The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bunbow Z', 2021-07-16 00:10:21

NFE Magazine

NFE Magazine

ปี
กศน.

4 มนี าคม 2564

ครบรอบ 13 ปี ส�ำนักงานกศน.

จดหมายข่าว กศน.

ONIE NEWSLETTER ปที ่ี5ฉบับที่2/2564
โทร. 0-2282-2868
www.nfe.go.th/pr

บก.แถลง EDTIATLOK’RS

สวัสดีค่ะพ่ีน้องชาว กศน.ท่ีเคารพรักทุกท่าน จดหมายข่าวฉบับท่ี 2/2564 ตรนี ุช สุขสเุ ดช
ขอตอ้ นรบั ดว้ ยบรรยากาศงานวนั คลา้ ยวนั สถาปนาสำ� นกั งาน กศน. 4 มนี าคม 2564
ซงึ่ ปนี น้ี บั เปน็ ปที ี่ 13 ของการใชช้ อ่ื “สำ� นกั งาน กศน.” ตามพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ บรรณาธกิ าร
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551 ซงึ่ กเ็ ปน็ ไปตามครรลอง
การเปลย่ี นแปลงตามบรบิ ทตามยคุ สมยั แตภ่ ารกจิ การตามเจตนารมณข์ องการศกึ ษา
นอกรว้ั โรงเรยี น ยงั คงไมเ่ ปลยี่ นแปลง โดยเฉพาะการสรา้ งโอกาส ทางการศกึ ษา การพฒั นา
คณุ ภาพชวี ติ พฒั นาอาชพี ใหแ้ กพ่ น่ี อ้ งประชาชนคนไทยทว่ั ประเทศ ขอเปน็ กำ� ลงั ใจให้
พน่ี อ้ งชาว กศน.ทกุ ทา่ น มงุ่ มน่ั ทำ� คณุ ประโยชนต์ อ่ สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ดงี ามแกส่ งั คมตอ่ ไปนะคะ
จากน้ันติดตามเร่ืองน่าสนใจท่ีท่านเลขาธิการ กศน. เร่งผลักดันให้เกิดเป็น
รปู ธรรมในเรว็ วนั คอื การปรบั โฉมการดำ� เนนิ งานของศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชพี ราษฎร
ไทยบรเิ วณชายแดน พรอ้ มขบั เคลอื่ น โคก หนอง นา โมเดล ตามแนวทางพระราชดำ� รฯิ
และกจิ กรรมทสี่ ำ� คญั กำ� ลงั ฮอทฮติ เปน็ ทสี่ นใจตดิ ตามของผตู้ อ้ งการสรา้ งอาชพี สรา้ ง
รายได้ และผู้ชื่นชอบการชิม ช้อป ใชส้ นิ ค้าดีมคี ณุ ภาพแนะน�ำและนำ� เสนอสินค้าเอง
โดยท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์ หรือ
“ครูพ่ีโอ๊ะ” ของพวกเรา ในกิจกรรมประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์/สินค้า กศน. ของ
ประชาชนที่ผ่านการอบรมอาชีพจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ซ่ึงนับเป็นสินค้า
เกรดดีพรีเมียม ของ กศน.เลยทีเดียว โดยฉบับน้ีจะได้พบบรรยากาศท่ีได้จัดไป
แล้วหลายแห่ง ติดตามชมกันเป็นระยะนะคะ เด๋ียวจะเป็นการสปอยมากเกินไป
ตอนนเ้ี รามาตดิ ตามสง่ิ ทนี่ า่ สนใจในจดหมายขา่ ว กศน.ฉบบั ที่ 2/2564 กนั เลยดกี วา่ คะ่

สำ� นกั งาน กศน. บรรณาธิการทปี่ รกึ ษา ณฐั กฤตา สว่างย่งิ
กาญจณา ทรพั ยป์ ระดษิ ฐ์
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ วรัท พฤกษาทวีกุล ชมพนู ท สังขพ์ ชิ ยั
กระทรวงศึกษาธกิ าร สรุ พงษ์ ทองเนยี ม
บรรณาธกิ าร นภสั สรณ์ ธนพิ ฒั น์วรเมธ
ปี นพนันท์ สงิ หเสนี
กศน. ตรีนุช สขุ สเุ ดช นันท์นลิน ประเสริฐสงั ข์
วดิ า เทพลกั ษณ์
4 มนี าคม 2564 กองบรรณาธิการ
พิสจู นอ์ กั ษร
ครบรอบ 13 ปี สำ� นกั งำนกศน. สร้อยทพิ ย์ อจุ วาท ี
มณฑา อยู่หล�ำ ณฐั มน ไทยประสทิ ธ์ิเจรญิ
จดหมายขา่ ว กศน. วัชรวี รรณ กันเดช สุรพงษ์ ทองเนียม
เอือ้ มพร สุเมธาวฒั นะ นภัสสรณ์ ธนิพัฒน์วรเมธ
ONIE NEWSLETTER ปีท่ี5ฉบับท่ี2/2564 โยฑนิ สมโนนนท์ นพนนั ท์ สิงหเสนี
โทร : 0-2282-2868 นลิ รตั น์ มาเจริญ วดิ า เทพลักษณ์
www.nfe.go.th/pr สนุ ยี ์ เพชรสัมฤทธิ์
สิชล เชยสมบตั ิ ศลิ ปกรรม
ณัฐมน ไทยประสทิ ธ์เิ จรญิ
กมลทพิ ย์ ช่วยแกว้ สุรพงษ์ ทองเนยี ม
พัฐสฐิ พสฐิ ภสั ณ์
ไตรภัทร ย้ิมแก้ว

บูรณาการการศกึ ษา

โรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน
โรงเรยี นมธั ยมดสี ม่ี มุ เมือง และ โรงเรียน Stand Alone

ของกระทรวงศกึ ษาธิการ จังหวดั เชยี งใหม่

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายจัดท�ำแผนบูรณาการ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 - 2567 ณ หอ้ งประชมุ ลา้ นนา
ด้านการศึกษาเพื่อให้สามารถบริหารในทุกด้านของการศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพมิ่ ศกั ยภาพและคณุ ภาพของโรงเรยี นในทกุ และลงพ้ืนท่ีดูสภาพจริงโรงเรียนคุณภาพของชุมชน “โรงเรียน
ดา้ น โดยมอบหมายให้ นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ เลขาธกิ าร กศน. บา้ นดอนปนิ ” สงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
เป็นผู้รับผิดชอบการด�ำเนินการในจังหวัดเชียงใหม่ ตามค�ำส่ัง เชยี งใหม่เขต1รวมทงั้ ไดร้ บั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งอาทิ
กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. 11/2564 ลงวนั ที่ 7 มกราคม ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ผ้นู ำ� ทอ้ งถนิ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
2564 เรื่อง การบูรณาการด้านการศึกษาของกระทรวง ผ้ปู กครองนักเรยี น ภาคเี ครอื ข่าย และชาวบา้ นในชมุ ชน
ศกึ ษาธิการ
เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกด้านให้มี
ส�ำหรับพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่มีโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลตอ่ ไป นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ
จ�ำนวน 687 แหง่ บางโรงเรียนตั้งอยบู่ นพน้ื ทีร่ าบและพื้นทสี่ งู เลขาธิการ กศน. ได้ขับเคล่ือนงานตามแผนท่ีวางไว้ โดยลงดู
ซง่ึ สพฐ. ไดเ้ สนอชอื่ โรงเรยี นทเี่ ขา้ รว่ มเปน็ โรงเรยี นคณุ ภาพของ สภาพพ้ืนท่ีของโรงเรียนด้วยตนเองและติดตามการขับเคลื่อน
ชุมชนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งสิน้ จ�ำนวน 12 แห่ง งานอย่างเคร่งครัด ในการน้ีได้มอบหมายให้คณะท�ำงานการ
ได้แก่ โรงเรียนคุณภาพของชุมชน (จ�ำนวน 6 แห่ง) โรงเรียน บรู ณาการดา้ นการศกึ ษาในพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบของจงั หวดั เชยี งใหม่
มธั ยมดสี ่ีมุมเมอื ง (จ�ำนวน 1 แห่ง) และโรงเรยี น Stand Alone ร่วมกับคณะศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ ลงพื้นที่เพ่ือจัดท�ำ
(จ�ำนวน 5 แห่ง) ในการขับเคล่ือนงานการบูรณาการ ด้าน ขอ้ มลู และขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ การบรู ณาการดา้ นการศกึ ษาที่
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการของพ้ืนที่จังหวัดเชียงใหม่ เปน็ ไปตามแนวทางโรงเรยี นคณุ ภาพตามนโยบายของกระทรวง
น�ำโดยนายวรัท พฤกษาทวีกุล เลขาธิการ กศน. ได้วางแผน ศกึ ษาธกิ าร กลา่ วคอื ดา้ นกายภาพทส่ี ามารถพฒั นาเปน็ โรงเรยี น
การด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบและชัดเจนในการขับเคล่ือน หลกั ทใ่ี หโ้ รงเรยี นอนื่ มาเรยี นรวมได้ พน้ื ทขี่ องโรงเรยี นทม่ี คี วาม
การบรู ณาการด้านการศกึ ษา มีการลงดสู ภาพจริงของโรงเรียน เหมาะสม ความพรอ้ มด้านระบบสาธารณปู โภค การคมนาคม
หลกั และโรงเรยี นเครือข่ายโดยรอบ มกี ารรบั ฟังความคิดเห็น สะดวกสบาย ด้านผู้บริหารท่ีมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาคุณภาพ
ของบคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มกี ารตดิ ตามนโยบายการบรู ณาการดา้ น การศึกษา โดยยึดผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ด้านครู และบุคลากร
การศกึ ษาและเมอื่ เรว็ ๆน้ีนายวรทั พฤกษาทวกี ลุ เลขาธกิ ารกศน. ทางการศึกษาที่ตระหนักให้ความส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพ
ได้ประชุมเพื่อมอบนโยบาย วางแผนการท�ำงานร่วมกับ การศึกษา ด้านภาคีเครือข่าย ชุมชนเข้มแข็ง ให้ความร่วมมือ
ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพ้ืนที่ กับสถานศกึ ษาเปน็ อย่างดี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 1-6 ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งาน ONIE NEWSLETTER
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 34 บคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง และ โดย ณัชั ชารีีย์์ โรจน์์บุุณยฤทธิ์์�
รบั ฟงั แนวทางการบรหิ ารโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชนทงั้ 3 รปู แบบ กลุ่ม่� ยุุทธศาสตร์แ์ ละแผนงาน สำำ�นักั งาน กศน.

3

จดหมาย ่ขาว กศน. ส�ำนักงาน กศน. ทำ� บญุ ครบรอบวนั คลา้ ยวนั สถาปนา กศน.

ครบรอบ 13 ปี เนน้ ยำ้� ภารกจิ ลดความเหล่ือมล้�ำทางการศกึ ษา
พร้อมเดนิ หน้าปรับปรงุ หลกั สตู รใหท้ นั สมัยรบั มอื กบั ยุคดิจิทลั

ส�ำนกั งาน กศน. ทำ� บญุ ครบรอบวนั คลา้ ยวันสถาปนา
กศน. ครบรอบ 13 ปี โดย นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ เลขาธกิ าร
กศน. คณะผ้บู รหิ าร พรอ้ มทงั้ บุคลากร สำ� นักงาน กศน. ร่วม
ท�ำบญุ ถวายผา้ ไตรและตาลปัตร และถวายภัตตาหารเพล แด่
พระสงฆจ์ ำ� นวน 9 รูป ท่อี าคารส�ำนักงาน กศน. ช้นั 6 เพอื่
ระลกึ ถึงผมู้ ีคุณปู การของ กศน.ทสี่ รา้ งสรรค์ สร้างงานให้เจริญ
กา้ วหนา้ มาเปน็ ลำ� ดบั จากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั โดยมี นายประเสรฐิ
บญุ เรอื ง ประธานทป่ี รกึ ษา สำ� นกั งาน กศน. และคณะผบู้ รหิ าร
ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใหเ้ กยี รตมิ ารว่ มแสดงความยนิ ดี
ในครัง้ น้ี
เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา กศน. ครบรอบ 13 ปี
นายวรัท พฤกษาทวกี ุล เลขาธกิ าร กศน. ไดก้ ลา่ วเนน้ ย�ำ้ การ
ดำ� เนนิ งานและภารกจิ หลกั ของกศน. วา่ “หนา้ ทหี่ ลกั ของเราคอื
การลดความเหล่ือมล�้ำทางการศึกษาให้กับผู้ที่ต้องการศึกษา
หาความรู้ทุกคน โดยปัจจุบันเราดูแลผู้เรียนกว่าแปดแสนราย

4

ทั่วประเทศ โดยแบ่งเป็น การศึกษานอกระบบขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาตามอัธยาศัย ONIE NEWSLETTER
และการศึกษาต่อเนื่อง” โดย กศน. มีหน้าท่ีลดความเหลื่อมล้�ำและเติมโอกาสให้
กบั คนทกุ ชว่ งวยั ซงึ่ เปน็ ภารกจิ ทเี่ ราภมู ใิ จและพรอ้ มดแู ลอยา่ งเตม็ ที่ ผมอยากเนน้ ยำ�้
ให้บุคลากรของ กศน. ท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเห็นว่า ทุกท่านเปรียบดัง
ฟันเฟืองที่ส�ำคัญในการขับเคล่ือนงานของ กศน. ให้มีคุณภาพอย่างแท้จริง ในส่วน
ของภาคเอกชน กศน. อยากเชญิ ชวนใหท้ กุ ทา่ นเขา้ รว่ มเปน็ ภาคเี ครอื ขา่ ยในการจดั
การศกึ ษาตา่ งๆ เพอ่ื ลดความเหลอ่ื มลำ้� ทางการศกึ ษาใหก้ บั ประเทศไทยอยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป
ทั้งน้ีในปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยเผชิญกับการระบาดของเชื้อโควิด-19
การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของ กศน. จงึ เนน้ นโยบายเพอื่ ชว่ ยเหลอื แรงงานทต่ี อ้ งออกจากงาน
ในช่วงวกิ ฤตโรคระบาดนี้ ซึ่ง กศน. ถอื ว่าไดร้ ับผลกระทบไมม่ ากนัก เนอื่ งจากมคี วาม
ยืดหยุ่นในการเรียนการสอนอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนซึ่งเน้นการนัด
เฉพาะกลมุ่ ย่อยภายในแตล่ ะชุมชน และการนำ� เครือ่ งมือทางออนไลน์ เช่น Google
Classroom เข้ามาช่วย แต่เรื่องที่เร่งด่วนส�ำหรับปีท่ีผ่านมาคือการเข้าช่วยเหลือ
แรงงานในกรงุ เทพฯ ทตี่ อ้ งกลบั บา้ นตา่ งจงั หวดั ซงึ่ กศน. ไดพ้ ยายามเนน้ การฝกึ ทกั ษะ
อาชีพในหลกั สตู รท่ีสอดคล้องกบั ความตอ้ งการในตลาดแรงงานของแตล่ ะพ้นื ที่ และ
การเพิม่ ทักษะใหม่ๆ ใหก้ ับกลุ่มท่ขี าดรายได้จากวิกฤตโรคระบาด”
ส�ำหรบั “แผนงานในอนาคต ของ กศน. คอื การปรับปรงุ หลกั สูตรท้ังหมด
ให้ทันสมัย โดยยังเน้นความยืดหยุ่นและหลากหลาย ต้ังแต่ระดับช้ันมัธยมตอนต้น
มธั ยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) นอกจากน้ี ยังมีการปรับ
โครงสร้างองค์กรและปรับปรุงภารกิจอ่ืนๆ ให้สอดคล้องกับการท�ำงานในปัจจุบัน
มากขึ้น” ส�ำหรับนโยบายการรับมอื กบั ยุคดิจิทัลในปัจจุบนั

5

กศน.เตรยี มปรบั โฉมการดำ� เนนิ งาน ศฝช. ทวั่ ประเทศ

พรอ้ มขบั เคลอื่ น “โคกหนองนาโมเดล”

และพฒั นาบคุ ลากรรองรบั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั

จดหมาย ่ขาว กศน. กลุ่มส่งเสริมกิจการการศึกษาและเครือข่าย น�ำโดย ใน ศฝช.และประชาชน พร้อมขับเคล่ือนศาสตร์พระราชา
นางสาววัชรีวรรณ กันเดช ผู้อ�ำนวยการกลุ่มส่งเสริมกิจการ โครงการโคก หนอง นา โมเดล ตามแนวทางพระราชดำ� ริ ให้
การศกึ ษาและเครอื ขา่ ย จดั การประชมุ ประสานแผนการดำ� เนนิ ขยายผลลงสู่ ศฝช. ท่ัวประเทศอยา่ งจรงิ จังและเกิดประโยชน์
งาน ของศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน อย่างเปน็ รปู ธรรม ซง่ึ ในยุคศตวรรษท่ี 21 คนในยคุ น้ี จ�ำเป็น
ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทณั ฑ์ ศนู ย์ฝึกอาชพี ตามพระราชด�ำริฯ ต้องพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพ โดยอาศัยการจัดการศึกษา
และศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัย ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง ศฝช.ทุกแห่ง มีแผนการด�ำเนินงานที่
ในวงั ) สำ� นกั งาน กศน. โดยมี ดร.วรทั พฤกษาทวกี ลุ เลขาธกิ าร ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ให้เรียนรู้และสามารถพัฒนาสังคม
กศน.เปน็ ประธานการประชมุ ในครง้ั น้ีณหอ้ งประชมุ จนั ทรเกษม ชมุ ชน ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ สามารถพง่ึ พาตนเองได้ ซง่ึ ในปจั จบุ นั
อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมงุ่ เนน้ ระบบการจดั การและพฒั นากำ� ลงั
ดร.วรัท พฤกษาทวีกลุ เลขาธกิ าร กศน. ไดก้ ลา่ วมอบ คน รวมทง้ั พฒั นาสมรรถนะความรู้ ความสามารถของบคุ ลากร
นโยบายใหแ้ กห่ นว่ ยงานดงั กลา่ ว ภายใตก้ รอบ การดำ� เนนิ งาน ให้มีความพร้อมรองรับเทคโนโลยีดิจิทัล ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้อง
ท้ัง 4 ด้าน ในการประชุมประสานแผนการด�ำเนินงาน ของ พัฒนาบุคลากร ศฝช. และประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย ให้
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) เกิดทักษะความเข้าใจและสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิด
ส�ำนกั งาน กศน. ได้แก่ 1) บทบาท ภารกจิ โครงการ กิจกรรม ประโยชน์สูงสุด ท้ังในด้านการส่ือสาร การปฏิบัติงาน เพื่อ
แผนการด�ำเนินงาน ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทย ให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพ ตลอดจนประชาชนมีความรู้
บริเวณชายแดน 2) แนวทางการด�ำเนินงานของศูนย์ฝึกและ ความเขา้ ใจสามารถใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครอ่ื งมอื ในการประกอบ
พัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ที่สะท้อนทิศทาง อาชพี ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ และอกี ประการที่สำ� คญั ยิ่งท่ีต้อง
ในอนาคต ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ไดร้ บั การพัฒนาเร่งด่วน คือ เร่ืองการปรบั ปรุงอาคาร สถานที่
3) การส่งเสริม สนบั สนุน สร้างอาชพี สรา้ งรายได้ เพือ่ พัฒนา เน่ืองจากขณะนี้ได้รับรายงานว่า ศฝช. หลายแห่ง ช�ำรุด
คุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ให้กับประชาชนบริเวณชายแดน 4) การ ทรุดโทรม ซึ่งจะมีการพิจารณางบประมาณ และติดตาม
พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยี การดำ� เนินการปรบั ปรุงซ่อมแซมต่อไป
ดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ของบุคลากร

6

โครงการอบรมครทู ่ีปฏิบตั ิงาน “แมฟ่ า้ หลวง”
ณ ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา

ส�ำนักงาน กศน. ได้จัดการศึกษาให้กับประชาชนใน ใน ปี2564 มีครูศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา
พื้นที่ทุรกันดารและพื้นที่สูง ที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความ “แมฟ่ า้ หลวง” (ศศช.) ในพนื้ ทโี่ ครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนใน
แตกต่างกันตามสภาพวิถีการด�ำรงชีวิต ความคิด ความเช่ือ ถน่ิ ทรุ กนั ดารฯและพน้ื ทสี่ งู ทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั หรอื ไดร้ บั มอบหมาย
สังคม และวัฒนธรรม รวมถึงการจัดการเรียนการสอนให้แก่ ใหป้ ฏบิ ตั งิ านใหม่(อายงุ านไมเ่ กนิ 1ป)ี จำ� นวน74คนจาก8จงั หวดั
เด็กและเยาวชนในพ้ืนที่ โดยใช้หลักสตู รการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ในภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ เชยี งราย น่าน แมฮ่ ่องสอน แพร่
ของส�ำนักงาน กศน. โดยมีศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา ลำ� พนู และลำ� ปาง ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การศกึ ษา
“แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) จ�ำนวน 809 แหง่ ใน 14 จงั หวดั ซ่ึงเปน็ สำ� หรบั ประชาชนบนพน้ื ทสี่ งู และมกี รอบในการดำ� เนนิ งานตาม
สถานศึกษาทด่ี ำ� เนินการจัดการศกึ ษา ในจ�ำนวน 809 แหง่ น้ัน นโยบายของเลขาธิการ กศน. ดงั นี้
มี ศศช.จำ� นวน 282 แหง่ เปน็ ศศช. ทดี่ �ำเนินโครงการจดั การ 1. บทบาท ภารกิจ หน้าท่ีของครู ศศช. ในการน�ำ
ศึกษาส�ำหรับเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เพื่อสนองงาน ความร้จู ากการอบรมไปประยุกตใ์ ชใ้ นการท�ำงาน ไดจ้ รงิ และ
ตามพระราชด�ำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ ให้สามารถด�ำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งเสริม
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (กพด.) ซึ่ง ศศช. สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาใหป้ ระชาชนรวมถงึ เดก็ และเยาวชน
ในพน้ื ท่ีโครงการ กพด. ไดข้ ับเคลือ่ นการจัดการศกึ ษาภายใต้ บนพนื้ ท่ีสูงไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดาร 2. แนวทางการดำ� เนนิ งานของ ศศช. ทส่ี ะทอ้ นทศิ ทาง
เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกันในการ ในอนาคต
จดั การศกึ ษาในพน้ื ทท่ี รุ กนั ดารและพน้ื ทสี่ งู ตลอดจนการสรา้ ง 3. การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์
จิตวิญญาณครู กศน. ทต่ี ้องจดั การศึกษาในถ่นิ ทุรกนั ดาร เพอ่ื การนำ� ความรูไ้ ปปรับใช้ตามบรบิ ทของแต่ละพ้นื ที่
ใหเ้ ปน็ ไปตามบรบิ ทพนื้ ทอ่ี ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สำ� นกั งาน กศน. 4. การสง่ เสรมิ พฒั นา ครู ศศช. ใหม้ คี วามสามารถดา้ น
ได้มอบหมายให้ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ ด�ำเนินการจดั อบรม ดิจทิ ลั Digital Literacy
พฒั นาครผู ปู้ ฏบิ ตั งิ านประจำ� ศศช. เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของครู 5.การทำ� งานของครู ศศช. ยคุ ใหม่ ทต่ี อ้ งอาศยั ระบบฐาน
ในพืน้ ท่ีทรงงานและพืน้ ทส่ี งู ให้มีความรู้ ความสามารถ และ ขอ้ มลู ในการวางแผนการจดั การศกึ ษาใหก้ บั คนทกุ คนในชมุ ชน
ทักษะในการจัดการศึกษาในชุมชน และการจัดกระบวนการ นอกจากการให้บริการการศึกษาแก่ประชาชนให้เกิด
เรียนรู้ ให้เด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในถ่ินทุรกันดาร ตลอดจนมี ทกั ษะในดา้ นตา่ ง ๆ แลว้ การใหบ้ รกิ ารชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ กเ็ ปน็ อกี
ความสามารถเฉพาะ และทักษะจ�ำเป็นในการปฏิบัติงานตาม หนง่ึ บทบาทหนา้ ทที่ ส่ี ำ� คญั ยง่ิ ทคี่ รู ศศช. ตอ้ งสง่ เสรมิ ชมุ ชนดา้ น
บทบาทหน้าท่ีให้มปี ระสิทธิภาพเพ่ิมข้นึ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ดา้ นประเพณี
โดยเฉพาะครูผู้ปฏิบัติงานประจ�ำศูนย์การเรียนฯ ศลิ ปวฒั นธรรม พรอ้ มสรา้ งความรว่ มมอื และเครอื ขา่ ยทเ่ี ขม้ แขง็
ทไ่ี ดร้ บั การบรรจแุ ตง่ ตง้ั ใหมใ่ หป้ ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ทด่ี งั กลา่ วทจี่ ะ กบั ชุมชน
ตอ้ งมคี วามรู้ ทกั ษะ เกย่ี วกบั การจดั ศกึ ษาใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย
เฉพาะทจี่ ะตอ้ งอาศยั องคค์ วามรแู้ ละกระบวนการจดั การเรยี นรู้ โดย พฐั สิฐ พสฐิ ภสั ณ์
ท่ีแตกต่างจากกลุ่มเป้าหมายท่ัวไป ซ่ึงถือว่าเป็นองค์ความรู้ที่ กลุ่มสง่ เสริมกจิ การการศกึ ษาและเครอื ข่าย
เป็นศาสตร์เฉพาะด้าน ท่ีครูผู้ปฏิบัติงานประจ�ำศูนย์การเรียน
ชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” ควรจะได้รับการถ่ายทอด
ความรเู้ พ่อื น�ำไปปฏิบัตงิ านในพน้ื ทไ่ี ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ONIE NEWSLETTER

7

“มิตใิ หม่ กศน.ไร้ถงั ขยะ”

ในอดีตอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ อยา่ งละเอยี ด เราจะพบวา่ ใบไม้ เศษอาหาร หรอื แมแ้ ตก่ ระดาษ
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับการ ทิชชู่เช็ดมือ สามารถย่อยสลายได้ เราจึงจัดการให้ย่อยสลาย
คดั แยกขยะโดยลกั ษณะของกจิ กรรมคอื ใหผ้ เู้รยี นหยบิ ตวั อยา่ งขยะ กลายเป็นปุ๋ย และจะไม่ทิ้งลงถังขยะเด็ดขาด ในส�ำนักงานเรา
แลว้ นำ� ไปใสใ่ นถังขยะสตี า่ ง ๆ ให้ถูกตอ้ ง ซึง่ เปน็ ถังขยะ 4 ถงั จงึ ใชถ้ งั กรนี โคนในการจดั การเศษอาหาร สำ� หรบั วสั ดรุ ไี ซเคลิ ที่
4 สี แบบเดยี วกันกับที่ต้งั เรียงรายไว้บริการทั้งเจา้ หน้าที่ และ ขายได้ รวบแบบแหง้ และสะอาด สง่ ขายเปน็ รายไดแ้ กพ่ นกั งาน
ผ้ทู ี่มาใชบ้ ริการ แตเ่ มอื่ ไปลองเปดิ ถังขยะพิจารณา กลบั พบว่า ส่วนวัสดุรีไซเคิลท่ีขายยาก เช่น กล่องโฟม กล่องพลาสติกใส
ถังขยะท้ัง 4 ถัง ภายในมีขยะหน้าตาเหมือนกันทั้งหมด และ หว้ากอได้ออกข้อก�ำหนดห้ามน�ำกล่องโฟมเข้ามา และลดการ
ที่ผ่านมาก็พบว่าปริมาณขยะไม่ได้ลดลง จึงเกิดค�ำถามข้ึนว่า ใชพ้ ลาสตกิ ภายในหวา้ กอ
วธิ กี ารคดั แยกขยะแบบนี้ ใช้ไดผ้ ลจรงิ หรือไม่ ขยะมพี ษิ รวบรวมสง่ กำ� จดั ท่ี อบต.ในพน้ื ท่ี ขยะตดิ เชอ้ื สง่
หลงั จากไดร้ บั ความรเู้ กยี่ วกบั การจดั การขยะแบบใหมท่ ี่ กำ� จดั ทโ่ี รงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ดว้ ยวธิ กี ารจดั การขยะ
เรยี กว่า “มิตใิ หม่ชมุ ชนไทยไร้ถงั ” โดย ดร.ไพบลู ย์ โพธิ์สวุ รรณ ท้ังหมดที่ว่ามาน้ีท�ำให้หว้ากอสามารถถอนถังขยะจาก 90 ถัง
จากสถาบนั พระปกเกลา้ เม่ือปี พ.ศ.2560 หว้ากอไดต้ ัดสินใจที่ เหลอื เพยี ง 5 ถงั และปรมิ าณขยะลดลงรอ้ ยละ 82.17 กลายเปน็
จะเป็นต้นแบบในการจดั การขยะ จงึ ด�ำเนนิ กจิ กรรม “หวา้ กอ ส�ำนักงานไร้ถังขยะแห่งแรกของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้รับ
ไรถ้ งั ขยะ” โดยเรม่ิ ตน้ จาก การไปลว้ งถงั ขยะ ไดย้ นิ ไมผ่ ดิ คะ่ วา่ รางวัลชุมชนไร้ถังขยะ จากจงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ เม่ือปี พ.ศ.
พวกเราไปล้วงถังขยะ เพ่ือศกึ ษาว่ามขี ยะอะไรเกิดขนึ้ บา้ ง และ 2561 ไดร้ บั รางวลั สำ� นกั งานไรถ้ งั ขยะ ปี พ.ศ.2562 เปน็ ตน้ แบบ
มปี รมิ าณเทา่ ไหร่ และเราพบวา่ ในหนง่ึ วนั หวา้ กอมขี ยะประเภท และเป็นท่ีศึกษาดูงานให้กับส่วนราชการ จนมีส่วนราชการ
ตา่ งๆ เกดิ ขน้ึ รวม 146.63 กิโลกรัม ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานได้รางวัลส�ำนักงานไร้ถังขยะอีก 54
ข้นั ตอนต่อไป คอื การศึกษาประเภทและจ�ำนวนคนท่ี หน่วยงาน ในจำ� นวนน้นั มี กศน.อ�ำเภอทบั สะแก กศน.อ�ำเภอ
กอ่ ให้เกดิ ขยะ ไดแ้ ก่ คนทีท่ ำ� งานประจ�ำในหว้ากอ 120 คน ครู สามร้อยยอด กศน.อ�ำเภอปราณบุรี กศน.อ�ำเภอกุยบุรี กศน.
และนกั เรยี นทม่ี าเขา้ คา่ ย 200 คน และนกั ทอ่ งเทยี่ วเฉลย่ี วนั ละ อ�ำเภอบางสะพาน และกศน.อ�ำเภอบางสะพานน้อย ได้รับ
600 คน สว่ นสถานทที่ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ ขยะ ไดแ้ ก่ สำ� นกั งาน คา่ ยหวา้ กอ รางวัลดว้ ยเช่นกัน
ศูนย์อาหาร และบริเวณโดยรอบหว้ากอ ซึ่งท้ังหมดที่กล่าวมา จากการด�ำเนินการจัดการขยะตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560
จะเป็นขอ้ มลู ที่นำ� มาวางแผนในการดำ� เนินการจดั การขยะ เราไดเ้ รยี นรู้ ไดแ้ กป้ ญั หา ไดเ้ ขา้ ใจแกน่ ของการจดั การขยะ จงึ มี
ส�ำหรับกลุ่มคนท่ีท�ำงานประจ�ำอยู่ในหว้ากอ เราขอ การรวบรวมองคค์ วามรจู้ ดั ทำ� สอื่ ความรเู้ พอ่ื เผยแพร่ จนกระทง่ั
ความร่วมมือให้ถอนถังขยะส่วนตัว และลุกข้ึนจากโต๊ะจัดการ ไดจ้ ดั ทำ� หลกั สตู รฐานการเรยี นวทิ ยพ์ ชิ ติ ขยะ ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั
ขยะของตนเอง ณ จุดจัดการขยะ ท่ีประกอบด้วยถังกรีนโคน การจัดการขยะตามหลักมิติใหม่ชุมชนไทยไร้ถัง ต้ังแต่ปี พ.ศ.
ส�ำหรับจัดการเศษอาหาร อ่างล้างถุง ราวส�ำหรับตากถุง 2562 เปน็ ตน้ มา ส่งิ หนึ่งท่ที �ำใหพ้ วกเราภมู ิใจ คือ การดำ� เนิน
พลาสติก และท่ีส�ำหรับคัดแยกวัสดุรีไซเคิลที่แห้งและสะอาด งาน “หว้ากอไร้ถังขยะ” กลายเป็นต้นแบบ เป็นท่ีศึกษาดู
ส่วนครูและนักเรียนที่มาเข้าค่ายหว้ากอ ก็ต้องปฏิบัติตามกฎ งานให้กับหน่วยงานท้ังในและต่างจังหวัด เช่น ส�ำนักงาน
ระเบยี บของคา่ ยรบั ผดิ ชอบจดั การขยะของตวั เอง ณ จดุ จดั การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสมุทรสาคร
ขยะ เชน่ กัน ส�ำนักงานจังหวัดพิษณุโลก และส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก
สำ� หรบั กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วทวั่ ไป หรอื คนทเี่ ขา้ มาในพนื้ ที่ รัฐมนตรี เป็นต้น
หวา้ กอเปน็ ครงั้ คราว ใชว้ ธิ กี ารประชาสมั พนั ธผ์ า่ นชอ่ งทางตา่ งๆ
จดหมาย ่ขาว กศน. ติดป้ายประชาสัมพันธ์แนวทางจัดการขยะ เพื่อสร้างการรับรู้ โดย ลัคนา ช�ำนาญกุล ต�ำแหน่งครู
ส่งเสริมให้เค้ารับผิดชอบขยะจัดการขยะด้วยตนเอง ณ จุด อุทยานวิทยาศาสตรพ์ ระจอมเกลา้
จัดการขยะที่ทางหว้ากอจัดไว้ให้เม่ือเราพิจารณาขยะที่เกิดขึ้น ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์

8

ขยะ 3 ประเภท “มิตใิ หม่

1. ใช้ไมไ่ ด้ กศน.ไรถ้ ังขยะ”

2. เป็นพิษ 1. การจดั การขยะ
3. ตดิ เชอื้
คัดแยก จัดการ
กุญแจ ขาย 2. ประชาสมั พันธ์
แห่งความสำ� เร็จ 3. เลิกใช้ 4. จดั การ

1. ไม่สร้างทางตนั แต่หาทางออก 5. บรจิ าค 6. มาตรการ
2. ไม่เปน็ นกั โทษ แต่เป็นนกั ทำ�

3. ใชข้ อ้ มลู จริงจากการปฏบิ ัตจิ ริง

4. ไมเ่ ป็นผรู้ อคำ� ตอบ แตเ่ ปน็
ผู้หาค�ำตอบ

วสั ดุ 2 ประเภท

1. ย่อยสลายได้
ปบทรับบเาปทลคยี่ วนามรับผิดชอบ 2. รีไซเคลิ
ตน้ ทาง : ตนเอง ครัวเรอื น โรงเรยี น หน่วยราชการ ฯลฯ
รบั ผิดชอบขยะทเี่ กดิ ข้ึนจากตนเอง จัดการขยะทต่ี ้นทางให้ “มุง่ หาทางออกให้กบั ขยะ และ ONIE NEWSLETTER
มากทีส่ ดุ โดยส่งต่อขยะและวสั ดไุ ปสปู่ ลายทางอย่างถกู ตอ้ ง วัสดไุ ปสู่ปลายทาง อยา่ งถกู ตอ้ ง
โดยไมท่ งิ้ วัสดุ ลงถังขยะ
ปลายทาง : องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
เปลีย่ นบทบาทจากท�ำหนา้ ทข่ี นขยะจากครวั เรอื น แลว้ น�ำ 9
ไปทิ้งที่อ่นื เปน็ ส่งเสริมใหค้ รวั เรอื นจัดการให้จบทค่ี รวั เรอื น
โดยทำ� หน้าทช่ี ่วยครวั เรอื นหาทางออกใหก้ บั ขยะมีพษิ ขยะ
ติดเชือ้ และวสั ดทุ ี่ขายยาก เชน่ พลาสติกกำ� พรา้ เส้อื ผ้าเกา่
เป็นต้น

กศน. จดั โครงการประชาสมั พนั ธ์

ผลิตภณั ฑ/์ สินค้า กศน. ของประชาชนท่ผี ่านการฝึกอบรมอาชพี
จากโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน

สำ� นกั งาน กศน. จดั โครงการประชาสมั พนั ธผ์ ลติ ภณั ฑ/์ ได้ร้ ับั เกียี รติจิ าก นางกนกวรรรณ วิลิ าวัลั ย์ ์ รัฐั มนตรีชี ่ว่ ยว่า่ การ
สินค้า กศน. ของประชาชนท่ีผ่านการฝึกอบรมอาชีพจาก กระทรวงศึึกษาธิิการ มาร่่วมประชาสััมพันั ธ์์ ผลิิตภัณั ฑ์์/สิินค้า้
โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน โดยกำ� หนดใหอ้ อกอากาศสดผา่ น กศน. ผ่่านการไลฟ์์สด ทั้้�งนี้้�ก็็เพื่ �อเป็็นการส่่งเสริิมช่่องทาง
ทาง Facebook Live ของสถานีวิทยเุ พื่อการศกึ ษา (ETV) ซงึ่ การตลาดใหก้ บั ผปู้ ระกอบการทผี่ า่ นการฝกึ อาชพี จากโครงการ
ไดม้ กี ารคดั เลอื กผลติ ภณั ฑ/์ สนิ คา้ ของสำ� นกั งาน กศน. จงั หวดั ศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน ท�ำให้สามารถ
ที่มีความโดดเด่นเพื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสริมช่องทาง จ�ำหน่ายสินค้าเพ่ือสร้างรายได้ให้
การจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กับตนเองและชุมชนได้มากยิ่งข้ึน
สูส่ าธารณชนต่อไป ระหวา่ งเดอื นกุมภาพนั ธ์ – เมษายน 2564 อันน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี ราชบุรี สระบุรี ชลบุรี และพัฒนาชุมชนได้อย่างต่อเน่ือง
สุพรรณบุรี และพระนครศรีอยุธยา ท้ังน้ี ส�ำนักงาน กศน. และยงั่ ยืนต่อไป
ไดด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมตามโครงการดงั กลา่ วเสรจ็ สน้ิ ไปแลว้ 2 แหง่
คือ สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดปทุมธานี ออกอากาศสดเมื่อวนั ท่ี
8 กุมภาพันธ์ 2564 ณ สวนกล้วยหอมทอง ต�ำบลนพรัตน์
อ�ำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี และจากสถานศึกษาใน
สังกัด ส�ำนักงาน กศน.กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 50 แห่ง
เมอื่ วนั ท่ี 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ทผี่ า่ นมา ณ บรเิ วณ ศาลา 100 ปี
และศููนย์์การเรีียนรู้�วังจัันทรเกษม กระทรวงศึึกษาธิิการ โดย

จดหมาย ่ขาว กศน.

10

นายวรัท พฤกษาทวกี ุล เลขาธิการ กศน. มอบหมาย กลมุ่ พฒั นฯ์ เดินหน้าพฒั นาระบบ ONIE NEWSLETTER
ให้ นายชยั พัฒน์ พนั ธ์ุวัฒนสกุล ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นพัฒนา
หลักสูตร เป็นประธานเปิดการประชุมและมอบนโยบายการ การศเึกตษรยี ามอรอับนไลน์
ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ พฒั นาระบบคลงั หลกั สตู รการศกึ ษา
อาชีพออนไลน์และการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเว็บไซต์ ซ่งึ จะท�ำใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ (Outcome) ในดา้ น Speed up to
กลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา โดยมนี ายกษพิ ฒั the new normal ท�ำให้เกิดการสร้างแบรนด์เทคโนโลยีใน
ภูลังกา ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาส่ือการเรียนการสอน การเรียนการสอน เกิดในระยะยาว มีความเขม้ แข็งในอนาคต
นางเอ้ือมพร สุเมธาวัฒนะ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาคุณภาพ ท�ำอย่างไรให้องค์กรอยู่ได้และยั่งยืน Modernlization มีวิธี
และมาตรฐานการศึกษา ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา และผู้เข้า การนำ� เทคโนโลย/ี องคค์ วามรู้ มาหลอมรวมจดั ให้อยู่ในหมวด
รว่ มประชมุ และใหก้ ารตอ้ นรบั ระหวา่ งวนั ที่ 22-25 กมุ ภาพนั ธ์ หมเู่ ดยี วกนั และ Digitalization มแี พลตฟอรม์ การทำ� งาน จาก
2564 ณ โรงแรมไมด้า แกรนด์ ทวารวดี จงั หวดั นครปฐม Database ไปสู่ Digital ได้
นายชัยพัฒน์ พันธุ์วัฒนสกุล ผู้เช่ียวเฉพาะด้าน นางเอ้ือมพร สเุ มธาวัฒนะ ผอ.กลุม่ พฒั นาคุณภาพ
พัฒนาหลักสูตร ได้กล่าวถึงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ และมาตรฐานการศึกษา กล่าวเพ่ิมเติมว่า “กลุ่มพัฒน์ฯ
พัฒนาระบบฯ ของกลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการ มีความตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการพัฒนาระบบเพื่อ
ศึกษา (กพ.) ตอนหนึง่ วา่ “การประชุมระดมสมองเพ่ือพัฒนา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงาน
ระบบการจดั การหลกั สตู รการศกึ ษาอาชพี ออนไลนแ์ ละพฒั นา สถานศกึ ษาและเครอื ขา่ ยเปน็ อยา่ งยง่ิ โดยคำ� นงึ ถงึ การจดั ระบบ
เว็บไซต์ในการเป็นสื่อกลางการจัดการศึกษาในครั้งน้ี นับว่ามี การเรียนการสอน ที่ใช้เทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยี
ส่วนส�ำคัญในการตอบโจทย์ความต้องการในการจัดการความ ดจิ ทิ ลั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประสิทธิภาพในการจดั การศกึ ษา เพอ่ื ใหค้ รู
รู้ได้เป็นอย่างดี เพราะการก�ำหนด Agenda ให้ชัดเจน เพ่ือ สามารถบริหารจัดการระบบ และเชื่อมโยงข้อมูล รวมไปถึง
ก�ำหนดเป้าหมายร่วมกัน โดยเฉพาะการน�ำเทคโนโลยีมาเป็น การน�ำสื่อการเรียนรู้ไปสนับสนุนการเรียนการสอนในแต่ละ
เครือ่ งมือในการขบั เคล่อื นในเรื่องต่าง ๆ เพ่ือพฒั นาศักยภาพ ระดับ ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาเพื่อน�ำไปสู่การสร้าง
ของงาน จะสามารถน�ำไปสกู่ ารยกระดับการท�ำงานของ กศน. แพลตฟอร์มการจัดการศึกษาให้ครอบคลุม สอดคล้องกับ
ซึ่งทำ� ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงทดี่ ีข้ึนได้” ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด โดยเฉพาะ
การพฒั นาคลงั หลกั สตู รและสอื่ การเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็ องคป์ ระกอบ
พรอ้ มทัง้ แนะนำ� แนวคดิ SPEED Model ซงึ่ ทสี่ ำ� คญั ประการหนง่ึ ทใ่ี ชใ้ นการจดั การศกึ ษาในปจั จบุ นั ดงั นน้ั
เปน็ หลกั คิดในการออกแบบการด�ำเนนิ งาน ได้แก่ หากการด�ำเนินงานในคร้ังนี้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ และ
มกี ารนำ� ไปใชต้ ามเปา้ หมายที่ก�ำหนดไว้ ระบบดงั กลา่ วจะเป็น
S Smart คณะท�ำงานหรือบคุ คลเกดิ ความ ประโยชน์ส�ำหรับการบริหารจัดการและพัฒนางานวิชาการได้
รอบรู้ เรยี นรู้ อย่างมีคณุ ภาพ ตอ่ ไป” ผอ.กลุ่มพัฒนฯ์ กล่าว

P Progressive มีความกลา้ ท่ีจะ โดย เออื้ มพร สุเมธาวฒั นะ
เปล่ียนในทางท่ดี ขี ึ้น ผอ.กลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

E Efficacy เป็นการเพ่ิมขีดความสามารถ
ทางสมรรถนะ การพัฒนาผู้เรียนในอนาคต

E Exclusive การท�ำใหเ้ กดิ ความแตกต่าง
และโดดเด่น

D Digitalization เกดิ พลวัตการน�ำเทคโนโลยี
ดิจิทัลมาแปลงเข้าสู่ ระบบการศกึ ษาในอนาคต

11

จดหมาย ่ขาว กศน. กศน. ร่วมกับคณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี

มหาวทิ ยาลยั มหิดล และ มสพช. จัดอบรมแบบ Online
“หลักสตู รการจดั กิจกรรม กศน. ปอ้ งกันภาวะซึมเศร้า
คงสมรรถนะทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ”

ให้แก่ บคุ ลากร กศน. ใน 55 จงั หวดั

ส�ำนักงาน กศน. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล
รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และมูลนิธิสถาบันวิจัยและ
พฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชน (มสพช.) ไดบ้ รู ณาการความรว่ มมอื
จดั อบรมแบบ Online “หลกั สตู รการจดั กจิ กรรม กศน. ปอ้ งกนั
ภาวะซมึ เศรา้ คงสมรรถนะทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อาย”ุ
ใหแ้ ก่ บคุ ลากร กศน. ใน 55 จงั หวดั ซง่ึ เปน็ ความรว่ มมอื ตอ่ เนอ่ื ง
จากปี 2563 ซึ่งด�ำเนินการจัดอบรมใน รุ่นท่ี 1 ไปแล้วใน
21 จังหวดั 254 อ�ำเภอ รวม 530 คน
โดยในปี 2564 จะจดั อบรมใหบ้ คุ ลากร กศน. เปน็ รนุ่ ท่ี 2
และ รนุ่ ท่ี 3 ใน 55 จงั หวดั 535 อำ� เภอ รวม 1,125 คน ผเู้ ขา้ อบรม
ประกอบดว้ ย บคุ ลากรของสำ� นกั งาน กศน. จงั หวดั ๆ ละ 1 คน
และบุคลากรของ กศน. อ�ำเภอ ๆ ละ 2 คน คัดเลือกจาก
ขา้ ราชการครู หรือครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน หรือ
ครู กศน.ต�ำบล หรือครู ศรช. หรอื ครู ศศช. จำ� นวน 1 คน และ
เจ้าหนา้ ทีห่ ้องสมดุ หรือบรรณารกั ษ์ จำ� นวน 1 คน

12

เนอ้ื หาการอบรม ONIE NEWSLETTER
Module 1 โรคไม่ตดิ ต่อเร้อื รงั (NCDs) และความเก่ยี วข้องกับสมองเส่อื ม
Module 2 สขุ ภาพจติ และภาวะซึมเศรา้
Module 3 รูจ้ ักภาวะสมองเส่อื ม
Modul4 การท�ำงานของสมองที่เชือ่ มโยงกับร่างกายและจติ ใจ
Module 5 การกระตุ้นสมองดา้ นความสนใจ ใสใ่ จ
มีวัตถุประสงค์เพ่ือ พัฒนาบุคลากร กศน. ให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเบื้องต้นในเร่ือง สาเหตุและแนวทางการ
ปอ้ งกนั เพ่อื สง่ เสริมสุขภาพและชะลอความเสอื่ ม (กาย จิต สมอง) ให้แก่ผ้สู งู อายุกลมุ่ ท่ียงั ชว่ ยเหลือตนเองได้ การประเมนิ สังเกต
พฤตกิ รรมความผดิ ปกตเิ บอื้ งตน้ ในเรอ่ื งสมองของผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ทย่ี งั ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ มที กั ษะเบอื้ งตน้ ในการพฒั นากจิ กรรมเพอื่
สง่ เสริมสขุ ภาพและชะลอความเส่อื ม (กาย จิต สมอง) ให้แก่ผ้สู งู อายุกล่มุ ที่ยังชว่ ยเหลือตนเองได้ และทส่ี �ำคญั เปน็ การเตรยี มการ
รองรับใหบ้ ุคลากร กศน. มีบทบาทในการส่งเสรมิ สุขภาวะผ้สู ูงอายุในพ้นื ท่ีอย่างมีประสทิ ธิภาพ
วิธกี ารจดั อบรมแบบ Online
1. ผู้เข้ารับการอบรมศึกษาเนื้อหาการอบรมด้วยตนเองผ่านคลิปวีดิโอ ท�ำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ลงชื่อ
เข้าเรียนในวนั ท่มี ี Class Room Online ในระบบ LMS : ClassStart และดูส่ือการจัดอบรมย้อนหลังผ่าน website
2. เข้า Class Room Online ผา่ น ZOOM จ�ำนวน 7 ครัง้
3. เขา้ ร่วมสมั มนากอ่ นจบหลกั สูตร จำ� นวน 1 ครั้ง
4. ตดิ ต่อส่อื สารระหวา่ ง ผู้จัด Coach ประจำ� จงั หวัด และผูเ้ ข้าอบรมผา่ น Line Group ตามลำ� ดบั ช้ัน
5. แก้ปญั หา IT โดย ทมี IT Support ผา่ น Line Official ไปยังผูเ้ ข้ารบั การอบรมเป็นรายบุคคล
ระยะเวลาการจัดอบรม
รุน่ ท่ี 2 ระหว่างวนั ที่ 16 กมุ ภาพนั ธ์ – 28 มถิ ุนายน 2564
รุ่นท่ี 3 ระหว่างวนั ที่ 21 เมษายน – 30 สิงหาคม 2564
ท้งั น้ี รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศึกษา (ดร. กนกวรรณ วลิ าวัลย)์
โดยรุน่ ที่ 2 ได้ จดั Class Room Online ผ่าน ZOOM คร้งั ที่ 1 ไปแล้วเมื่อวันที่ 16 – 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 และจดั
ปฐมนเิ ทศ เมอ่ื วนั ท่ี 19 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ซงึ่ สำ� นกั งาน กศน. จงั หวดั หลายแหง่ ไดใ้ ชว้ ธิ รี วมผเู้ ขา้ อบรมมาเขา้ Class Room Online
ดว้ ยกนั ทสี่ ำ� นกั งาน กศน. จงั หวดั

โดย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ

13

ผังรายการสถานวี ิทยุศึกษา F.M. 92 MHz A.M. 1161 kHz

รับฟงั ผ่านกล่องรับสญั ญาณดาวเทียม ระบบ KU Band ที่ชอ่ ง FM 92 www. moeradiothai.net

1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2564

เวลา จันทร์ อังคาร พธุ พฤหสั บดี ศุกร์ เสาร์ อาทติ ย์
องั กฤษ ธรรมะเพอ่ื ชวี ติ
06.00 น. พนื้ ทคี่ วามสุข หนา้ ตา่ งบานเชา้ ธรรมาภริ มย์ 06.00 น.
06.15 น. เปิดโลกอาเซียน เส้นทางท�ำกิน
06.30 น. เพื่อนค่คู ดิ มิตรเกษตรกร 06.30 น.
07.00 น. สป. ถ่ายทอดขา่ วจาก สวท. 07.00 น.
ภาษาต่างประเทศ ถา่ ยทอดข่าวจาก สวท. 07.30 น.
07.30 น. อังกฤษ*
จีน พม่า เวียดนาม ภาษาต่างประเทศ 08.00 น.
08.00 น.
องั กฤษ อินโดนเี ซีย เขมร 09.00 น.
09.00 น. เคารพธงชาติ /
เคารพธงชาติ / รอบร้วั เสมา ชว่ั โมงกฎหมาย รายงานพิเศษ เคารพธงชาติ / 09.10 น.
09.10 น. ชวี ติ กบั สงั คมไทย ทางการศึกษา คยุ กนั วันอาทิตย์
10.00 น.
10.00 น. ขา่ ว ข่าว
10.10 น.
10.10 น. คดีความกับศาล 92 สนทนา (1) คลนิ กิ รักษส์ ขุ ภาพ จิตแจม่ ใส กาย
ปกครอง (1) เป็นสขุ (2) 11.00 น.
11.00 น. สขุ ภาพดีวิถไี ทย วิทยาศาสตร์ 11.15 น.
11.15 น. 12.00 น.
12.00 น. ข่าว / พยากรณ์อากาศ ข่าว / พยากรณ์อากาศ

12.30 น. เพือ่ โลกน่าอยู่ 92 สนทนา (1) เศรษฐกิจ คลินิกรักษส์ ขุ ภาพ จิตแจ่มใส กาย
หยิบมาเล่า (1) เปน็ สุข (2)
13.00 น. เอามาฝาก
14.00 น. ข่าว / สารคดีส้นั
14.10 น. ข่าว / สารคดีสนั้ รักษ์ลูกทุง่
15.00 น.
15.10 น. ดนตรีกานต์ ถ่ายทอดขา่ วจาก สวท.
15.30 น.
16.00 น. ถา่ ยทอดข่าวจาก สวท.
16.10 น.
16.15 น. ก้าวไปกับการศึกษาไทย อว. 92 บคุ๊ คลับ เครอื ข่ายสมั พันธ์ 12.30 น.
17.00 น.
สอศ. ก.ค.ศ. สพฐ.
18.00 น.
ตามตะวนั (1) พูดจาภาษาไทย ชั่วโมงนักอ่าน 13.00 น.
18.30 น.
19.00 น. ขา่ ว สารคดสี ้นั 14.00 น.
19.30 น.
20.00 น. ตามตะวนั (2) ชวี ติ ธรรมชาติ 14.05 น.
20.30 น.
22.00 น. ขา่ ว / สารคดสี นั้ ขา่ ว / สารคดสี น้ั 15.00 น.
23.00 น.
24.00 น. ตามตะวัน (3) ดนตรไี ทย 15.10 น.

14 เพลินวรรณกรรม

ขา่ ว สารคดสี ั้น 16.00 น.

นา่ รู้ไอที สยามหลากมติ ิ 16.10 น.

เพอ่ื นยามเยน็

โลมา...ล้นั ลา สรวล..สนกุ 17.00 น.

เคารพธงชาติ / ภาษาตา่ งประเทศ เคารพธงชาติ / ภาษาตา่ งประเทศ 18.00 น.

จีน* พมา่ * เวียดนาม* อังกฤษ* อนิ โดนีเซยี * เขมร* 18.30 น.
19.00 น.
สงู วยั สบายมาก รวมใจเปน็ หน่งึ 19.30 น.
20.00 น.
ถ่ายทอดข่าวจาก สวท. ถา่ ยทอดข่าวจาก สวท. 20.30 น.
22.00 น.
แบ่งปนั เรอื่ งดีดี แบง่ ปันเรือ่ งดีดี 23.00 น.
24.00 น.
ถ่ายทอดข่าวในพระราชส�ำนัก จาก สวท. ถ่ายทอดข่าวในพระราชส�ำนกั จาก สวท.

มุมความสขุ มมุ ความสุข

จดหมาย ่ขาว กศน. บหุ ลันลอยเล่ือย เร่ืองเล่า 92

มิวสกิ 92 มิวสิกโมเมนต์

ปิดสถานี ปิดสถานี

สว่ นรายการและออกอากาศทางวทิ ยุ ศูนย์เทคโนโยลที างการศึกษา ถนนศรอี ยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 - 2354 5730 - 40 ต่อ 327 - 330, 0 - 2354 - 5714 โมรสาร 0 - 2354 - 5741

ONIE NEWSLETTER 15

ทีม่ า : พระราชบญั ญตั มิ าตรฐาน จริยธรรมในการท�ำงาน
ทางจริยธรรม พ.ศ.2562
ตามมาตรฐานทางจริยธรรม
และประมวลจรยิ ธรรม พ.ศ.๒๕๖๒

“มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ให้ใชเ้ ปน็ หลกั สำ� คญั ในการจดั ทำ�
ประมวลจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐที่จะก�ำหนดเป็น
หลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตนของเจ้าหน้าที่รัฐ เกี่ยวกับสภาพ
คณุ งามความดที เ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตอ้ งยดึ ถอื สำ� หรบั ปฏบิ ตั งิ าน
การตดั สนิ ความถกู ผดิ การปฏบิ ตั ทิ ค่ี วรกระทำ� หรอื ไมค่ วรกระทำ�
ตลอดจนการดำ� รงตน ในการกระทำ� ความดแี ละละเวน้ ความชวั่ ”

มาตรฐานทางจรยิ ธรรม คอื หลกั เกณฑก์ ารประพฤติ

ปฏิบัตอิ ยา่ งมคี ณุ ธรรมของเจ้าหนา้ ท่รี ัฐ 7 ข้อ

1. ยดึ มนั่ ในสถาบนั หลกั ของประเทศอนั ไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา
พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. ซอ่ื สัตยส์ ุจริต มจี ติ สำ� นึกท่ีดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่
3. กล้าตดั สนิ ใจและกระท�ำในสง่ิ ท่ีถกู ต้องชอบธรรม
4. คดิ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตวั และ
มจี ิตสาธารณะ
5. มงุ่ ผลสัมฤทธิข์ องงาน
6. ปฏิบัติหนา้ ท่อี ยา่ งเป็นธรรมและไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ
7. ด�ำรงตนเป็นแบบอย่างท่ีดีและรักษาภาพลักษณ์ของ
ทางราชการ

กลุม่ งานสง่ เสริมและคุม้ ครองจริยธรรม
กลุ่มบริหารการเปลยี่ นแปลงและ
พฒั นาระบบงาน ส�ำนกั งาน กศน.


Click to View FlipBook Version