The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เคล็ด(ไม่)ลับ สำหรับเลี้ยงลูก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by little.prattana, 2021-12-19 21:16:06

เคล็ด(ไม่)ลับ สำหรับเลี้ยงลูก

เคล็ด(ไม่)ลับ สำหรับเลี้ยงลูก

เคล็ด(ไม่)ลับ

สำหรับ
เลี้ยงลูก

เนื้ อหา

วิธีการอุ้มลูกเข้าเต้า
การเก็บน้ำนม
ปัญหาที่พบบ่อยในการ
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
เมนูอาหารกระตุ้นน้ำนม
ตัวเหลืองและการป้องกัน
การกลับเป็นซ้ำ
วัคซีนที่จำเป็นต้องได้รับ

ลูกตัวตรง
ลูกหันเข้าเต้า

ท้องแนบ
ศีรษะและลำตัวของลูก

อยู่ในแนวตรง

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

วิธีเอาลูกเข้าเต้าแม่

• ล้างมือ และเช็ดทำความสะอาดหัวนม
1.เอาหัวนมเขี่ยริมฝีปากล่างของลูกเบาๆ เพื่อกระตุ้นลูก
จะหันเข้าหาเต้านมแม่
2.รอจนลูกอ้าปากกว้าง (เหมือนหาว)นำลูกเข้าหาเต้านม
แม่ ไม่ใช่น้ำเต้านมแม่เข้าหาลูก
3. เคลื่อนลูกทั้งลำตัวเข้าหาเต้านมแม่อย่างรวดเร็ว

ท่าในการดูดนมแม่

ท่าอุ้มขวางตัก ท่าฟุตบอล ท่าอุ้มขวางตักประยุกต์

ท่านอน

เทคนิ คการบีบเก็บน้ำนมแม่

1. ล้างมือด้วยน้ำสบู่ให้สะอาด
2. ควรบีบเก็บน้ำนมในที่สงบและทำจิตใจให้สบายจะช่วย
ให้การหลั่งน้ำนมดีขึ้น
3. ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นจัดๆ ประคบเต้านมก่อนประมาณ 3-5 นาที
4. นวดเต้านมและคลึงเต้านมเบาๆ ในลักษณะวงกลม จาก
ฐานเต้านมเข้าหาหัวนมและคลึงเบาๆ เพื่อกระตุ้นการหลั่ง
น้ำนม
5. บีบน้ำนมออกโดยใช้นิ้ วหัวแม่มือ
วางบนลานหัวนมด้านบน ส่วนนิ้ ว
ที่เหลือวางบนลานหัวนมด้าน
ตรงข้ามกดนิ้ วเข้าหาทรวงอก แล้ว
ค่อยบีบปลายนิ้ วเข้าหากัน และปล่อยนิ้ ว
6. เก็บใส่ภาชนะสะอาดที่เตรียมไว้
7. ทำซ้ำ กด-บีบ-ปล่อย และเปลี่ยนตำแหน่ งนิ้ ว
ไปเรื่อยๆ รอบลานนมเพื่อให้น้ำนมไหลออกจาก
กระเปาะน้ำนมทุกอัน
8. ใช้เวลาบีบนาน 20-30 นาที และควรบีบ
น้ำนมทุก 3 ชั่วโมง

ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า น้ำ น ม แ ม่

1.เทน้ำนมให้ลูกกินในแต่ละมื้อให้เพียงพอ

2.หลังจากบีบน้ำนมเสร็จ ให้ปิดภาชนะให้มิดชิด
ทันทีและเขียนวันที่ เวลา จัดเรียงตามลำดับ

3.หากคุณแม่จะใช้น้ำนมให้หมดภายใน 2-3 วัน ให้เก็บ
ในตู้เย็นช่องธรรมดา ชั้นบนสุด อุณหภูมิประมาณ 4
องศาเซลเซียส

4.ไม่ควรเก็บที่ประตูตู้เย็น เพราะอุณหภูมีไม่คงที่
ทำให้นมเสี ยคุณภาพได้ง่าย

การบีบเก็บน้ำนมแม่
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช

ปัญหาที่พบได้บ่อย
ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

เต้านมคัด

ก่อนให้ลูกดูดนม ปกติเต้านมเต็ม จะมีลักษณะตึง หนั ก ไม่เจ็บ น้ำนม
หยดดี ลูกสามารถดูดออกได้ แตกต่างจากเต้านมคัด ซึ่งจะมีลักษณะ
ร้อน หนัก แข็ง ผิวแดงเป็นมันเจ็บ บวมถึงหัวนม น้ำนมไม่ไหล บีบ
จะเจ็บ ทนไม่ได้ อาจมีไข้ แต่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง

สาเหตุของเต้านมคัด การป้องกัน

เกิดจากการให้ลูกดูดนมแม่ช้าไป ให้ดูดไม่ • ให้ลูกดูดนมทันทีหลังคลอด และดูด
ถูกวิธี ระยะเวลาในการดูดสั้นเกินไป หรือ บ่อยๆ อย่างสม่ำเสมอและถูกวิธีทั้ง 2 เต้า
แม่มีน้ำนมมากบีบออกไม่บ่อย ทำให้นมคั่ง ระยะแรกหลังคลอดควรให้ลูกดูดนมทุก
ค้าง ขยายใหญ่ขึ้นจนไปกดท่อน้ำนมที่อยู่ 2 ชั่วโมง
รอบๆเต้านม ไม่ให้น้ำนมไหล จึงเกิดอาการ
คัดตึง หากไม่ได้รับกาช่วยเหลือที่ถูกต้องจะ • ถ้าลูกดูดนมยังไม่ได้ ให้นวดเต้านม
ทำให้ลูกดูดนมไม่ดี แม่จะปวดมาก อาจเกิด เบาๆ และบีบน้ำนมออกทุก 2-3 ชั่วโมง

การอักเสบและติดเชื้อที่เต้านมได้

การดูแลเมื่อคุณแม่มีอาการเต้านมคัด

1. กรณีที่เต้านมเริ่มดัดตึง นวดเต้านมและบีบเอาน้ำนมออกจากเต้าด้วยมือจนบริเวณลานหัวนมนุ่ ม
และให้ลูกดูดนมให้ถึงบริเวณลานหัวนม
2. ถ้าเต้านมคัดตึงมากให้ประคบด้วยน้ำอุ่นจัดประมาณ 10 นาทีก่อน แล้วจึงนวดเต้านมและบีบเอา
น้ำนมออกจากเด้าด้วยมือ การประคบเต้านมต้องเว้นบริเวณหัวนมไว้เพื่อป้องกันการระดายเคืองของ
ผิวหนั งบริเวณหัวนม
3. ถ้าแม่เจ็บเต้านมมากจะไม่อยากให้แตะต้องเต้านม ให้ประคบด้วยผ้าเย็น หรือประคบด้วยการใช้
กาบกะหล่ำปลีแช่ตู้เย็นช่องธรรมดาวางทาบบนเต้านมประมาณ 10-15 นาที เพื่อบรรเทาอาการปวดก่อน
แล้วจึงประคบด้วยน้ำอุ่น นวด และบีบเอาน้ำนมออกด้วยมือต่อไป
4. ภายหลังให้ลูกดูดนม ถ้าเต้านมยังคัดตึงมาก ให้บีบน้ำนมออกจนแม่รู้สึกสบายขึ้น อาจใช้เครื่อง
ปั๊ มนมช่วยปั๊ มนมอีกข้างหนึ่ งไปพร้อม ๆกับการบีบด้วยมือจะช่วยให้น้ำนมไหลออกได้ดี
5. หลังให้นมควรนวดบริเวณต้นคอ และหลังของแม่ให้หายปวดเมื่อย และให้แม่นอนพักผ่อนอย่างเต็มที่
6. ถ้าแม่มีไข้ต่ำๆ จะหายได้เองภายใน 24 ชั่วโมง ไม่จำเป็นต้องรักษา
7. ให้ลูกดูดนมบ่อย ๆอย่างถูกวิธี เพื่อคงไว้ซึ่งการสร้าง การหลั่งน้ำนม และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อไป

ปัญหาที่พบได้บ่อย

ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (ต่อ)

หัวนมเจ็บและแตกเป็นแผล

สาเหตุ : เกิดจากการให้นมลูกไม่ถูกวิธี โดยเหงือกลูกกดทับบริเวณ
หัวนม แทนที่จะกดบริเวณลานนม การทำความสะอาดหัวนมผิดวิธี
เช่น การฟอกสบู่ ใช้ผ้าเช็ดแรงๆ การที่แม่ดึงหัวนมออกจากปากลูกไมี
ถูกวิธีขณะที่เด็กกำลังดูดนม นอกจากนี้ ยังอาจเกิดจากการติดเชื้อรา
ได้

การป้องกัน

ให้ลูกดูดนมอย่างถูกวิธี อุ้มลูกให้กระชับกับอกแม่ ไม่จำเป็นต้องเช็ด
ล้างหัวนมบ่อยๆ และไม่ควรดึงหัวนมออกจากปากเด็กขณะที่กำลังดูด
ควรให้เด็กดูดนมบ่อยๆ ตามความต้องการ ป้องกันไม่ให้เกิดเต้านมคัด

การดูแลเมื่อคุณแม่มีอาการหัวนมเจ็บและแตกเป็นแผล

การดูแลที่สำคัญคือ ไม่จำเป็นต้องงดให้ลูกดูดนมแม่ ให้นมลูกอย่างถูก
วิธี และดูแลผิวหนั งบริเวณที่แตก
1. ให้ลูกเริ่มดูดนมข้างที่ไม่แตกหรือเจ็บน้ อยก่อน แล้วจึงให้ดูดข้างที่
หัวนมแตกทีหลัง
2. ให้ลูกดูดนมอย่างถูกต้อง เปลี่ยนท่าในการอุ้มให้นมเป็นท่าฟุตบอล
เพื่อลดความ
เจ็บปวดจากการที่เหงือกไปกดบริเวณแผล
3. ให้หยุดดูดนมข้างที่มีเลือดออกและแม่เจ็บมาก บีบน้ำนมออกจากเต้า
และป้อนให้ด้วยถ้วยหรือช้อนชั่วคราว
4. เมื่อลูกดูดนมเสร็จให้ใช้น้ำนมที่บีบออกมาทาบริเวณแผลที่แตก และ
ปล่อยไว้ให้แห้งก่อนใส่เสื้อ ไม่จำเป็นต้องใช้ยาหรือทาครีม ถ้าเจ็บบริเวณ
แผลให้ใส่ ปทุมแก้วครอบหัวนมเพื่อป้องกันการระดายเคือง
บริเวณแผล ถ้ามีอาการหัวนมแตกนานเกิน 1 สัปดาห์หรือเจ็บแสบหัวนม
ให้ปรึกษาแพทย์

ปัญหาที่พบได้บ่อย

ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (ต่อ)

ท่อน้ำนมอุดตันและเต้านมอักเสบ

สาเหตุ :

ท่อน้ำนมอุดตัน เกิดจากการมีน้ำนมที่ข้นขึ้นอุดตันท่อน้ำนม ทำให้น้ำนมคั่งอยู่ ถ้าไม่ได้รับ
การแก้ไขจะทำให้เต้านมอักเสบได้ สาเหตุเกิดจากการให้ลูกดูดนมไม่บ่อยพอ การดูดของลูก
ไม่มีประสิทธิภาพ การระบายของน้ำนมไม่ดี เต้านมถูกกดทับ เช่น จากเสื้อชั้นในคับ เต้านม
ใหญ่ยาน หรือจาก การมีแผลที่ผิวหนั งบริเวณหัวนม และมีการอักเสบติดเชื้อเกิดขึ้น ท่อน้ำนม
อุดตันทำให้มีก้อนที่เต้านม กดเจ็บ ผิวหนังเหนือก้อนบวมแดง แต่ไม่มีไข้ และแม่ยังสบายดี

เต้านมนมอักเสบ เกิดจากการที่เต้านมคัด หรือท่อน้ำนมอุดตันแล้วไม่ได้รับการแก้ไข มักเกิด
พียงบางส่วนของเต้า และส่วนใหญ่เกิดเพียงข้างเดียว จะมีลักษณะบวม แดง ร้อน และปวด
มาก อ่อนเพลีย มีไข้ อาจเกิดจากการติดเชื้อหรือไม่ติดเชื้อก็ได้

การดูแลเมื่อคุณแม่มีอาการท่อน้ำนมอุดตันและเต้านมอักเสบ

1. หาสาเหตุของปัญหา เช่น การดูดนมไม่มีประสิทธิภาพ การ
ระบายน้ำนมออกได้ หรือไม่ได้และแก้ไขตามสาเหตุ
2. แนะนำให้ลูกดูดนมบ่อยๆ สม่ำเสมอ และถูกวิธี
3. ระบายน้ำนมออกจากเต้าโดยเร็ว ให้ลูกดูดนมข้างที่ไม่มี
ปัญหาก่อน เพื่อป้องกันการเจ็บปวด
4. คอยสลับท่าให้นม และดูแลให้น้ำนมถูกขับออกจากเต้า
นมได้ทั้ง 2 ข้าง เพื่อป้องกันการคัดของเต้านม หลังให้ลูก
ดูดนมให้บีบหรือปั๊ มนมออกเพื่อช่วยระบายน้ำนม
5. ถ้าแม่เจ็บปวดเต้านม ให้ใช้ความร้อนประคบระหว่างมื้อ
นม และภายหลังให้ลูก
ดูดนม หรือบีบน้ำนมออกให้ใช้ความเย็นประคบจะช่วยลด
ความเจ็บปวดได้ ถ้าปวดมาก สามารถรับประทานยาแก้ปวด
พาราเซตามอล
6. ให้แม่พักผ่อนมากๆ และให้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า
อย่างเพียงพอ
7. ถ้ามีการติดเชื้อ เจ็บ ปวดมาก บวมแดง มีสารคัดหลั่งไหล
ซึม ให้มาพบแพทย์ทันที

เมนู

อาหาร
สำหรับ
คุณเเม่

ต้มข่าไก่ใส่ หัวปลี

เนื้อไก่ : มีโปรตีนช่วยดูดซับ หัวปลี :
ธาตุเหล็กให้มากขึ้น ช่วยบำรุงเลือด ขับ
น้ำนม กระตุ้นการ
สร้างน้ำนม

ใบมะกรูด : ข่า :
ช่วยขับน้ำ ช่วยขับเลือด
คาวปลา แก้ ขับน้ำ
ท้องอืด ท้อง คาวปลา
เฟ้อ

ต้มข่าไก่ใส่ หัวปลี

ส่ วนประกอบ

อกไก่ 1 ชิ้น ใบมะกรูดฉีกครึ่ง 4 ใบ
น่ องไก่ 4 ชิ้น
เห็ดฟาง 4-5 ดอก ข่าหั่นแว่น 1 หัว
กะทิ 1/2 กล่อง
เกลือป่น 1 ช้อนชา พริกขี้หนู 8-10 เม็ด
มะนาว 1/2 ลูก หรือตาม
ชอบ หรือตามชอบ

ตะไคร้ 1 ต้น

น้ำเปล่า

หัวปลี 1 หัว

น้ำปลาใส่ เท่าสั ดส่ วนน้ำ เลือดไก่หั่นก้อนยาวๆตาม
มะนาว
น้ำตาลทราย1/2 ช้อนชา ชอบ

ผีกชีฝรั่ง 3 ใบ

วิธีทำ

แกะหัวปลีจนเหลือสีขาวๆ บีบมะนาวหรือส้มเเช่ไปด้วยไม่
ให้หัวปลีดำ แช่สักพักแล้วนำไปต้มในน้ำเดือด 10 นาที
พักไว้ให้เย็น เเล้วนำมาหั่นตามยาว

ลอกหนั งไก่ออกจากออกไก่ หั่นอกไก่เป็นชิ้นพอดีคำ

ต้มน้ำซุปโดยใช้หนั งไก่ที่ลอกออกมาจากอกไก่ คอยตัก
ฟองออก

ใส่กะทิลงไปครึ่งหนึ่ ง ตามด้วยข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด เกลือ
ป่นเล็กน้ อย

ตั้งให้กะทิเดือด ใส่เนื้ อไก่ น่ องไก่ลงไป ตามด้วยหัวปลี
เห็ดฟางผ่าซีก ผักชีฝรั่ง แล้วเติมกะทิอีกครึ่งหนึ่ ง ปรุงรส
ด้วยน้ำปลา น้ำตาลทราย พริกขี้หนู มะนาว

หากเข้มข้นเกินไปให้ใส่น้ำเปล่าเจือปน คนให้เข้ากัน
ใส่ผักชีซอย ปิดไฟยกเสิร์ฟ

กุยช่ายผัดตับ

ตับ : มีโฟเลทสูงที่ช่วย
สร้างการเจริญเติบโต

ส่ งผ่านน้ำนมได้



กระเทียม : ช่วยเพิ่ม กุยช่าย : ช่วยขับ
ปริมาณของน้ำนม น้ำนม แก้ท้องอืด
ท้องเฟ้อ

กุยช่ายผัดตับ

ส่ วนประกอบ

ตับหมูหั่นเป็นชิ้น 1/2 กก.

ดอกกุยช่ายหั่นท่อน 2 กำ

กระเทียมสับหยาบ 5-6 กลีบ

น้ำมันหอย 1 ช้อนโต๊ะ

ซอสถั่วเหลือง 1-2 ช้อนชา

น้ำตาลทราย 1-2 ช้อนชา

น้ำเปล่า

วิธีทำ

ลวกตับในน้ำเดือด ให้ตับสุกๆดิบๆ แล้วตัก
ขึ้นพักไว้




ตั้งกระทะใส่น้ำมันไฟกลาง ใส่กระเทียมลงไป
ผัด พอเหลืองใส่ตับลงไปผัดจนตับสุก

ใส่ดอกกุยช่ายลงไปผัด เติมน้ำที่ลวกตับลงไป
เล็กน้ อย แล้วปรุงรสตามชอบ ผัดให้เข้ากัน
จนผักสลบ พร้อมเสิร์ฟ

ต้มจืดตำลึง

ตำลึง ช่วยบำรุงนํ้านมแม่

และบำรุงเลือด

เต้าหู้ มีเเคลเซียมเเละเหล็กสูง

ส่วนประกอบ & วิธีทำ




ส่ วนผสมและสั ดส่ วน เครื่องปรุง

1. ยอดตำลึง 100 กรัม 1. ซุปหมูก้อน 1 ก้อน
2. หมูสับ 100 กรัม 2. กระเทียม 1 หัว
3. ซีอิ้วขาว 1 ช้อนโต๊ะ
4. เกลือเล็กน้ อย
5. พริกไทยป่น
6. รากผักชี

1. เด็ดยอดตำลึง เอาใบและยอด เอาก้านทิ้ง
2. หมูสับให้ละเอียด หมักกับกระเทียม ซีอิ้ว
ขาว พริกไทย รากผักชี หมักทิ้งไว้ 10 นาที
3. ตั้งหม้อใส่น้ำพอประมาณ พอเดือดใส่ซุป
หมูก้อน กระเทียม และหมูสับลงไป
4. ใส่ตำลึงลงไป ตั้งไว้สัพักพอสุกก็ปรุงรส
อีกครั้งและยกลง

เเกงบวด

ฟักทอง

มีเส้ นใยช่วยในการขับถ่าย

เเละช่วยทำให้น้ำนมไหล

ได้ดี เพิ่มการผลิตน้ำนม

ส่ วนประกอบ

ฟักทอง 500 กรัม
น้ำปูนใส
กะทิ 250 มิลลิลิตร หรือ 1 กล่อง
ใบเตย 1 มัด
น้ำเปล่า 250 มิลลิลิตร
น้ำตาลมะพร้าว 100 กรัม หรือปริมาณ
ตามชอบ
เกลือป่น

1. ปอกเปลือกฟักทองล้างให้สะอาด หั่นเป็น
ชิ้นนำลงแช่ในน้ำปูนใสประมาณ 30 นาที
เสร็จแล้วล้างด้วยน้ำสะอาด 2 รอบ ใส่ตะแกรง
พักไว้ให้สะเด็ดน้ำ
2. ตั้งหม้อใส่กะทิกับใบเตย เติมน้ำเปล่า ใช้ไฟ
กลางพอเดือด ใส่ฟักทองลงไปต้มจนสุก เติม
น้ำตาลมะพร้าวและเกลือลงไป ชิมรสตามชอบ
ปิดไฟ

Delicious & fresh

แซลมอนผัดพริกไทยดำ

ช่วยเสริมสร้างการทำงานของสมองของทารกและให้
พลังงานแก่ร่างกายสำหรับใช้ในการเลี้ยงดูบุตร

แซลมอนผัดพริกไทยดำ

ส่ วนประกอบ 200 กรัม กระเทียมไทย 10 กลีบ
1/4 ถ้วย
เนื้ อปลา (แซลมอน) 50 กรัม แป้งข้าวโพด 1/4 ชช
พริกหวานสีแดง สีเขียว 1/4 ชช.
หอมหัวใหญ่ 70 กรัม พริกไทยดำบดละเอียด 1/3 ชต.
แครอท . 2 ชต.
พริกไทยดำบดหยาบ 1 1/4 ชต.
น้ำมันสำหรับผัดและทอด เกลือป่น

1 หัวเล็ก

น้ำตาลทราย

2/3 ชต. น้ำมันหอย

ซีอิ๊วขาว

วิธีการ

1. ตั้งน้ำมันใส่กะทะรอน้ำมันร้อน นำปลาลงทอด โรยเกลือลงน้ำมันก่อนทอด
2. ทอดจนเหลืองกรอบก็พักใส่จานให้สะเด็ดน้ำมัน
3. นำพี่หอมใหญ่ลงผัดให้มีสีเหลืองน้ำตาลอ่อนๆ
4. นำพริกหวาน ต้นหอม แครอท ลงไปผัด
5. ใส่พริกไทยดำลงไป ตามด้วย ด้วยซีอิ้ว น้ำมันหอย ตามชอบ
6. ผัดให้เข้ากันซักพักก็ตักใส่จานเพื่อรับประทาน

Delicious & fresh

แซลมอนผัดพริกไทยดำ

ช่วยเสริมสร้างการทำงานของสมองของทารกและให้
พลังงานแก่ร่างกายสำหรับใช้ในการเลี้ยงดูบุตร

ไ ก่ ผั ด ขิ ง

มีโปรตีน แคลเซียม วิตามินเอ บี1และบี 2 จาก
สรรพคุณของขิงที่ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด จึง
ทำให้น้ำนมแม่ไหลได้ดี ทั้งยังช่วยแก้จุกเสียดแน่ นท้อง

ทำให้ลูกน้ อยที่กินนมแม่สบายท้องไปด้วย

ไก่ผัดขิง

ส่ วนประกอบ

สะโพกไก่ 500 กรัม เต้าเจี้ยว 3 ช้อนโต๊ะ

น้ำมันพืช 3 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ

กระเทียม 2 ช้อนโต๊ะ ซีอิ๊วขาว 2 ช้อนโต๊ะ

ขิงซอย ½ ถ้วยตวง เห็ดหูหนู ½ ถ้วยตวง

หอมใหญ่ ½ หัวยตวง พริกชี้ฟ้าแดง ¼ ถ้วยตวง

ต้นหอมหั่นท่อน ¼ ถ้วยตวง

วิธีการ

1. โขลกกระเทียมให้ละเอียด และซอยขิงที่ปอกเปลือก
2.ตั้งกระทะ ใส่น้ำมัน นำกระเทียมสับ และขิงลงไปผัดให้หอม
3.นำไก่ลงผัดให้สุก
4.ใส่หอมใหญ่ และเห็ดหูหนู
5.ปรุงรสด้วยเต้าเจี้ยว ซีอิ๊วขาว น้ำตาล ผัดให้เข้ากัน
6.ต้นหอม พริกชี้ฟ้าแดงคลุกเคล้าให้เข้ากัน
7.ยกออกจากเตาตักใส่ จาน



การรับวัคซีนตามช่วงวัย

- DTwP ครั้งที่ 1 ข้อควรรู้

(ป้องกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน) ก่อนการรับวัคซีนโปลิโอชนิดกิน และ
วัคซีน Rota ควรให้เด็กงดน้ำงดอาหาร
- HB
30 นาที เพื่อป้องกันเด็กมีคลื่นไส้
(ป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี) อาเจียน

- HIB

(ป้องกันไข้สมองอักเสบจากเนื้ อฮิบ)

- Rota

(ป้องกันการติดเชื้อ Rota virus)

- OPV

(ป้องกันโปลิโอ)

อายุ 2 เดือน

*** หลังรับวัคซีนป้องกัน คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน เด็กอาจมีไข้ ตัวร้อน หากอุณหภูมิร่างกาย
มากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ให้เช็ดตัวลดไข้ หากมีอุณหภูมิร่างกายมากกว่า 38.0 องศาเซลเซียส

ให้รับประทานยาลดไข้ร่วมกับการเช็ดตัว หลังเช็ดตัวลดไข้แล้วไข้ไม่ลงยังคงมีไข้สูง
ให้รีบมาพบแพทย์

- DTwP ครั้งที่ 2 - DTwP ครั้งที่ 3
(ป้องกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน)
- HB (ป้องกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน)
(ป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี)
- HIB - HB
(ป้องกันไข้สมองอักเสบจากเนื้ อฮิบ)
- Rota (ป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี)
(ป้องกันการติดเชื้อ Rota virus)
- OPV - HIB
(ป้องกันโปลิโอ)
(ป้องกันไข้สมองอักเสบจากเนื้ อฮิบ)

- Rota

(ป้องกันการติดเชื้อ Rota virus)

- OPV

(ป้องกันโปลิโอ)

อายุ 4 เดือน อายุ 6 เดือน

ที่มา : ตารางการให้วัคซีนในเด็กไทย แนะนำโดย สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย

การรับวัคซีนตามช่วงวัย

- MMR 1 - DTwP เข็มกระตุ้น ครั้งที่ 1
(หัด คางทูม หัดเยอรมัน) (ป้องกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน)
-JE 1
(ไข้สมองอักเสบ) - OPV กระตุ้น ครั้งที่ 1
(ป้องกันโปลิโอ ชนิดกิน)
** สามารถรับวัคซีน influenza เพื่อป้องกัน
โรคไข้หวัดใหญ่ได้ตั้งแต่อายุ 6 เดือน ให้ 2 - MMR 2
เข็ม ห่างกัน 1 เดือน ในการรับครั้งแรก จาก (หัด คางทูม หัดเยอรมัน)
นั้นฉีดกระตุ้นปีละ 1 ครั้ง
อายุ 18 เดือน
อายุ 9 - 12 เดือน

- JE 2 - DTwP เข็มกระตุ้น ครั้งที่ 2
(ไข้สมองอักเสบ) (ป้องกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน)
- OPV กระตุ้น ครั้งที่ 2
**สามารถเข้ารับวัคซีนเสริม เช่น (ป้องกันโปลิโอ ชนิดกิน)
HAV(ตับอักเสบ) VZV(อีสุกอีใส)
Rabirs(พิษสุนัขบ้า) มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม อายุ 4 - 6 ปี

อายุ 2 ปี

- TD กระตุ้น
(ป้องกันบาดทะยัก)
และฉีดกระตุ้นซ้ำทุก 10 ปี

อายุ 11 - 12 ปี

ที่มา : ตารางการให้วัคซีนในเด็กไทย แนะนำโดย สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย

ภาวะตัวเหลือง

การดูแลและการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

ตัวเหลือง

สาเหตุ : ทารกจะมีจำนวนเม็ดเลือดแดงมาก
จึงมีอัตราสร้างบิลลิรู บินหรือของเสี ยสี เหลือง
ที่เกิดจากการแตกของเม็ดเลือดแดงมาก
ในขณะที่ความสามารถในการกำจัดของเสียนี้ ออก
จากร่างกายทางอุจจาระน้ อย

การรักษา :
1. การส่องไฟ
2. การถ่ายเปลี่ยนเลือด
3. การรักษาด้วยยา

ปัจจุบันมักใช้วิธีการรักษาด้วยการส่องไฟ นอกจาก
ในรายที่มีภาวะตัวเหลืองมาก ๆ อาจต้องรักษาโดยการถ่ายเลือด

อาการที่พบได้ของทารกที่มีภาวะตัวเหลือง
ขณะให้การรักษาด้วยการส่องไฟ :
- อาจพบผิวหนั งแห้ง ลอก จากการเสียน้ำและอาจมีผื่นแดงขึ้นที่
ผิวหนั งในทารกที่ไวต่อแสง โดยพบได้นานเป็นชั่วโมงและหายไปเอง
- มีไข้ อุณหภูมิสูงกว่า 37.5 C
- ถ่ายอุจจาระสีเขียว ลักษณะเหลวเป็นน้ำส่วนใหญ่
- ส้นเท้าเป็นแผก เนื่ องจากต้องเจาะเลือดตรวจหาบิลิรูบินทุกวัน
- มีแผล รอยแดงจากพลาสเตอร์ที่ใช้ปิดตาทารกเพื่อป้องกันแสงไฟเข้า
ตาทารก
- น้ำหนั กทารกอาจขึ้นช้า หลังจากหยุดส่องไฟน้ำหนั กจะขึ้นตามปกติ

ตัวเหลือง

การสังเกตอาการตัวเหลือง :
รีดผิวหนั งที่หน้ าผากหรือลำตัวให้ชีด โดยวางนิ้ วหัวแม่มือและ

นิ้ วชี้ให้ชิดกันบนผิวหนั ง กดเบาๆ พร้อมกับแยกนิ้ วออกขณะที่ยังคง
แรงกดไว้บนผิวหนั งเพื่อกดหลอดเลือดที่อยู่ใต้ผิวหนั งหรือมองดูที่
ตาขาวของทารกเวลาลืมตาว่าเหลืองหรือไม่ เหลืองมากน้ อยแค่ไหน

อาการที่ควรไปพบแพทย์ :
1. ทารกมีตัวเหลืองมากที่สังเกตเห็นได้จนถึงบริเวณท้องและแขนขา
รวมทั้งตาขาวเปลี่ยนเป็นสี เหลือง
2. เหลืองนานเกิน 2-3 สัปดาห์
3. อุจจาระสีซีด หรือ เหลืองอ่อนลงหรือ ปัสสาวะสีเข้มคล้ายโค้ก
4. ตัวเหลืองร่วมกับไช้ ซึม อาเจียน เลือดออกง่าย
5. ทารกน้ำหนั กไม่ขึ้น หรือกินนมได้น้ อยลง

การป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ :
- ส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวเป็นเวลา 6 เดือน
- กระตุ้นให้ลูกรับประทานนมทุก 2-3 ชั่วโมง ปริมาณ 2-3 ออนซ์
เพื่อกระตุ้นการขับสารเหลืองทางอุจจาระ
- หลังจากกลับบ้านแล้วต้องมาพบแพทย์ตามนั ด


Click to View FlipBook Version