว (Solid conductor) ที่เหมาะกับการ
ตดิ ตั้งแบบท่ัวไป

และ แบบ แกนทองแดงแบบฝอย (stranded conductor) ที่เหมาะกับสายเชื่อมต่อภายในตู้
สื่อสาร หรือที่เรียกว่าสาย Patch cord ซึ่งจะสามารถบิดโค้ง ง ได้มากกว่าสายชนิด แกนเดี่ยว
(Solld) สายชนิดนี้จะมีBandwidth สูงสุด 350 MHz ในบางยี่ห้อมาตรฐานที่ 100 MH2 และ
ความเรว็ ในการส่งสญั ญาณท่ี 100-1000 Mbps หรือ Gigabit

สายแลนชนิด Category 5e
สายแลนชนิด Category 6 แบบ Unshielded twisted pair (UTP) cables เป็นสายที่ไม่มี
ชนวนป้องกนั สญั ญาณรบกวนจากภายนอกหรือ Shielded สายชนิดนี้ เป็นสายที่มี แกนกลางสำหรบั
แบง่ แยกชอ่ งสัญญาณทั้ง 4 ค่สู ายและมี จำนวน 4 คู่สาย 8 เส้น เหมือนกบั Cat.5e แตจ่ ะมีขนาดของ
แกนทองแดงที่ใหญ่กว่า ชนิด Cat5e อยู่ที่ขนาด 23AWG(0.65SQUMM) ซึ่งมีการผลิตแกนทองแดง
ทั้งแบบแกนเดี่ยว (Solid . conductor) ที่เหมาะกับการติดตั้งแบบทั่วไป และ แบบแกนทองแดง
แบบฝอย(strandedconductor) ที่เหมาะกับสายเชื่อมต่อภายในตู้สื่อสาร หรือที่เรียกว่าสาย Patch
cord ซึ่งจะสามารถบิดโค้งงอ ได้มากกว่าสายชนิด แกนเดี่ยว (Solid) สำหรับสาย Cat.6 จะ
มีBandwidth สูงสุดที่ 650 MH-z หรือมาตรฐานอยู่ที่ 250Mhz และ ส่วนความเร็วสูงสุดในการส่ง
สัญญาณที่ Full speed 1000Mbps หรอื FullGigabit

สายแลนชนดิ Category 6

วิธีการดูและสังเกตว่าสายเส้นไหนเป็น Cat.5e หรอื Cat.6
ㆍ สีของตัวสาย โดยสว่ นใหญใ่ นประเทศไทย สายชนิด cat.5e จะมีสเี ทาและสีขาว สาย
ชนิด Cat.6 จะมีสีฟ้าหรือ นำ้ เงนิ ในบางยห่ี อ้
ㆍแกนทองแดง ของสายชนดิ Cat.5e จะมแี กนทองแดงทเี่ ล็กกวา่ ชนดิ Cat.6
ㆍ สาย Cat6 จะมีพลาสติกแกนกลาง ทช่ี น้ั ระหว่างสายท้งั 4 คู่ ส่วน สายชนิด Cat5e ไม่มี
ㆍอกี จดุ สงั เกตดุ ้านหนา้ ตัดของหัวคอนเนค็ เตอร์ RJ45 Plug ตวั ผู้จะมีวธิ สี งั เกต ดังนี้
- Cat.5e หน้าตัด แกนกลางของสายจะเรียงกนั แบบแนวนอน เสมอกนั
- Cat.6 หน้าตัดจะ สลับฟันปลา ขึน้ ลง ไมเ่ สมอกัน ดังแสดงที่รปู ภาพ ดา้ นล่าง

สายสัญญาณ UTP Cat.5e จะผลิตตามมาตรฐาน ANSI/TIA/EIA-568-A โดยมี ความกว้าง
ของชอ่ งสญั ญาณ (bandwidh) ที่ 100 MHz หรอื 350 MHz และ จะมีโคด้ สใี นการเข้าสายแลน ตาม
มาตรฐาน TIAVEIA-568-A/B ซง่ึ ข้ึนอย่กู บั ลักษณะการใชง้ านของแตล่ ะพ้นื ทห่ี รอื ตามมาตรฐานของแต่
ละองค์กรน้นั แตใ่ นปจั จบุ ันนิยมใช้รหัสสแี บบ TIAVEIA-568-B

กับการใช้งานภายในอาคารทั่วไป เช่น การนำไปใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์, เชื่อมต่อ
Wireless หลาย ๆตัว, ระบบกล้อง IP camera, CCTV, Access control, PLC, BAS, Telephone
หรือระบบที่เกี่ยวข้องกับต่อผ่านระบบเครือข่าย Ethernet LAN network ตามมาตรฐาน IEEE
802.3x ในทุกระดับของมาตรฐานการส่งสัญญาณ โดยจะแบ่งการใช้งานในย่านความถี่และความเร็ว
ดังต่อไปนี้

ㆍความเร็วในการสง่ สัญญาณท่ี 10Mbps, 100Mbps, 1000Mbps, 10000Mbps

ㆍ ความถ่ีในการสง่ สัญญาณ 100MHz, 250MHz, 350MHz,500MHz, 600MHz
การเลอื กใชส้ าย Cat.5e และ Cat.6 กบั Appication ใหเ้ หมาะสม ทงั้ คุณภาพและราคา

1. สาย Cat5e ในระบบแลน(Ethernet LAN) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และ WiFi ในปัจจุบันไม่
นิยมใช้กันมากนัก เนื่องจากข้อจำกัด เช่น ความเร็ว (Speed) อัตราการส่งผ่านข้อมูล ที่ได้สูงสุดท่ี
1000Mbps หรือ Gigabit และ ชอ่ งของสญั ญาณ Bandwidth ท่ไี ด้สูงสดุ ท่ี 350 MH2 โดยขณะทสี่ าย
ชนิด Cat 6ทำได้ดีกว่ามาก ถึง 650 MHz และความเร็วระดับ10 Gigabit และปัจุจบันมีถึง Cat 8 ที่
ความเรว็ support25 Gops/ 40 Gbs ที่ Bandwidth 2000Mhz

ชนิดCat5e ตามสำนักงาน หรือตามบ้าน หรือองค์กรบางแห่ง ก็ยังคงสามารถใช้งาน
ได้ทั่วไปสามารถใช้งานแบบธรรมดาได้อยู่ดี ไม่ถึงกับข้าแต่ระดับองค์กรที่เน้นระดับความเร็วสูงไปใช้
สายแบบ UTP Cat.6 แทน เพราะสามารถใช้งานได้มากกว่า เชน่ การส่งภาพวดี รี ะดัหรอื องค์กรท่ีเน้น
ตัดต่อภาพยนตร์ หรือหนัง หรือที่ทำกราฟิกดีไซด์ องค์กรที่เน้นระบบเกม ที่ต้องการความเร็ว และ
หรือ ระบบ Data center ที่ให้บริการ โครงข่ายต่าง ๆ ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้เร็วขึ้น จึงสมควรใช้
งานสายเคเบ้ิลชนดิ Cat.6 แตก่ ็จะมรี าคาท่ีสงู กว่า Cat 5e ตามไปดว้ ยน่นั เอง0SHM0066SHMOO

2. สาย UTP Cat5e และ Cat.6 ในระบบ โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จะมีอยู่ 2 ระบบแบบ
แรก คือ ระบบอนาล็อคธรรมดา แบบที่สอง คือ ระบบ HD-Analog TVI, AHD, CVI ช่างหรือผู้ใช้งาน
ก็สามารถเลือกใช้สายสัญญาณ ชนิด UTP cable Cat5e ทั้งชนิด ภายในอาคาร (Incoor) และ
ภายนอกอาคาร (Outdoor) แทนสาย Coaxial cable ชนิด RG6 เพราะสามารถใช้ตัวแปลงสัญญาณ
Balun ในการแปลงเพื่อต่อใช้งาน กับกล้องและตัวบันทึก (DVRINVR) แถมใช้สาย แลน Cat.5e ก็ยัง
สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานกับกล้อง IP ได้อีก หรือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ เพียงแต่แค่
เปลีย่ นคอนเน็คเตอร์ปลายทางใหม่ ก็สามารถใช้งานไดแ้ ลว้ ประหยดั ราคาไดม้ าก

ส่วนจะเลือกใช้สาย Cat5e หรือ Cat.6 นั้นก็ขึ้นอยู่กับงบประมาณ ของแต่ละหน่วยงานและ
ประโยชน์ที่จะได้รับ เมื่อใช้สายที่แพงขึ้น ให้คุ้มค่าเงินที่ลงทุนไป หรือเหมาะสมที่สุดกับการใช้งานถา้
เป็นกลอ้ งระบบ IP Camera จงึ เหมาะสมกวา่ ที่จะใช้งานสาย Cat.6 เพราะระบบน้ีต้องการความเร็วท่ี
สงู มาก เน่อื งจากความละเอียดของภาพมากข้นึ

2. สายแลน (UTP Cable) ทั้งชนิด Cat.5e และ Cat.6 สามารถใช้งานได้ในระบบ
PLC(Programmable Logic Control) ทป่ี จั จบุ ันทำไดถ้ งึ ระดับ PAC (Programmable Automation
Control)เช่น Modicon ต้นตำรับผู้คิดค้น การเชื่อมต่อแบบ Modbus ที่ยังคงสามารถใช้งานร่วมกับ
สายเคเบล้ิ Cat.se และ Cat:6 ได้ ทุกระดับความเรว็ 10/100/1000 Mops ขึ้นอยกู่ บั ผอู้ อกแบบระบบ
ที่ต้องการความเร็วเท่าไร ในการส่งผ่านข้อมูล ให้กับอุปกรณ์ปลายทางและต้นทางและะบบต่าง ๆ ท่ี
เกี่ยวข้องกับสายเคเบิ้ล (Ethernet cable) ชนิดนี้ ข้ึนอยู่กับการนำไปประยุกต์ใช้งาน เช่น Access
control, Auciosystem, Lighting control เปน็ ตน้

3.4.8 สวิตซ์ (Switch)

Switch เป็นอุปกรณ์ในระบบ computer network เช่นเดียวกับ Hub ทำหน้าที่เชื่อมต่อ
อุปกรณ์อื่น ๆ เข้าด้วยกันในระบบ โดยอาศัยการทำ packet switching ซึ่งจะ รับ ประมวลผล และ
ส่งข้อมูลต่อไปยังปลายทาง เพียงแค่หนึ่ง หรือ หลาย port ไม่ใช่การ broadcast ไปทุก port
เหมือนกับ hub

Switch จะมีด้วยกันหลาย port มีการระบุที่อยู่ (address) ประมวลผลก่อนที่จะ ส่งข้อมูล
ต่อไปในระดับ data link layer (layer 2) ใน OSI model บาง switch สามารถประมวลผลในระดับ
network ซึง่ จะเปน็ คามสามารถในการทำ routing ซงึ่ มักจะใชง้ านกบั IP address เพ่ือทำ oranding
เรยี กว่า L3-Switch หรอื multilater switc

รปู สวิตช์

คณุ สมบตั ขิ อง Switch

เปน็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ท่ีเชือ่ มอุปกรณ์ network เขา้ ดว้ ยกัน โดยอาศัยสาย cable ต่อเข้า
กับ port แต่ละอุปกรณ์ และยังสามารถจัดการเชื่อมต่อระหว่าง network ได้ อุปกรณ์แต่ละตัวที่ต่อ
เข้ากับswitch จะได้รับ network address เป็นตัวบอกตัวตนของแต่ละอุปกรณ์ เพื่อให้การส่งข้อมลู
packet ไปถึงได้ถกู ตอ้ งและเจาะจง อีกทง้ั ยังเปน็ การเพ่ิมความปลอดภยั ใหก้ บั network

1. การทำงานของ switch

Switch ทำงานในระดบั data link layer (layer 2) มีการแบง่ collision domain ของแต่ละ
port เพื่อให้สามารถส่งข่อมูลหากันได้ในเวลาเดียวกันโดยไม่ชนกันได้ แต่ด้วยคุณสมบัติ half
duplexmode ทำให้ port เดียวกันทำหน้าที่ ส่ง หรือ รับ ข้อมูลได้อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้นใน
ช่วงเวลานั้น แต่ถ้าอุปกรณ์ที่ต่อรองรับ full duplex mode ก็จะสามารถส่งและรับข้อมูลได้ในเวลา
เดียวกันจะเห็นได้ว่าถ้าเทียบกับ repeater hub แล้ว การส่งข้อมูลทำได้เพียงแต่ port เดียวในช่วง
เวลานั้น จากคุณสมบัติที่ต้อง broadcast รวมถึงทำงานแบบ half duplex ทำให้ bandwidth ที่ได้
คอ่ นข้างตำ่ จากการชนกันของ packet และตอ้ ง retransmit บอ่ ยคร้ัง

2. การใช้งาน switch

Network switch มีบทบาทใน Ethernet local area networks (LANs) อย่างมาก ตั้งแต่
ระบบ ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ LAN จะประกอบด้วย switch จำนวนหนึ่ง ที่ทำหน้าที่จัดการ
ระบบ network เช่น Small office/home office (SOHO) อาจจะใช้ switch เพียงตัวเดียว รวมถึง
office ขนาดเล็กหรือ ที่พักอาศัย ซึ่งสุดท้ายแล้วอาจจะนำไปเชื่อมต่อกับ router เพื่อใช้ในการ
เช่ือมต่อ ineternet หรือ ทำ Voice over IP (VoIP)

3. Microsegmentation

การแบง่ segment ท่ีใช้ใน bridge หรอื switch (router) เพื่อแบง่ collision domain ขนาด
ใหญอ่ อกเปน็ ขนาดเลก็ เพอ่ื ลดการซนกนั ของ packet รวมถงึ เพิม่ throughput ให้กบั network ใน
การทำงานขั้นสูง อุปกรณ์แต่ละตัวจะได้รับการเชื่อมต่อ port ของตัวเอง ซึ่งแต่ละ port จะแยก
collision ของตัวเอง ซึ่งทำให้แต่ละ อุปกรณ์สามารถใช้าน bandwidth ต่างกันตามการรองรับไดอ้ กี
ยงั ทำ Full-duplex mode ได้

ประเภทของ Switch

ㆍL1-Switch : ทำงานระดับ Physical layer ทำหน้าที่เช่นเดียวกับ hub เป็นเหมือน
repeater ทำหนา้ ท่ี broadcast ขอ้ มลู ไปทุก ๆ port ทำใหต้ ิดขอ้ จำกนั เรอ่ื งความเร็ว

ㆍ L2-Switch : ทำงานระดับ Data link later ทำหน้าที่เป็น network bridge ซึ่ง switch
สว่ นใหญจ่ ะเปน็ แบบน้ี มีประสิทธภิ าพสูงกว่า hub หรอื L1-switch

ㆍ L3-Switch : ทำงานระดับ Network layer ทำหน้าที่ เป็น router มีคุณสมบัติ IP
multicast สง่ ขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ group ได้

3.5 ระบบเครือข่ายไร้สาย

ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN เป็นการ
เชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอร์เป็นเครอื ข่ายแบบไรส้ าย (ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งเดินสายเคเบิล) เหมาะสำหรับการติดต้ัง
ในสถานท่ี ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย หรือในสถานที่ที่ต้องการความสวยงาม เรียบร้อย และเป็น
ระเบียบ เช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้นหลักการทำงานของระบบ Wireless LAN การ
ทำงานจะมีอุปกรณ์ใน การส่งสัญญาณ และกระจายสัญญาณ หรือเรียกว่า Access Point และมี PC
Card ที่เป็น LAN Card สำหรับในการเช่ือมกับ Access Point โดยเฉพาะการทำงานจะใช้คลื่นวิทยุ
เป็นการรับส่งสัญญาณ โดยมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 2.4 to 2.4897 GHz และสามารถเลือกคอนฟิก
(config) ใน Wireless LAN (ภายในระบบ เครอื ข่าย Wireless LAN ควรเลอื กช่องสญั ญาณเดียวกนั )

35

3.5.1 ระยะทางการเชื่อมต่อของระบบ wireless lan

3.5.2 ลักษณะการเชอื่ มตอ่ ของระบบเครือขา่ ย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer) โครงสรา้ งการเช่ือมโยงระบบ

แบบAd-hoc หรือ Peer to Peer เป็นการสื่อสารชอ้ มลู ระหว่างเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ไร้สายและอุปกรณ์
ต่าง ๆตัง้ แต่สองเครื่องข้นึ ไป โดยท่ีไมม่ ศี นู ย์กลางควบคุมอุปกรณ์ทุกเคร่ืองสามารถสื่อสารข้อมูลถึงกัน
ได้เองตัวส่งจะใช้วิธีการแพร่กระจายคลื่นออกไปในทุกทิศทุกทางโดยไม่ทราบจุดหมายปลายทางของ
ตัวรับวา่ อยทู่ ใ่ี ด ซึง่ ตวั รบั จะต้องอยูใ่ นขอบเขตพืน้ ท่ีใหบ้ ริการที่คล่ืนสามารถเดนิ ทางมาถึงแล้วคอยเซ็ก
ข้อมูลว่าใช่ของตนหรือไม่? ด้วยการตรวจสอบค่า Mac Address ผู้รับปลายทางในเฟรมข้อมูลทีj
แพร่กระจายออกมาถ้าใช่ข้อมูลของตนก็จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลต่อไป การเชื่อมโยง
เครือข่ายไวรเลสแลนที่ใช้โครงสร้างการเชื่อมโยงแบบ Ad-hoc ไม่สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบ
เครอื ขา่ ยอเี ธอร์เน็ตได้ เน่ืองจากบนระบบไม่มีการใชส้ ญั ญาณเลย

2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server) โครงสร้างการเชื่อม
ructure หรือ Client/Server มีข้อพิเศษกว่าระบบแบบ Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสงการเชื่อมโยง (ทำ
หน้าที่คล้ายฮับ) และเป็นสะพานเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สาไวร์เลสแลนเข้าสู่เครือข่ายอีเธอร์เน็ต
แลนหลัก (Elhernet Backbone) รวมถึงการควบคุมการสอ่ื สารข้อมูลอุปกรณไ์ วร์เลสแลน


Click to View FlipBook Version