แผนหลกั เพอ่ื การจดั การเรยี นรู้ (Master plan for Learning Management)
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
วิชา (Courses) ฟิสกิ ส์ 1 รหัสวชิ า (Courses Code) ว 31201
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4
โดย
นางน้าค้าง รตั นพันธ์
ครปู ระจา้ รายวชิ า
โรงเรยี นพุทไธสง
อา้ เภอพทุ ไธสง จังหวดั บรุ ีรมั ย์
สา้ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 32
(The Secondary Educational Service Office 32)
จุดหมายหลักสตู ร (Goals)
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มปี ญั ญา มีความสุข มศี กั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเปน็ จุดหมายเพื่อใหเ้ กิดกบั
ผ้เู รยี น เมื่อจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ดงั นี้
1. มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื ยึดหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี มสี ขุ นิสยั รักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มจี ติ สานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถชี ีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
5. มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย และการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาสงิ่ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะที่มงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสง่ิ ทดี่ ีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกันใน
สังคมอยา่ งมคี วามสุข
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Desired Characteristics)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ม่งุ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ ในฐานะ
เป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (Love of nation, religion and the King)
2. ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต (Honesty and integrity)
3. มวี นิ ัย (Self-discipline)
4. ใฝ่เรียนรู้ (Avidity for learning)
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง (Observance principles of Sufficiency Economy Philosophy in one’s of life)
6. มงุ่ ม่ันในการทางาน (Dedication and commitment to work)
7. รกั ความเปน็ ไทย (Cherishing Thai nationalism)
8. มีจิตสาธารณะ (Public - mindedness)
คณุ ภาพผูเ้ รียน (Learners Quality) เม่อื เรยี นจบช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์
1. เข้าใจการรักษาดลุ ยภาพของเซลล์ และกลไกการรักษาดลุ ยภาพของสง่ิ มีชวี ติ
2. เขา้ ใจกระบวนการถา่ ยทอดสารพันธกุ รรม การแปรผนั มวิ เทชนั วิวฒั นาการของสงิ่ มีชวี ติ ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ และปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การอยู่รอดของสง่ิ มีชวี ิตใน
สงิ่ แวดลอ้ มต่างๆ
3. เข้าใจกระบวนการ ความสาคญั และผลของเทคโนโลยชี ีวภาพตอ่ มนษุ ย์ สง่ิ มีชวี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม
4. เข้าใจชนดิ ของอนุภาคสาคญั ทเี่ ป็นสว่ ยประกอบในโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมแี ละเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มผี ลตอ่ อตั ราการ
เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
5. เข้าใจชนิดของแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาคและสมบตั ิตา่ งๆ ของสารทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั แรงยดึ เหน่ยี ว
6. เข้าใจการเกดิ ปิโตรเลยี ม การแยกแกส๊ ธรรมชาตแิ ละการกล่ันลาดบั ส่วนนา้ มนั ดบิ การนาผลติ ภัณฑป์ โิ ตรเลยี มไปใชป้ ระโยชนแ์ ละผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม
7. เขา้ ใจชนดิ สมบตั ิ ปฏกิ ิริยาทส่ี าคญั ของพอลเิ มอร์และสารชวี โมเลกลุ
8. เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างปรมิ าณทเี่ กี่ยวกับการเคล่ือนทแ่ี บบตา่ งๆ สมบัตขิ องคล่ืนกล คณุ ภาพของเสียงและการไดย้ ิน สมบตั ิ ประโยชนแ์ ละโทษของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้
กมั มันตภาพรงั สีและพลังงานนิวเคลยี ร์
9. เข้าใจกระบวนการเปลีย่ นแปลงของโลกและปรากฏการณท์ างธรณที ี่มผี ลตอ่ สงิ่ มีชวี ิตและสงิ่ แวดล้อม
10. เข้าใจการเกดิ และวิวฒั นาการของระบบสุรยิ ะ กาแล็กซี เอกภพและความสาคญั ของเทคโนโลยีอากาศ
11. เขา้ ใจความสัมพันธ์ของความรวู้ ิทยาศาสตรท์ ีม่ ีผลต่อการพฒั นาเทคโนโลยปี ระเภทตา่ งๆ และการพฒั นาเทคโนโลยที ่สี ง่ ผลให้มกี ารคดิ ค้นความร้ทู างวิทยาศาสตรท์ ก่ี ้าวหนา้ ผล
ของเทคโนโลยตี อ่ ส่ิงมชี วี ิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม
12. ระบปุ ญั หา ตั้งคาถามทจ่ี ะสารวจตรวจสอบ โดยมกี ารกาหนดความสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปรต่างๆ สืบคน้ ข้อมลู จากหลายแหล่ง ต้ังสมมตฐิ านท่ีเปน็ ไปไดห้ ลายแนวทาง ตดั สนิ ใจ
เลอื กตรวจสอบสมมติฐานทเี่ ป็นไปได้
13. วางแผนการสารวจตรวจสอบเพอ่ื แกป้ ญั หาหรือตอบคาถาม วเิ คราะห์ เชือ่ มโยง ความสัมพนั ธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิตศาสตรห์ รอื สร้างแบบจาลองจากผลหรอื
ความรู้ท่ไี ด้รับจากการสารวจตรวจสอบ
14. สื่อสารความคดิ ความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขยี น จดั แสดง หรอื ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
15. อธิบายความรู้และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการดารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติม ทาโครงงานหรอื สรา้ งชน้ิ งานตามความสนใจ
16. แสดงถึงความสนใจ มงุ่ มัน่ รบั ผดิ ชอบ รอบคอบ และซอื่ สตั ย์ในการสืบเสาะหาความรโู้ ดยใชเ้ ครอ่ื งมอื และวิธกี ารที่ใหไ้ ด้ผลถกู ตอ้ งเชอ่ื ถอื ได้
17. ตระหนักในคณุ ค่าของความรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่ใช้ในชวี ิตประจาวัน การประกอบอาชพี แสดงถงึ ความช่นื ชม ภมู ใิ จ ยกย่อง อา้ งองิ ผลงาน ชนิ้ งานที่เปน็ ผลจากภมู ิ
ปัญญาท้องถนิ่ และการพฒั นาเทคโนโลยที ี่ทันสมยั
18. แสดงความซาบซงึ้ หว่ งใย มพี ฤติกรรมเก่ียวกบั การใชแ้ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมอยา่ งรูค้ ณุ คา่ เสนอตัวเองร่วมมอื ปฏบิ ัติกบั ชุมชนในการปอ้ งกัน ดูแล
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมของท้องถิ่น
19. แสดงถึงความพงึ พอใจ และเห็นคุณคา่ ในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแกป้ ัญหาได้
20. ทางานร่วมกับผูอ้ ่นื อย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเหน็ โดยมขี อ้ มลู อา้ งอิงและเหตผุ ลประกอบ เก่ียวกบั ผลของการพฒั นาและการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรม
ต่อสังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม และยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน
สมรรถนะส้าคญั ของผูเ้ รยี น (Learners’ key Competencies)
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ม่งุ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซง่ึ การพฒั นาผูเ้ รียนให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรูท้ ี่กาหนดนั้น จะชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเกิด
สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร (Communication Capacity) เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สกึ
และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ขา่ วสารและประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพอ่ื ขจัดและลดปัญหาความขัดแยง้ ตา่ งๆ
การเลือกรับหรอื ไมร่ บั ข้อมลู ขา่ วสารนน้ั ดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธีการสอ่ื สารทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด (Thinking Capacity) เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพือ่ นาไป สู่การ
สรา้ งองค์ความรหู้ รือสารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา (Problem – solving capacity) เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ ท่ีเผชญิ ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลกั
เหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณต์ า่ งๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรูม้ าใชใ้ นการป้องกันและแก้ไขปญั หาและมีการ
ตดั สินใจทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ ต่อตนเอง สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ (Capacity for Applying Life skills) เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆไปใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง การทางานและการอยรู่ ่วมกันในสังคมด้วยการสรา้ งเสริมความสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวให้
ทันกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ นื่
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (Capacity for Technological Application) เป็นความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยีด้านตา่ งๆและมที ักษะกระบวนการเทคโนโลยี
เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
ตารางท่ี 1 ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐาน ตวั ช้วี ัดหรือผลการเรียนรู้กบั พุทธิพสิ ยั ทักษะพิสยั และจติ พสิ ัย
พุทธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) ทักษะพิสัย จติ พสิ ัย
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ดา้ นความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตวั ช้ีวัด(Indicator) หรอื Domain)
ผลการเรียนรู้ คาสาคัญ ตามแนวคดิ ของบลูมฉบับปรบั ปรงุ ใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ดา้ นทักษะ ด้านจติ -
(Learning Outcome) (Key Word) (Process skill) วทิ ยาศาสตร์
การจา การเขา้ ใจ การประยุกต์ใช้ การวเิ คราะห์ การประเมินค่า การสร้างสรรค์
1. สืบคน้ และอธิบายการค้นหา ทกั ษะกระบวนการ (Attribute)
ความรูท้ างฟสิ ิกส์ ประวตั คิ วาม (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ทางวิทยาศาสตร์
เปน็ มา รวมท้ังพฒั นาการของ - การลงความเหน็ - ความอยากรู้
หลกั การและแนวคดิ ทางฟิสิกสท์ มี่ ี - บอก / / / จากข้อมูล อยากเห็น
ผลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หม่และ - อธิบาย ทักษะแหง่ ศตวรรษ - ความ
การพฒั นาเทคโนโลยี - ยกตวั อย่าง ท่ี 21 รอบคอบ
- ระบุ - การสอื่ สาร
- ใช้ สารสนเทศและการ
- เขียน รู้เท่าทันสื่อ
- บนั ทึกผล - ความรว่ มมือ การ
ทางานเป็นทมี และ
ภาวะผนู้ า
- การคิดและการ
แกป้ ญั หา
ตารางท่ี 1 (ต่อ) ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวช้วี ดั หรอื ผลการเรียนรกู้ บั พุทธพิ สิ ัย ทักษะพิสัยและจติ พสิ ยั
พุทธพิ ิสัย (Cognitive Domain) ทักษะพิสัย จิตพิสยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตวั ชี้วัด (Indicator) หรอื Domain)
คาสาคญั ตามแนวคดิ ของบลูมฉบับปรับปรงุ ใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ด้านทกั ษะ ด้านจติ -
ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Process skill) วทิ ยาศาสตร์
(Learning Outcome) การจา การเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การสรา้ งสรรค์
ทกั ษะกระบวนการ (Attribute)
2. วดั และรายงานผลการวัด (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ทางวิทยาศาสตร์
ปรมิ าณทางฟิสิกสไ์ ด้ถูกต้อง - การวดั - ความ
เหมาะสม โดยนาความ - วัด / / / - การใช้จานวน ซ่ือสตั ย์
คลาดเคลื่อนในการวัดมาพจิ ารณา - รายงาน - การจัดกระทาและ - ความ
ในการนาเสนอผล รวมทั้ง - ระบุ สอื่ ความหมายขอ้ มูล รอบคอบ
แสดงผลการทดลองในรปู ของ - ยกตวั อย่าง - การตีความหมาย - ความอยากรู้
กราฟ วิเคราะห์ และแปล - อธบิ าย ข้อมูลและการลง อยากเห็น
ความหมายจากกราฟเสน้ ตรง - บอก ขอ้ สรปุ
ทกั ษะแห่งศตวรรษ
ที่ 21
- การส่ือสาร
สารสนเทศและการ
รเู้ ท่าทันส่ือ
- ความร่วมมือ การ
ทางานเปน็ ทีมและ
ภาวะผู้นา
ตารางท่ี 1 (ต่อ) ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั หรอื ผลการเรียนรูก้ ับพทุ ธิพสิ ัย ทักษะพิสัยและจติ พิสยั
พุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ทักษะพสิ ยั จติ พสิ ยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ความรู้/มิติของกระบวนการทางสติปัญญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตวั ชี้วัด (Indicator) หรอื Domain)
คาสาคญั ตามแนวคดิ ของบลูมฉบบั ปรับปรุงใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ดา้ นทกั ษะ ด้านจิต-
ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Process skill) วิทยาศาสตร์
(Learning Outcome) การจา การเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวิเคราะห์ การประเมินคา่ การสรา้ งสรรค์
ทักษะกระบวนการ (Attribute)
3. ทดลอง และอธบิ าย (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ทางวิทยาศาสตร์
ความสัมพนั ธ์ระหว่างตาแหน่ง - การวัด - ความ
การกระจัด ความเร็ว และ - อธบิ าย / / / - การใช้จานวน ซ่อื สตั ย์
ความเรง่ ของการเคล่ือนที่ของวัตถุ - คานวณ - การทดลอง - ความมุง่ ม่ัน
ในแนวตรงทม่ี คี วามเรง่ คงตวั จาก - ทดลอง - การจัดกระทาและ อดทน
กราฟและสมการ รวมทั้งทดลอง ส่อื ความหมายข้อมูล - ความ
หาคา่ ความเรง่ โนม้ ถ่วงของโลก - การตีความหมาย รอบคอบ
และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ ขอ้ มูลและลงข้อสรปุ
เกยี่ วข้อง ทกั ษะแห่งศตวรรษ
ที่ 21
- การส่อื สาร
สารสนเทศและการ
รู้เทา่ ทนั สอื่
- ความร่วมมือ การ
ทางานเป็นทมี และ
ภาวะผู้นา
ตารางที่ 1 (ตอ่ ) ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัดหรอื ผลการเรียนรู้กับพุทธิพสิ ัย ทักษะพิสยั และจิตพิสยั
พุทธพิ สิ ัย (Cognitive Domain) ทักษะพสิ ัย จิตพสิ ยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตวั ชว้ี ัด (Indicator) หรือ Domain)
คาสาคัญ ตามแนวคดิ ของบลูมฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ด้านทักษะ ดา้ นจิต-
ผลการเรยี นรู้ (Key Word) (Process skill) วิทยาศาสตร์
(Learning Outcome) การจา การเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมินคา่ การสรา้ งสรรค์
ทกั ษะกระบวนการ (Attribute)
4. ทดลอง และอธบิ ายการหาแรง (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ทางวิทยาศาสตร์
ลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีทามุมตอ่ - การวดั - ความ
กนั - อธบิ าย / / / / - การใชจ้ านวน ซอ่ื สตั ย์
- การทดลอง - ความมุ่งม่ัน
- คานวณ - การจดั กระทาและ อดทน
สือ่ ความหมายข้อมูล - ความ
- ทดลอง - การตคี วามหมาย รอบคอบ
ขอ้ มูลและลงข้อสรุป
- วิเคราะห์ ทักษะแหง่ ศตวรรษ
ท่ี 21
- ประยกุ ต์ - การส่ือสาร
สารสนเทศและการ
รเู้ ท่าทนั สอ่ื
- ความร่วมมือ การ
ทางานเป็นทมี และ
ภาวะผนู้ า
ตารางที่ 1 (ตอ่ ) ตารางวิเคราะหม์ าตรฐาน ตัวช้วี ดั หรอื ผลการเรยี นรู้กับพทุ ธพิ สิ ัย ทกั ษะพิสยั และจิตพสิ ยั
พทุ ธิพิสยั (Cognitive Domain) ทักษะพสิ ยั จติ พิสยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ความรู้/มิติของกระบวนการทางสติปัญญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตัวช้วี ัด (Indicator) หรือ Domain)
คาสาคญั ตามแนวคดิ ของบลูมฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ด้านจติ -
ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ดา้ นทกั ษะ วทิ ยาศาสตร์
(Learning Outcome) การจา การเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ การวิเคราะห์ การประเมนิ ค่า การสร้างสรรค์ (Process skill)
(Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)
5. เขยี นแผนภาพของแรงที่กระทา - อธบิ าย / / / / ทักษะกระบวนการ - ความ
ต่อวัตถอุ ิสระ ทดลอง และอธิบาย - เขยี น ทางวทิ ยาศาสตร์ ซื่อสตั ย์
กฎการเคล่ือนทีข่ องนิวตัน และ - ทดลอง - การวัด - ความมุง่ ม่ัน
การใช้กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตนั - วเิ คราะห์ - การใชจ้ านวน อดทน
กับสภาพการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ - คานวณ - การทดลอง - ความ
รวมท้ังคานวณปริมาณตา่ งๆ - ประยุกต์ - การจัดกระทาและ รอบคอบ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ส่อื ความหมายขอ้ มูล
- การตคี วามหมาย
ขอ้ มลู และลงข้อสรปุ
ทกั ษะแห่งศตวรรษ
ท่ี 21
- การส่ือสาร
สารสนเทศและการ
รู้เทา่ ทนั ส่ือ
- ความรว่ มมือ การ
ทางานเป็นทมี และ
ภาวะผ้นู า
ตารางท่ี 1 (ต่อ) ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั หรอื ผลการเรยี นรกู้ ับพุทธิพสิ ยั ทักษะพสิ ัยและจติ พิสยั
พุทธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) ทักษะพสิ ยั จติ พิสยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ความรู้/มิติของกระบวนการทางสตปิ ัญญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตัวชีว้ ัด (Indicator) หรอื Domain)
คาสาคญั ตามแนวคิดของบลูมฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ด้านจติ -
ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ดา้ นทกั ษะ วิทยาศาสตร์
(Learning Outcome) การจา การเขา้ ใจ การประยกุ ตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสรา้ งสรรค์ (Process skill)
(Attribute)
6. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากล (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)
และผลของสนามโนม้ ถ่วงทท่ี าให้ - การใช้
วัตถมุ ีน้าหนัก รวมทั้งคานวณ - อธิบาย / / / / ทกั ษะกระบวนการ วิจารณญาณ
ปรมิ าณตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ทางวิทยาศาสตร์
- เขียน - การใชจ้ านวน
(ปริมาณตา่ งๆ ที่
- ทดลอง เกีย่ วข้องกับกฎ
ความโน้มถ่วงสากล
- วเิ คราะห์ สนามโนม้ ถ่วง และ
น้าหนัก)
- คานวณ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษ
ท่ี 21
- ประยกุ ต์ - การสอื่ สาร
สารสนเทศและการ
ร้เู ท่าทันสือ่
- ความร่วมมือ การ
ทางานเป็นทีมและ
ภาวะผู้นา
ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐาน ตัวชีว้ ัดหรอื ผลการเรยี นรกู้ ับพุทธิพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัยและจติ พสิ ยั
พทุ ธิพิสัย (Cognitive Domain) ทักษะพสิ ยั จิตพิสยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ ความรู้/มิติของกระบวนการทางสติปญั ญา (Cognitive Proceses Dimensions) Domain)
ตวั ช้วี ัด (Indicator) หรือ Domain)
คาสาคญั ตามแนวคิดของบลูมฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ (Revised Bloom’s Taxonomy) ด้านทักษะ ด้านจิต-
ผลการเรยี นรู้ (Key Word) (Process skill) วทิ ยาศาสตร์
(Learning Outcome) การจา การเข้าใจ การประยกุ ต์ใช้ การวิเคราะห์ การประเมนิ ค่า การสร้างสรรค์
ทกั ษะกระบวนการ (Attribute)
7. วิเคราะห์ อธิบาย และคานวณ (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ทางวิทยาศาสตร์
แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัส - การสังเกต - ความอยากรู้
ของวตั ถุคู่หนึ่งๆ ในกรณที ่ีวัตถุ - อธบิ าย / / / / - การวัด อยากเห็น
หยดุ น่งิ และวตั ถเุ คล่อื นท่ี รวมท้งั - การใชจ้ านวน - ความ
ทดลองหาสัมประสทิ ธคิ์ วามเสียด - เขียน - การทดลอง ซ่ือสัตย์
ทานระหว่างผวิ สมั ผสั ของวตั ถุคู่ - การจัดกระทาและ - ความมงุ่ ม่ัน
หนึ่งๆ และนาความรู้เรอื่ งแรง - ทดลอง สอ่ื ความหมายขอ้ มูล อดทน
เสยี ดทานไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน - การตีความหมาย - ความ
- วิเคราะห์ ข้อมลู และลงขอ้ สรุป รอบคอบ
ทักษะแหง่ ศตวรรษ
- คานวณ ท่ี 21
- การสื่อสาร
- ประยุกต์ สารสนเทศและการ
รู้เท่าทนั สื่อ
- ความร่วมมือ การ
ทางานเปน็ ทีมและ
ภาวะผนู้ า
ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชอื่ มโยงของมาตรฐานและตวั ชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู้ กับพฤตกิ รรมการเรียนรู้
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤตกิ รรมการการเรียนรู้
และตวั ชวี้ ัด (Indicator) แกนกลาง
คาสาคัญ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลกั สูตร ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรียนรู้ (Process) (P) (Competencies) (C) (ลักษณะของบุคคลทีเ่ กิดขน้ึ เป็น
(รู้อะไร)
1. สืบคน้ และอธบิ ายการ (Content) (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) อย่างไร)
ค้นหาความร้ทู างฟิสกิ ส์
ประวัติความเป็นมา รวมท้งั - บอก - ธรรมชาติทางฟิสิกส์ - อธิบายและยกตัวอย่างการ - การลงความเห็นจากข้อมูล -การสื่อสาร - ความอยากรู้อยากเห็น และ
พฒั นาการของหลกั การและ - อธิบาย ค้นหาความรทู้ างฟิสกิ ส์ การส่ือสารสารสนเทศ และ -การคิด ความรอบคอบ จากการเขยี น
แนวคิดทางฟิสกิ ส์ท่มี ีผลต่อ - ยกตัวอยา่ ง - อธบิ ายและยกตัวอย่างประวตั ิ การรู้เทา่ ทันสื่อ ความร่วมมือ -การแกป้ ญั หา รายงานและจากการนาเสนอผล
การแสวงหาความร้ใู หม่และ - ระบุ ความเป็นมารวมทัง้ พัฒนาการ การทางานเป็นทมี และภาวะ
การพฒั นาเทคโนโลยี - ใช้ ของหัลกการและแนวคดิ ทาง ผนู้ า การคิดอยา่ งมี
- เขียน ฟสิ ิกส์ วจิ ารณญาณและการ
- บันทึกผล - อธบิ ายและยกตัวอย่างความรู้ แกป้ ญั หา จากการทา
ทางฟิสกิ ส์ที่มีผลต่อการแสวงหา กจิ กรรม
ความร้ใู หมท่ างวิทยาศาสตร์และ
พัฒนาเทคโนโลยี
ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะหค์ วามเช่อื มโยงของมาตรฐานและตัวช้ีวัดหรือผลการเรยี นรู้ กบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมการการเรยี นรู้
และตวั ช้ีวัด (Indicator) แกนกลาง
คาสาคัญ ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลกั สูตร ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรยี นรู้ (Process) (P) (Competencies) (C) (ลกั ษณะของบคุ คลทเ่ี กดิ ขน้ึ เป็น
(รอู้ ะไร)
2. วดั และรายงานผลการวดั (Content) (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) อย่างไร)
ปรมิ าณทางฟิสิกสไ์ ด้ถูกต้อง
เหมาะสม โดยนาความ - วัด - การวัดและการบนั ทกึ - ระบหุ นว่ ยฐานและตวั อย่าง - การวัด การใช้จานวน การ - การส่ือสาร - ความอยากรู้อยากเห็น ความ
คลาดเคลื่อนในการวัดมา - รายงาน ผลการวัดปริมาณทาง ซ่ือสตั ย์ และความรอบคอบ จาก
พิจารณาในการนาเสนอผล - ระบุ ฟสิ กิ ส์ หน่วยอนุพทั ธข์ องระบบเอสไอ จัดกระทาและสื่อความหมาย - การคิด การอภปิ รายรว่ มกัน การทา
รวมท้งั แสดงผลการทดลองใน - ยกตวั อยา่ ง - การทดลองทางฟิสิกส์ กิจกรรมและการนาเสนอผลการ
รูปของกราฟ วิเคราะห์ และ - อธบิ าย - ยกตัวอย่างปริมาณทางฟิสิกส์ เสนอข้อมูล การตคี วามหมาย - การแกป้ ัญหา วัด
แปลความหมายจากกราฟ - บอก
เสน้ ตรง และหน่วยในระบบเอสของ และลงข้อสรุป จากการทา
ปรมิ าณน้นั ๆ ได้ กจิ กรรม การทาแบบฝึกหัด
-ใช้คานาหน้าหน่วยเปลีย่ นหนว่ ย และแบบทดสอบ
ใหใ้ หญข่ น้ึ หรอื เล็กลง - ความรว่ มมือ การทางาน
- อธิบายสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ทีมและภาวะผู้นา และ
และเขยี นจานวนหรอื ปริมาณใน การสื่อสารสารสนเทศและ
รปู สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ การรเู้ ท่าทนั สอ่ื จากการ
- อธบิ ายความสาคัญของการ อภิปรายร่วมกนั การทา
เลือกใชเ้ คร่ืองมมือวดั ให้ กจิ กรรม และการนาเสนอผล
เหมาะสมกับส่งิ ท่ตี อ้ งการวดั การวดั
- บอกไดว้ า่ ธรรมชาติของการวดั
มีความคลาดเคล่ือนเสมอ ข้นึ กับ
เครื่องมอื วัด วธิ ีการวัดและ
ประสบการณ์ของผู้วดั รวมทง้ั
สภาพแวดล้อม
ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะหค์ วามเชื่อมโยงของมาตรฐานและตัวช้ีวดั หรือผลการเรยี นรู้ กบั พฤติกรรมการเรียนรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมการการเรยี นรู้
และตัวชีว้ ัด (Indicator) แกนกลาง
คาสาคญั ดา้ นความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สตู ร ด้านจิตวิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรียนรู้ (Process) (P) (Competencies) (C) (ลกั ษณะของบุคคลที่เกดิ ขน้ึ เป็น
(รูอ้ ะไร)
(Content) (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) อย่างไร)
- อธิบายความหมายและบอก
เลขนยั สาคัญของจานวนหรือ
ปรมิ าณจาการวัดได้
- บนั ทกึ ผลการวัดปริมาณได้
อยา่ งเหมาะสมประกอบด้วยคา่ ที่
อ่านไดจ้ ากเครอื่ งวัดและ
ค่าประมาณ
- บันทกึ ปริมาณและจานวนใน
รปู แบบสัญกรณ์วิทยาศาสตรท์ ม่ี ี
เลขนัยสาคญั ตามทีก่ าหนดได้
- บนั ทึกผลการคานวณจากการ
บวก ลบ คณู และหาร จานวน
หรอื ปริมาณที่มีเลขนัยสาคญั
ต่างกัน
- บอกความสาคญั ของการ
ทดลองและรายงานผลการ
ทดลอง
ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชอื่ มโยงของมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั หรอื ผลการเรยี นรู้ กับพฤตกิ รรมการเรียนรู้ (ต่อ)
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมการการเรยี นรู้
และตัวชีว้ ัด (Indicator) แกนกลาง
คาสาคญั ดา้ นความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรยี นรู้ (Process) (P) (Competencies) (C) (ลกั ษณะของบุคคลท่ีเกดิ ข้นึ เป็น
(รู้อะไร)
(Content) (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) อยา่ งไร)
- บนั ทึกผลการวดั โดยใช้ค่าทาง
สถิติ ไดแ้ ก่ ค่าเฉลยี่ และความ
คลาดเคล่อื นของค่าเฉลี่ย
- อธบิ ายความสาคัญของสมการ
เชิงเส้น และสามารถจัดสมการที่
ไมอ่ ย่ใู นรูปเชิงเสน้ ให้อยู่ ในรูป
สมการเชิงเส้น พรอ้ มทั้งเขยี น
กราฟ และหาคา่ ของปริมาณจาก
กราฟเส้นตรงๆได้
ตารางที่ 2 ตารางวิเคราะห์ความเช่อื มโยงของมาตรฐานและตวั ชวี้ ัดหรือผลการเรยี นรู้ กับพฤติกรรมการเรียนรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมการการเรียนรู้
และตวั ชีว้ ดั (Indicator) แกนกลาง
คาสาคญั ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สูตร ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์
หรือผลการเรยี นรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรียนรู้ (Process) (P) (Competencies) (C) (ลกั ษณะของบุคคลท่เี กดิ ขนึ้ เป็น
(รอู้ ะไร)
(Content) (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) อยา่ งไร)
3. ทดลอง และอธิบาย - อธิบาย - ตาแหนง่ - อธิบายการระบุตาแหน่งของ - การวดั การทดลอง การจัด - การสอ่ื สาร - ความซอื่ สตั ย์ และความ
ความสัมพันธ์ระหวา่ งตาแหนง่ - คานวณ - การกระจดั และ - การคิด รอบคอบ จากรายงาน ผลการ
การกระจัด ความเรว็ และ - ทดลอง ระยะทาง วตั ถุ กระทา และสื่อความหมาย - การแก้ปัญหา ทดลอง
ความเร่งของการเคลื่อนทขี่ อง - อัตราเร็วและความเร็ว - ความมุง่ มั่นอดทน จากการทา
วตั ถุในแนวตรงทม่ี ีความเร่ง - ความเรง่ - อธิบายและคานวณอตั ราเรว็ ของขอ้ มลู การตคี วามหมาย การทดลองและการอภปิ ราย
คงตัวจากกราฟและสมการ - กราฟของการเคล่ือนที่ ร่วมกัน
รวมทง้ั ทดลองหาค่าความเร่ง แนวตรง เฉล่ีย อัตราเรว็ ขณะหนง่ึ ข้อมลู และลงข้อสรุปการ
โน้มถว่ งของโลก และคานวณ - สมการสาหรบั การ
ปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง เคลอ่ื นท่แี นวตรง ความเร็วเฉล่ีย และความเรว็ สอื่ สารสารสนเทศและการ
ขณะหนึง่ ของวตั ถุ รูเ้ ทา่ ทนั สือ่ ความร่วมมือ
- ทดลองหาขนาดความเร็วเฉลี่ย การทางานเป็นทมี และภาวะ
และขนาดความเรว็ ขณะหนึ่งของ ผ้นู า จากการกระทาการ
วตั ถุ ทดลอง และรายงานผลการ
- อธิบายและคานวณความเร่ง ทดลอง
เฉลย่ี ความเร่งขณะหน่ึงของวตั ถุ - การใช้จานวน ในการหา
- อธิบายและคานวณปรมิ าณที่ ปรมิ าณต่างๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั
เกี่ยวขอ้ งกับการเคลอ่ื นที่แนว การเคลอ่ื นที่แนวตรงที่มี
ตรงของวัตถุจากกราฟตาแหน่ง ความเร่งคงตวั จากแบบฝกึ หัด
กบั เวลา และแบบทดสอบ
- อธบิ ายและคานวณปรมิ าณที่
เกยี่ วข้องกับการเคลือ่ นที่แนว
ตรงของวัตถจุ ากกราฟควาเรว็
กับเวลา
ตารางที่ 2 ตารางวิเคราะหค์ วามเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ช้วี ดั หรือผลการเรยี นรู้ กบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมการการเรียนรู้
และตัวชว้ี ดั (Indicator) แกนกลาง
คาสาคญั ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สตู ร ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรยี นรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรยี นรู้ (Process) (P) (Competencies) (C) (ลกั ษณะของบุคคลทเี่ กิดข้นึ เป็น
(รอู้ ะไร)
(Content) (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) อย่างไร)
- อธิบายและคานวณปริมาณท่ี
เก่ียวขอ้ งกับการเคลอื่ นที่แนว
ตรงของวัตถจุ ากกราฟความเรง่
กับเวลา
- อธิบายและคานวณปรมิ าณท่ี
เกย่ี วข้องกับการเคลื่อนทแ่ี นว
ตรงด้วยความเรว็ คงตัว
- อธบิ ายและคานวณปริมาณท่ี
เกย่ี วข้องกับการเคลือ่ นทแ่ี นว
ตรงด้วยความเรง่ คงตวั
ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะหค์ วามเชือ่ มโยงของมาตรฐานและตัวชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู้ กับพฤติกรรมการเรยี นรู้ (ต่อ)
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ชวี้ ดั (Indicator)
คาสาคัญ แกนกลาง ด้านความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สูตร ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรยี นรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรียนรู้ (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (ลักษณะของบคุ คลท่เี กดิ ขน้ึ เป็น
(รอู้ ะไร)
4. ทดลอง และอธิบายการหา อย่างไร)
แรงลพั ธ์ของแรงสองแรงทท่ี า (Content)
มุมตอ่ กนั - ความซือ่ สตั ย์ และความ
- อธบิ าย - แรง - อธบิ ายความหมายของแรง - การวัด การทดลอง การจัด - การสื่อสาร รอบคอบ จากรายงานผลการ
- คานวณ - การหาแรงลพั ธ์ - อธบิ ายและเขยี นแผนภาพวตั ถุ กระทาและสอ่ื ความหมาย - การคิด ทดลอง
- ทดลอง อสิ ระในกรณีต่างๆ ขอ้ มูล การตคี วามหมาย - การแก้ปัญหา - ความม่งุ มั่นอดทน จากการ
- วเิ คราะห์ - อธิบายความหมายเก่ยี วกบั ขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป ความ ทดลองและอภปิ รายร่วมกัน
- ประยุกต์ น้าหนัก แรงสปรงิ แรงดึง แรง รว่ มมือ การทางานเป็นทีม
แนวฉาก และแรงเสียดทาน และภาวะผนู้ าจากการ
- อธิบายความหมายของแรง อภปิ รายร่วมกนั การทาการ
ลัพธแ์ ละแสดงการหาแรงลัพธ์ ทดลอง และรายงานผลการ
โดยใช้วิธีเขยี นเวกเตอร์ของแรง ทดลอง
แบบหางต่อหวั วิธีสร้างรูป - การสอื่ สารสารสนเทศและ
สี่เหล่ยี มดา้ นขนานของแรงและ การรเู้ ทา่ ทันส่ือ จากการ
วิธีคานวณ อภปิ รายรว่ มกนั และการ
- การทดลองหาแรงลพั ธ์ของแรง นาเสนอผล
สองแรงทที่ ามุมตอ่ กนั - การใชจ้ านวน ในการหาแรง
ลัพธ์เม่ือมีแรงมากกว่าหนึง่
แรง จากรายงานผลการ
ทดลอง แบบฝกึ ทักษะและ
แบบทดสอบ
ตารางที่ 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ชวี้ ัดหรือผลการเรยี นรู้ กับพฤติกรรมการเรียนรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตวั ช้วี ัด (Indicator)
คาสาคัญ แกนกลาง ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ด้านจติ วิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรยี นรู้ (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (ลกั ษณะของบคุ คลที่เกิดขนึ้ เป็น
(รูอ้ ะไร)
5. เขยี นแผนภาพของแรงที่ อยา่ งไร)
กระทาต่อวตั ถอุ สิ ระ ทดลอง (Content)
และอธิบายกฎการเคล่อื นท่ี - ความซื่อสตั ย์ และความ
ของนิวตนั และการใชก้ ฎการ - อธิบาย - มวล แรง และกฎการ - อธิบายความสมั พันธ์ระหว่าง - การวัด การทดลอง การจดั - การส่อื สาร รอบคอบ จากรายงานผลการ
เคล่ือนทขี่ องนิวตันกบั สภาพ - เขียน เคลือ่ นท่ี มวลกบั ความเฉ่ือย กระทาและสอื่ ความหมาย - การคิด ทดลอง
การเคล่ือนท่ีของวตั ถุ รวมทั้ง - ทดลอง - อธบิ ายกฎการเคล่อื นที่ขอ้ ที่ ขอ้ มลู การตคี วามหมาย - การแก้ปัญหา - ความมุง่ มั่นอดทน จากการ
คานวณปริมาณตา่ งๆ - วิเคราะห์ หนึง่ ของนิวตัน ข้อมูลและลงขอ้ สรุปความร่ว ทดลองและอภิปรายร่วมกัน
ที่เกยี่ วข้อง - คานวณ - อธบิ ายกฎการเคล่ือนทีข่ ้อที่ มอื การทางานเป็นทีมและ
- ประยกุ ต์ สองของนิวตนั ภาวะผ้นู า จากการอภปิ ราย
- ทดลองและอธิบาย ร่วมกัน การทาการทดลอง
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแรง มวล และรายงานผลการทอลอง
และความเรง่ ตามกฎการ - การสอ่ื สารสารสนเทศและ
เคลอ่ื นที่ข้อที่สองของนิวตัน การรเู้ ทา่ ทนั ส่อื จากการ
- อธิบายกฎการเคลื่อนท่ีขอ้ ท่ี อภิปรายร่วมกนั และการ
สามของนิวตนั นาเสนอผล
- การใช้จานวน ในการหา
ปรมิ าณต่างๆ ท่ีเกีย่ วข้องกบั
การเคล่ือนทีข่ องวตั ถโุ ดยใช้
กฎการเคลื่อนท่ขี องนิวตัน
จากรายงานผลการทดลอง
การทาแบบฝึกหัด และ
แบบทดสอบ
ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชอ่ื มโยงของมาตรฐานและตัวชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู้ กบั พฤตกิ รรมการเรียนรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตัวช้ีวัด (Indicator)
คาสาคญั แกนกลาง ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ด้านจติ วิทยาศาสตร์
หรอื ผลการเรียนรู้ (Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (Scientific mind) (S)
(Learning Outcome) สาระการเรยี นรู้ (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (ลกั ษณะของบุคคลท่ีเกิดข้ึนเป็น
(ร้อู ะไร)
6. อธิบายกฎความโน้มถ่วง อย่างไร)
สากลและผลของสนามโน้ม (Content) - การใช้วจิ ารณญาณ จากการ
ถ่วงที่ทาให้วตั ถุมีน้าหนัก อภิปรายรว่ มกนั
รวมทั้งคานวณปริมาณต่างๆ - อธิบาย - แรงดงึ ดดู ระหว่างมวล - อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากล - การสอื่ สารสารสนเทศและ - การสอื่ สาร
ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง - เขียน รวมทงั้ คานวณปรมิ าณตา่ งๆ ท่ี การรเู้ ท่าทันส่อื ความรว่ มมือ - การคดิ
- ทดลอง เก่ียวขอ้ ง การทางานเป็นทมี และภาวะ - การแกป้ ัญหา
- วเิ คราะห์ - อธิบายผลของสนามโน้มถว่ ง ผนู้ า จากการอภปิ รายร่วมกัน
- คานวณ โลกท่ีมตี อ่ นา้ หนักของวตั ถุและ และการนาเสนอผล
- ประยกุ ต์ คานวณปรมิ าณตา่ งๆที่เกี่ยวขอ้ ง - การใช้จานวนในการหา
ปริมาณต่างๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั
กฎความโน้มถ่วงสากล ค่า
สนามโน้มถ่วงและน้าหนัก
ของวตั ถบุ นดาวอ่นื ๆ จากการ
ทาแบบฝกึ หดั และ
แบบทดสอบ
ตารางท่ี 2 ตารางวิเคราะหค์ วามเชือ่ มโยงของมาตรฐานและตัวชี้วัดหรือผลการเรยี นรู้ กับพฤติกรรมการเรยี นรู้ (ตอ่ )
มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตวั ชี้วดั (Indicator) คาสาคญั แกนกลาง ด้านความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
(Key Word) (Core Content) / (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (Scientific mind) (S)
หรือผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) (ลักษณะของบุคคลท่เี กิดข้ึนเป็น
(รอู้ ะไร)
(Learning Outcome) อย่างไร)
(Content)
7. วเิ คราะห์ อธบิ าย และ - ความอยากรู้อยากเห็น จาก
คานวณแรงเสียดทานระหว่าง - อธบิ าย - แรงเสยี ดทาน - วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายแรงเสยี ด - การสงั เกต การวัด การจัด - การส่ือสาร การอภิปรายร่วมกัน
ผิวสัมผสั ของวตั ถคุ ู่หน่ึงๆ ใน - เขียน - การประยกุ ตใ์ ช้กฎการ ทานระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวัตถุคู่ กระทาและสือ่ ความหมาย - การคดิ - ความซื่อสตั ย์ และความ
กรณีท่ีวตั ถุหยุดน่งิ และวัตถุ - ทดลอง เคลื่อนทีส่ าหรับการ หนงึ่ ๆ ในกรณที ่ีวัตถหุ ยดุ นิง่ ข้อมูล กาตีความหมายข้อมลู - การแก้ปัญหา รอบคอบ จากรายงานผลการ
เคล่อื นที่ รวมทั้งทดลองหา - วเิ คราะห์ เคลอ่ื นที่ และในกรณีที่วัตถเุ คล่ือนที่ และลงขอ้ สรปุ การสื่อสาร ทดลอง
สัมประสทิ ธค์ิ วามเสยี ดทาน - คานวณ - ทดลองหาสมั ประสิทธิ์ความ สารสนเทศและการรูเ้ ทา่ ทนั - ความมุ่งมั่นอดทน จากการทา
ระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวตั ถุคู่ - ประยกุ ต์ เสยี ดทานระหว่างผิวสัมผัสของ สอ่ื ความรว่ มมอื การทางาน การทดลองและอภปิ รายรว่ มกัน
หนึง่ ๆ และนาความร้เู ร่ืองแรง
เสียดทานไปใชใ้ น วัตถุค่หู น่ึงๆ เป็นทมี และภาวะผูน้ าจาก
ชวี ิตประจาวัน
- คานวณหาปริมาณต่างๆ ท่ี การอภปิ รายร่วมกัน การทา
เก่ียวขอ้ งกับแรงเสยี ดทาน การทดลองและรายงานผล
- ประยุกตค์ วามรเู้ รอื่ งแรงเสียด การทดลอง
ทานไปใช้ในชีวติ ประจาวนั - การใชจ้ านวนในการหา
- ประยุกตใ์ ชก้ ฎการเคลอ่ื นที่ ปริมาณต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับ
สาหรบั การเคล่ือนที่ แรงเสียดทาน จากการทา
แบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ
วชิ า (Course ) ฟิสิกส์ 1 ตารางท่ี 3 ก้าหนดหนว่ ยการเรยี นรู้ (Unit)
รหัสวชิ า (Course Code) ว31201
ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ (Unit ) ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (Content) จานวนช่วั โมง
1. ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ 1. สืบค้น และอธบิ ายการคน้ หาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัตคิ วาม • ฟิสกิ สเ์ ป็นวทิ ยาศาสตร์แขนงหน่งึ ทีศ่ ึกษาเกยี่ วกบั สสาร พลังงาน 2
เปน็ มา รวมทั้งพฒั นาการของหลักการและแนวคิดทางฟสิ ิกสท์ ีม่ ผี ล อนั ตรกริ ยิ าระหว่างสสารกบั พลงั งาน และแรงพ้ืนฐานในธรรมชาติ 8
ต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี • การคน้ ควา้ หาความรทู้ างฟิสกิ ส์ได้มาจากการสงั เกต การทดลอง
และเก็บรวบรวมข้อมูลมาวเิ คราะห์หรอื จากการสร้างแบบจาลอง
2. วดั และรายงานผลการวดั ปรมิ าณทางฟสิ ิกส์ไดถ้ กู ต้องเหมาะสม ทางความคิด เพ่อื สรปุ เปน็ ทฤษฎี หลกั การหรือกฎ ความร้เู หลา่ นี้
โดยนาความคลาดเคล่ือนในการวัดมาพิจารณาในการนาเสนอผล สามารถนาไปใช้อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาตหิ รอื ทานายส่ิงท่ี
รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วเิ คราะห์ และแปล อาจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต
ความหมายจากกราฟเส้นตรง • ประวัตคิ วามเป็นมาและพฒั นาการของหลักการและแนวคดิ ทาง
ฟิสิกสเ์ ป็นพื้นฐานในการแสวงหาความร้ใู หม่เพิม่ เติม รวมถึงการ
พัฒนาและความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีกม็ สี ่วนในการคน้ หา
ความรใู้ หม่ทางวทิ ยาศาสตร์ดว้ ย
• ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึง่ ไดจ้ ากการทดลองซึ่งเก่ยี วข้องกับ
กระบวนการวัดปรมิ าณทางฟสิ ิกส์ซ่ึงประกอบด้วยตัวเลขและ
หน่วยวดั
• ปรมิ าณทางฟิสิกส์สามารถวัดไดด้ ้วยเครอ่ื งมือต่างๆ โดยตรงหรือ
ทางอ้อม หน่วยทใี่ ช้ในการวดั ปรมิ าณทางวทิ ยาศาสตรค์ ือ ระบบ
หน่วยระหว่างชาติ เรียกยอ่ ว่า ระบบเอสไอ
• ปริมาณทางฟสิ ิกสท์ ่มี คี ่าน้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มากๆ นยิ ม
เขยี นในรปู ของสญั กรณ์วทิ ยาศาสตร์หรือเขยี นโดยใชค้ านาหน้า
หนว่ ยของระบบเอสไอการเขียนโดยใช้สัญกรณว์ ิทยาศาสตรเ์ ปน็
การเขยี นเพื่อแสดงจานวนเลขนยั สาคัญท่ีถูกต้อง
วิชา (Course ) ฟสิ กิ ส์ 1 ตารางท่ี 3 ก้าหนดหนว่ ยการเรยี นรู้ (Unit) (ตอ่ )
รหัสวิชา (Course Code) ว31201
ชื่อหน่วยการเรียนรู้(Unit )
ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพมิ่ เตมิ (Content) จานวนช่วั โมง
• การทดลองทางฟิสกิ สเ์ กยี่ วกับการวัดปรมิ าณตา่ งๆ การบนั ทึก
ปรมิ าณทไ่ี ด้จากการวดั ดว้ ยจานวนเลขนัยสาคัญทเี่ หมาะสมและ
ค่าความคลาดเคล่อื นการวเิ คราะหแ์ ละการแปลความหมายจาก
กราฟ เช่น การหาความชนั จากกราฟเสน้ ตรง จุดตัดแกน
พ้ืนท่ใี ตก้ ราฟ เป็นต้น
• การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคลื่อนเสมอข้ึนอยูก่ บั
เครือ่ งมือ วิธีการวดั และประสบการณข์ องผู้วัด ซ่ึงคา่ ความ
คลาดเคล่อื นสามารถแสดงในการรายงานผลท้ังในรปู แบบตัวเลข
และกราฟ
• การวดั ควรเลอื กใชเ้ ครื่องมอื วัดใหเ้ หมาะสมกับสงิ่ ท่ตี ้องการวดั
เชน่ การวดั ความยาวของวัตถุท่ตี อ้ งการความละเอียดสงู อาจใช้
เวอร์เนียรแ์ คลลิเปริ ์ส หรือไมโครมเิ ตอร์
• ฟิสิกส์อาศยั คณิตศาสตร์เปน็ เครื่องมือในการศึกษา คน้ คว้า และ
การสื่อสาร
วิชา (Course ) ฟิสกิ ส์ 1 ตารางท่ี 3 ก้าหนดหนว่ ยการเรยี นรู้ (Unit) (ต่อ)
รหสั วชิ า (Course Code) ว31201
ช่อื หน่วยการเรียนรู(้ Unit ) ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เติม (Content) จานวนชว่ั โมง
3. ทดลอง และอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตาแหนง่ การกระจัด • ปรมิ าณที่เก่ยี วกบั การเคลื่อนท่ี ได้แก่ ตาแหนง่ การกระจัด 20
ความเรว็ และความเรง่ ของการเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรงที่มี ความเรว็ และความเร่ง โดยความเร็ว และความเร่งมที ้ังค่าเฉลย่ี
ความเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้งั ทดลองหาค่าความเรง่ และค่าขณะหนึ่งซ่ึงคดิ ในช่วงเวลาสั้นๆ สาหรบั ปริมาณต่าง ๆ ท่ี
โน้มถ่วงของโลก และคานวณปรมิ าณต่างๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง เก่ยี วข้องกับการเคลอื่ นที่แนวตรงด้วยความเร่งคงตัวมี
ความสัมพนั ธ์ตามสมการ
2. การเคลอ่ื นทแี่ นวตรง
v u at
x u v t
2
x ut 1 at 2
2
v2 u 2 2as
• การอธิบายการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุสามารถเขียนอยใู่ นรูปกราฟ
ตาแหนง่ กบั เวลา กราฟความเร็วกบั เวลา หรอื กราฟความเร่งกับ
เวลา ความชันของเส้นกราฟตาแหน่งกบั เวลาเป็นความเร็ว
ความชันของเส้นกราฟความเร็วกับเวลาเปน็ ความเร่ง และพ้ืนท่ีใต้
เสน้ กราฟความเรว็ กับเวลาเป็นการกระจดั ในกรณีทีผ่ ู้สังเกตมี
ความเร็วความเร็วของวัตถทุ ี่สังเกตได้เปน็ ความเรว็ ที่เทยี บ
กบั ผู้สังเกต
• การตกแบบเสรเี ป็นตัวอย่างหน่ึงของการเคลื่อนทใี่ นหนึ่งมติ ทิ ี่มี
ความเรง่ เท่ากับความเร่งโนม้ ถ่วงของโลก
วชิ า (Course ) ฟสิ กิ ส์ 1 ตารางท่ี 3 กา้ หนดหน่วยการเรียนรู้ (Unit) (ตอ่ )
รหัสวิชา (Course Code) ว31201
ช่อื หน่วยการเรยี นรู(้ Unit ) ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนช่วั โมง
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรงสอง • แรงเป็นปรมิ าณเวกเตอร์จงึ มีทั้งขนาดและทิศทางกรณที ่ีมแี รง 10
แรงทที่ ามมุ ต่อกัน 5
หลายๆ แรง กระทาตอ่ วตั ถุ สามารถหาแรงลัพธท์ ี่กระทาตอ่ วัตถุ
5. เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทาตอ่ วตั ถอุ สิ ระทดลอง และอธิบาย
กฎการเคล่ือนทข่ี องนิวตันและการใช้กฎการเคลื่อนทขี่ องนวิ ตันกบั โดยใช้วธิ ีเขียนเวกเตอรข์ องแรงแบบหางต่อหัว วิธสี ร้างรูปสเี่ หลย่ี ม
สภาพการเคล่ือนท่ีของวัตถุ รวมทั้งคานวณปริมาณต่างๆ
ทเ่ี ก่ียวข้อง ด้านขนานของแรงและวิธีคานวณ
• สมบัตขิ องวตั ถทุ ่ีต้านการเปลยี่ นสภาพการเคลอ่ื นที่ เรียกว่า
ความเฉ่อื ย มวลเป็นปริมาณที่บอกให้ทราบวา่ วตั ถใุ ดมคี วาม
เฉอื่ ยมากหรือน้อย
• การหาแรงลพั ธ์ท่กี ระทาตอ่ วตั ถสุ ามารถเขียนเป็นแผนภาพของ
แรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถอุ ิสระได้
• กรณีท่ไี มม่ ีแรงภายนอกมากระทา วตั ถจุ ะไม่เปลยี่ นสภาพการ
เคลอ่ื นทซ่ี ง่ึ เป็นไปตามกฎการเคลอื่ นทีข่ ้อท่ีหนง่ึ ของนิวตนั
3.แรงและกฎการเคลอ่ื นที่ • กรณีท่ีมแี รงภายนอกมากระทาโดยแรงลพั ธ์ทีก่ ระทาต่อวตั ถไุ ม่
เป็นศนู ย์ วตั ถจุ ะมคี วามเร่งโดยความเร่งมที ศิ ทางเดียวกบั แรง
ลพั ธ์ความสมั พนั ธ์ระหว่างแรงลพั ธ์ มวลและความเร่ง
เขียนแทนได้ด้วยสมการ
n ma
Fi
i 1
ตามกฎการเคลอ่ื นที่ข้อทสี่ องของนิวตนั
• เมอื่ วตั ถุสองก้อนออกแรงกระทาตอ่ กนั แรงระหวา่ งวตั ถทุ งั ้ สอง
จะมขี นาดเทา่ กนั แต่มีทิศทางตรงข้ามและกระทาตอ่ วตั ถคุ นละ
ก้อน เรียกวา่ แรงค่กู ิริยา-ปฏิกริ ิยา ซ่งึ เป็นไปตามกฎการ
เคลอ่ื นทขี่ ้อท่สี ามของนวิ ตนั และเกดิ ขนึ ้ ได้ทงั ้ กรณีท่วี ตั ถุ
ทงั ้ สองสมั ผสั กนั หรือไม่สมั ผสั กนั ก็ได้
วชิ า (Course ) ฟิสกิ ส์ 1 ตารางท่ี 3 กา้ หนดหนว่ ยการเรยี นรู้ (Unit) (ต่อ)
รหัสวิชา (Course Code) ว31201
ชื่อหน่วยการเรยี นร(ู้ Unit ) ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนชว่ั โมง
6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงท่ที าให้ • แรงดงึ ดดู ระหว่างมวลเป็นแรงที่มวลสองก้อนดงึ ดูด 5
วัตถมุ นี ้าหนัก รวมท้ังคานวณปริมาณต่างๆ ท่เี กย่ี วข้อง ซง่ึ กนั และกนั ด้วยแรงขนาดเท่ากนั แต่ทศิ ทางตรงข้าม 10
และเป็นไปตามกฎความโน้มถว่ งสากล เขียนแทน
ได้ด้วยสมการ
FG G m1m2
R2
• รอบโลกมีสนามโน้มถ่วงทาให้เกดิ แรงโน้มถว่ งซง่ึ เป็นแรงดงึ ดดู
ของโลกที่กระทาตอ่ วตั ถุ ทาให้วตั ถมุ ีนา้ หนกั
7. วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสียดทานระหวา่ งผิวสัมผัสของ • แรงทเ่ี กิดขนึ ้ ท่ีผวิ สมั ผสั ระหว่างวตั ถสุ องก้อนในทศิ ทางตรงข้าม
วตั ถคุ ูห่ น่งึ ๆ ในกรณีที่วัตถหุ ยดุ นง่ิ และวัตถุเคลื่อนที่ รวมทง้ั ทดลอง
หาสมั ประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวตั ถุคหู่ นึ่งๆ กบั ทิศทางการเคลอ่ื นท่หี รือแนวโน้มที่จะเคลอื่ นทขี่ องวตั ถุ
และนาความร้เู รื่องแรงเสียดทานไปใช้ในชีวิตประจาวัน
3.แรงและกฎการเคล่อื นท่ี เรียกวา่ แรงเสยี ดทาน แรงเสยี ดทานระหว่างผิวสมั ผัสค่หู น่ึงๆ
ขนึ ้ กบั สมั ประสทิ ธิ์ความเสยี ดทานและแรงปฏิกิริยาตัง้ ฉาก
ระหวา่ งผิวสมั ผสั คนู่ นั ้ ๆ
• ขณะออกแรงพยายามแต่วตั ถยุ งั คงอย่นู งิ่ แรงเสยี ดทานมีขนาด
เทา่ กบั แรงพยายามทีก่ ระทาต่อวตั ถนุ นั ้ และแรงเสยี ดทานมีค่า
มากท่ีสดุ เมอ่ื วตั ถเุ ริ่มเคลอ่ื นที่ เรียกแรงเสยี ดทานนวี ้ ่า
แรงเสยี ดทานสถติ แรงเสยี ดทานทกี่ ระทาต่อวตั ถขุ ณะกาลงั
เคลอื่ นท่ี เรียกวา่ แรงเสยี ดทานจลน์โดยแรงเสยี ดทานทเ่ี กิด
ระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวตั ถุค่หู นงึ่ ๆ คานวณได้จากสมการ
fs sN ’ fk k N
• การเพมิ่ หรือลดแรงเสยี ดทานมีผลตอ่ การเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถุ ซง่ึ
สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั
ตารางที่ 4 ก้าหนดน้าหนักคะแนนการวัดและประเมนิ ผล
หนว่ ย น้าหนกั คะแนน คะแนนตามช่วงเวลาการวัดและประเมินผล
ที่ คะแนน
รหสั ตวั ชีว้ ัด/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ตามพสิ ัย ระหว่างเรยี น กลางภาค ปลายภาค รวม
(F) (S1) (S2 )
KPA
KPA KK
1. สบื ค้น และอธิบายการคน้ หาความรทู้ างฟสิ ิกส์ ประวตั ิความเปน็ มา รวมทั้งพฒั นาการของ 3 1 1 1 2 2 1 3 2 10
หลกั การและแนวคิดทางฟสิ กิ สท์ มี่ ผี ลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หม่และการพฒั นาเทคโนโลยี
1 2. วดั และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟสิ กิ สไ์ ดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลอ่ื น 7 3 3 1 3 3 1 3 2 12
ในการวัดมาพิจารณาในการนาเสนอผล รวมทงั้ แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์
และแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง
3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเรง่ 20 10 8 2 7 3 2 14 6 32
2 ของการเคลอ่ื นทขี่ องวัตถใุ นแนวตรงท่มี ีความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมทัง้ ทดลอง
หาคา่ ความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก และคานวณปรมิ าณต่างๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
คะแนนรวม 30 14 12 4 12 8 4 20 10 54
24
หมายเหตุ การวัดและประเมินผลแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ นคือวดั และประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นเปน็ การประเมนิ ผลย่อย ((Formative Assessment)(F)และวัดและประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ (Summative
Assessment) (S) โรงเรียนเราแบง่ เปน็ 2 คร้ัง คือ กลางภาค (S1) และปลายภาค (S2)
ตารางที่ 4 ก้าหนดน้าหนักคะแนนการวดั และประเมินผล (ต่อ)
หนว่ ย น้าหนกั คะแนน คะแนนตามชว่ งเวลาการวัดแลประเมนิ ผล
ที่ คะแนน
รหสั ตวั ชว้ี ัด/ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ตามพสิ ยั ระหว่างเรียน กลางภาค ปลายภาค รวม
(F) (S1) (S2 )
KPA
KPA KK
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ีทามมุ ต่อกัน 15 8 6 1 321 5 11
5. เขียนแผนภาพของแรงทีก่ ระทาต่อวัตถอุ ิสระ ทดลอง และอธบิ ายกฎการเคล่ือนท่ีของนิว 15 8 5 2 3 2 2 5 12
ตนั และการใชก้ ฎการเคลอื่ นทขี่ องนวิ ตนั กบั สภาพการเคล่ือนท่ีของวัตถุ รวมทั้งคานวณ 5 11
5 12
ปริมาณต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้อง 15 8 6 1 3 2 1
3 6. อธิบายกฎความโน้มถว่ งสากลและผลของสนามโน้มถ่วงทที่ าให้วัตถมุ ีน้าหนัก รวมทั้ง
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง
7. วเิ คราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสียดทานระหว่างผวิ สมั ผสั ของวัตถุคูห่ น่ึง ๆ ในกรณที ่ี 15 8 5 2 3 2 2
วตั ถุหยดุ นิ่งและวัตถุเคล่อื นท่ี รวมทงั้ ทดลองหาสมั ประสทิ ธิ์ความเสียดทานระหว่างผวิ สมั ผสั
ของวตั ถุคหู่ น่ึง ๆ และนาความรเู้ รอื่ งแรงเสยี ดทานไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10 10
คะแนนรวม 70 32 22 16 12 8 6 20
คะแนนรวมทั้งหมด 26 30
100 46 34 20 24 16 10
50
20
หมายเหตุ การวัดและประเมินผลแบ่งออกเปน็ 2 สว่ นคือวดั และประเมินผลเพ่ือพฒั นาผู้เรียนเป็นการประเมนิ ผลยอ่ ย((Formative Assessment)(F)และวัดและประเมนิ ผลเพ่อื สรปุ ผลการเรยี นร้(ู Summative
Assessment)(S) โรงเรียนเราแบง่ เปน็ 2 ครงั้ คอื กลางภาค (S1) และปลายภาค(S2)
ตารางที่ 5 โครงสรา้ งข้อสอบระหว่างเรียน
ตารางวิเคราะห์พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธิพิสัย รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
จ้านวนขอ้ สอบจ้าแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา จา้ นวนข้อสอบ
จา้ แนกตาม
ท่ี ชื่อหนว่ ย ค้าส้าคัญ คะแนน ดา้ นความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ
การเรยี นรู้ (Keyword) ระหว่าง รูปแบบ
ผลการเรยี นรู้ นา้ หนกั เรยี น จ้า เขา้ ใจ แบบ แบบ
เลอื ก เขยี น
ประยกุ ต์ วเิ คราะห์ ประเมนิ คิด ตอบ ตอบ
ใช้ คา่ สร้างสรรค์
1. สืบค้น และอธบิ ายการค้นหา - บอก
ความร้ทู างฟสิ ิกส์ ประวัติความเปน็ มา - อธิบาย
รวมท้ังพฒั นาการของหลกั การและ - ยกตวั อยา่ ง
แนวคิดทางฟสิ ิกสท์ ่มี ผี ลตอ่ การ - ระบุ 2 2 34 2 97 2
3 3 44 3 11 8 3
แสวงหาความรู้ใหม่และการพฒั นา - ใช้
ธรรมชาติ เทคโนโลยี - เขยี น
1 และ - บันทึกผล
พฒั นาการ 2. วัด และรายงานผลการวดั ปริมาณ - วดั
ทางฟิสกิ ส์ ทางฟิสิกส์ไดถ้ กู ต้องเหมาะสม โดยนา - รายงาน
ความคลาดเคลอ่ื นในการวัดมา - ระบุ
พิจารณาในการนาเสนอผล รวมทงั้ - ยกตัวอยา่ ง
แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ - อธบิ าย
วเิ คราะห์ และแปลความหมายจาก - บอก
กราฟเสน้ ตรง
รวม 5 5 78 5 20 15 5
ตารางท่ี 5 โครงสรา้ งขอ้ สอบระหวา่ งเรียน (ต่อ)
ตารางวเิ คราะห์พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธพิ ิสยั รายวิชาเพม่ิ เตมิ ฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
จา้ นวนขอ้ สอบจ้าแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา จา้ นวนข้อสอบ
ที่ ช่ือหน่วย คา้ สา้ คัญ คะแนน ด้านความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ จา้ แนกตาม
การเรียนรู้ (Keyword) ระหว่าง รูปแบบ
ผลการเรยี นรู้ น้าหนกั เรยี น จา้ เขา้ ใจ
แบบ แบบ
ประยุกต์ วิเคราะห์ ประเมนิ คิด เลือก เขยี น
ใช้ คา่ สร้างสรรค์ ตอบ ตอบ
3. ทดลอง และอธบิ ายความสมั พันธ์ - ทดลอง
ระหวา่ งตาแหนง่ การกระจัด - อธบิ าย
ความเรว็ และความเรง่ ของการ - คานวณ
2 การเคล่ือนท่ี เคลอ่ื นท่ีของวตั ถใุ นแนวตรงทีม่ ี 7 7 46 5 15 10 5
แนวตรง ความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ
รวมท้ังทดลองหาคา่ ความเรง่ โนม้ ถ่วง
ของโลก และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี
เก่ยี วขอ้ ง
รวม 7 7 46 15 10 5
ตารางท่ี 5 โครงสรา้ งข้อสอบระหวา่ งเรียน (ตอ่ )
ตารางวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมดา้ นพทุ ธพิ สิ ัย รายวิชาเพม่ิ เตมิ ฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
จา้ นวนข้อสอบจา้ แนกตามกระบวนการทางสติปัญญา จ้านวนข้อสอบ
ที่ ช่อื หน่วย คา้ สา้ คัญ คะแนน ด้านความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ จา้ แนกตาม
การเรียนรู้ (Keyword) ระหว่าง รูปแบบ
ผลการเรียนรู้ นา้ หนัก เรยี น จา้ เข้าใจ
แบบ แบบ
ประยกุ ต์ วิเคราะห์ ประเมิน คิด เลือก เขยี น
ใช้ ค่า สร้างสรรค์ ตอบ ตอบ
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรง - อธิบาย
ลพั ธข์ องแรงสองแรงทีท่ ามุมต่อกนั - คานวณ
- ทดลอง 3 3 12 1 43 1
- วิเคราะห์
- ประยุกต์
3 แรงและกฎ 5. เขยี นแผนภาพของแรงทีก่ ระทาตอ่ - อธบิ าย
การเคลอ่ื นที่ วตั ถุอสิ ระ ทดลอง และอธิบายกฎการ - เขียน
เคลอื่ นทข่ี องนิวตัน และการใช้กฎการ - ทดลอง
เคลือ่ นทขี่ องนวิ ตนั กบั สภาพการ - วเิ คราะห์ 3 3 2 2 1 54 1
เคลื่อนที่ของวตั ถุ รวมทงั้ คานวณ - คานวณ
ปริมาณต่างๆ - ประยุกต์
ท่เี ก่ยี วข้อง
รวม
ตารางท่ี 5 โครงสรา้ งขอ้ สอบระหว่างเรียน (ต่อ)
ตารางวเิ คราะห์พฤติกรรมดา้ นพุทธิพสิ ยั รายวิชาเพิ่มเตมิ ฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
จ้านวนข้อสอบจ้าแนกตามกระบวนการทางสตปิ ญั ญา จา้ นวนข้อสอบ
ที่ ชอ่ื หนว่ ย คา้ สา้ คญั คะแนน ดา้ นความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ จา้ แนกตาม
การเรยี นรู้ (Keyword) ระหวา่ ง รูปแบบ
ผลการเรียนรู้ นา้ หนกั เรยี น จ้า เข้าใจ
แบบ แบบ
ประยกุ ต์ วเิ คราะห์ ประเมิน คดิ เลือก เขยี น
ใช้ คา่ สร้างสรรค์ ตอบ ตอบ
6. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากลและ - อธิบาย
ผลของสนามโนม้ ถว่ งทีท่ าให้วตั ถุมี - เขียน
น้าหนัก รวมทง้ั คานวณปริมาณตา่ งๆ - ทดลอง 3 3 22 1 54 1
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง - วเิ คราะห์
- คานวณ
- ประยกุ ต์
3 แรงและกฎ 7. วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรง - อธบิ าย
การเคลอ่ื นที่ เสียดทานระหว่างผิวสมั ผสั ของวตั ถคุ ู่ - เขยี น
หนึง่ ๆ ในกรณีท่ีวตั ถุหยดุ นงิ่ และวตั ถุ - ทดลอง
เคลื่อนท่ี รวมทงั้ ทดลองหา - วเิ คราะห์ 3 3 22 2 64 2
สัมประสิทธ์ิความเสยี ดทานระหว่าง - คานวณ
ผวิ สัมผัสของวัตถคุ ู่หนง่ึ ๆ และนา - ประยุกต์
ความรู้เรือ่ งแรงเสียดทานไปใชใ้ น
ชีวิตประจาวนั
รวม 12 12 7 8 5 15 5
ตารางท่ี 6 โครงสรา้ งขอ้ สอบกลางภาค
ตารางวิเคราะห์พฤติกรรมดา้ นพุทธิพสิ ัย รายวิชาเพม่ิ เตมิ ฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
จ้านวนข้อสอบจา้ แนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา จ้านวนข้อสอบ
ท่ี ชอื่ หนว่ ย ค้าส้าคญั คะแนน ด้านความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ จ้าแนกตาม
การเรียนรู้ (Keyword) กลางภาค รูปแบบ
ผลการเรยี นรู้ น้าหนกั
แบบ แบบ
จา้ เข้าใจ ประยุกต์ วเิ คราะห์ ประเมิน คดิ เลือก เขยี น
ใช้ คา่ สร้างสรรค์ ตอบ ตอบ
1. สบื ค้น และอธบิ ายการค้นหา - บอก
ความร้ทู างฟิสิกส์ ประวตั ิความเปน็ มา - อธบิ าย
รวมทงั้ พฒั นาการของหลกั การและ - ยกตวั อยา่ ง
แนวคดิ ทางฟสิ กิ ส์ทม่ี ีผลตอ่ การ - ระบุ 5 5 23 1 65 1
แสวงหาความร้ใู หมแ่ ละการพฒั นา - ใช้
ธรรมชาติ เทคโนโลยี - เขยี น
1 และ - บนั ทกึ ผล
พฒั นาการ 2. วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณ - วัด
ทางฟิสกิ ส์ ทางฟสิ กิ ส์ได้ถูกตอ้ งเหมาะสม โดยนา - รายงาน
ความคลาดเคลอื่ นในการวดั มา - ระบุ
พิจารณาในการนาเสนอผล รวมทงั้ - ยกตวั อยา่ ง 5 5 23 1 65 1
แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ - อธบิ าย
วเิ คราะห์ และแปลความหมายจาก - บอก
กราฟเสน้ ตรง
รวม
ตารางที่ 6 โครงสร้างข้อสอบกลางภาค
ตารางวิเคราะห์พฤติกรรมดา้ นพุทธิพสิ ัย รายวชิ าเพิ่มเตมิ ฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4
จา้ นวนข้อสอบจ้าแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา จา้ นวนข้อสอบ
ที่ ช่อื หนว่ ย ค้าส้าคัญ คะแนน ด้านความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ จา้ แนกตาม
การเรียนรู้ (Keyword) กลางภาค รปู แบบ
ผลการเรยี นรู้ นา้ หนัก
แบบ แบบ
จ้า เขา้ ใจ ประยกุ ต์ วิเคราะห์ ประเมิน คดิ เลือก เขียน
ใช้ ค่า สรา้ งสรรค์ ตอบ ตอบ
3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพันธ์ - ทดลอง
ระหว่างตาแหนง่ การกระจดั - อธบิ าย
ธรรมชาติ ความเร็ว และความเร่งของการ - คานวณ
1 และ เคลอ่ื นที่ของวตั ถใุ นแนวตรงที่มี 10 10 5 5 3 13 10 3
พัฒนาการ ความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ
ทางฟสิ กิ ส์ รวมท้ังทดลองหาค่าความเรง่ โน้มถว่ ง
ของโลก และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่
เกยี่ วข้อง
รวม 20 20 9 11 5 25 20 5
ตารางที่ 7 โครงสรา้ งข้อสอบปลายภาค
ตารางวิเคราะห์พฤติกรรมดา้ นพุทธิพสิ ยั รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4
จา้ นวนข้อสอบจ้าแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา จ้านวนขอ้ สอบ
ท่ี ชอ่ื หนว่ ย ค้าสา้ คัญ คะแนน ดา้ นความรู้ (K) รวม ้ขอสอบ จา้ แนกตาม
การเรยี นรู้ (Keyword) ปลาย รูปแบบ
ผลการเรียนรู้ น้าหนกั ภาค จา้ เขา้ ใจ
แบบ แบบ
ประยกุ ต์ วิเคราะห์ ประเมิน คดิ เลือก เขยี น
ใช้ คา่ สรา้ งสรรค์ ตอบ ตอบ
1. สบื ค้น และอธิบายการค้นหา - บอก
ความร้ทู างฟิสิกส์ ประวตั ิความเป็นมา - อธิบาย
รวมทัง้ พฒั นาการของหลักการและ - ยกตวั อยา่ ง
แนวคิดทางฟสิ ิกส์ที่มีผลต่อการ - ระบุ 1 1 11 22
แสวงหาความรู้ใหมแ่ ละการพฒั นา - ใช้
ธรรมชาติ เทคโนโลยี - เขียน
และ - บนั ทึกผล
พัฒนาการ
1 ทางฟสิ ิกส์ 2. วดั และรายงานผลการวดั ปรมิ าณ - วัด
ทางฟสิ ิกส์ได้ถกู ตอ้ งเหมาะสม โดยนา - รายงาน
ความคลาดเคล่อื นในการวัดมา - ระบุ
พจิ ารณาในการนาเสนอผล รวมทง้ั - ยกตัวอยา่ ง 2 2 11 22
แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ - อธบิ าย
วิเคราะห์ และแปลความหมายจาก - บอก
กราฟเส้นตรง
รวมคะแนนและจา้ นวนขอ้ สอบ
ตารางที่ 7 โครงสร้างข้อสอบปลายภาค (ตอ่ )
ตารางวิเคราะห์พฤติกรรมดา้ นพทุ ธพิ ิสัย รายวชิ าเพิ่มเตมิ ฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
จา้ นวนข้อสอบจ้าแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา จ้านวน
ชือ่ หน่วย คะแนน ด้านความรู้ (K) ขอ้ สอบ
การเรยี นรู้ ปลาย จา้ แนกตาม
ที่ ผลการเรยี นรู้ คา้ สา้ คญั น้าหนัก ภาค รวม ้ขอสอบ
(Keyword) รปู แบบ
แบบ แบบ
จา้ เขา้ ใจ ประยกุ ต์ วิเคราะห์ ประเมิน คดิ เลือก เขยี น
ใช้ ค่า สรา้ งสรรค์ ตอบ ตอบ
3. ทดลอง และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ - ทดลอง
ระหวา่ งตาแหนง่ การกระจัด - อธบิ าย
ความเรว็ และความเรง่ ของการ - คานวณ
2 การเคล่อื นที่ เคลอื่ นท่ขี องวตั ถุในแนวตรงที่มี 3 3 23 55
แนวตรง ความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ
รวมทัง้ ทดลองหาค่าความเรง่ โนม้ ถว่ ง
ของโลก และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่
เกยี่ วข้อง
4. ทดลอง และอธิบายการหาแรง - อธิบาย
3 แรงและกฎ ลพั ธ์ของแรงสองแรงทที่ ามุมตอ่ กนั - คานวณ 6 6 33 66
การเคลอื่ นท่ี - ทดลอง
- วิเคราะห์
- ประยกุ ต์
รวมคะแนนและจ้านวนข้อสอบ
ตารางที่ 7 โครงสรา้ งขอ้ สอบปลายภาค (ต่อ)
ตารางวิเคราะห์พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธพิ ิสัย รายวิชาเพม่ิ เติม ฟิสิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
จา้ นวนข้อสอบจา้ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา จ้านวน
ชื่อหน่วย คะแนน ด้านความรู้ (K) ขอ้ สอบ
การเรียนรู้ ปลาย จา้ แนกตาม
ท่ี ผลการเรยี นรู้ ค้าสา้ คญั นา้ หนกั ภาค รวม ้ขอสอบ
(Keyword) รูปแบบ
แบบ แบบ
จ้า เข้าใจ ประยุกต์ วิเคราะห์ ประเมิน คดิ เลือก เขยี น
ใช้ คา่ สรา้ งสรรค์ ตอบ ตอบ
5. เขียนแผนภาพของแรงทกี่ ระทาตอ่ - อธิบาย
วัตถุอิสระ ทดลอง และอธบิ ายกฎการ - เขยี น
เคลือ่ นท่ีของนิวตนั และการใช้กฎการ - ทดลอง
เคลอื่ นทีข่ องนิวตนั กบั สภาพการ - วิเคราะห์ 6 6 2 3 55
เคลื่อนท่ีของวัตถุ รวมทงั้ คานวณ - คานวณ
ปรมิ าณต่างๆ - ประยุกต์
แรงและกฎ ทเ่ี กย่ี วข้อง
3 การเคล่อื นท่ี 6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและ - อธบิ าย
ผลของสนามโนม้ ถ่วงทที่ าใหว้ ตั ถุมี - เขียน
น้าหนัก รวมทั้งคานวณปริมาณต่างๆ - ทดลอง 1
- วเิ คราะห์ 6 6 2 3 65 1
ทเี่ กี่ยวข้อง
- คานวณ
- ประยุกต์
รวมคะแนนและจ้านวนขอ้ สอบ
ตารางที่ 7 โครงสร้างข้อสอบปลายภาค (ตอ่ )
ตารางวเิ คราะห์พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธิพสิ ยั รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4
จ้านวนข้อสอบจา้ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา จ้านวน
ชอื่ หน่วย คะแนน ดา้ นความรู้ (K) ข้อสอบ
การเรยี นรู้ ปลาย จา้ แนกตาม
ท่ี ผลการเรียนรู้ คา้ ส้าคญั นา้ หนกั ภาค รวม ้ขอสอบ
(Keyword) รูปแบบ
แบบ แบบ
จา้ เขา้ ใจ ประยุกต์ วเิ คราะห์ ประเมนิ คดิ เลือก เขยี น
ใช้ ค่า สร้างสรรค์ ตอบ ตอบ
7. วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรง - อธิบาย
เสยี ดทานระหว่างผวิ สมั ผสั ของวตั ถคุ ู่ - เขยี น
หน่งึ ๆ ในกรณีทีว่ ตั ถุหยุดนง่ิ และวตั ถุ - ทดลอง
เคล่อื นท่ี รวมทง้ั ทดลองหา - วเิ คราะห์
แรงและกฎ สัมประสิทธ์คิ วามเสยี ดทานระหวา่ ง
3 การเคลอื่ นท่ี ผิวสมั ผัสของวตั ถุคู่หนงึ่ ๆ และนา - คานวณ 6 6 23 1 65 1
- ประยกุ ต์
ความรู้เร่อื งแรงเสยี ดทานไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั
รวมคะแนนและจา้ นวนข้อสอบ 30 30 13 17 2 32 30 2