The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อสอบงานส่งกำลังรถยนต์ ชุด2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kriangsak, 2022-05-05 04:11:58

ข้อสอบงานส่งกำลังรถยนต์ ชุด2

ข้อสอบงานส่งกำลังรถยนต์ ชุด2

แบบทดสอบ ชดุ ที่ 2

วิชางานสง่ กำลังรถยนต์รหสั 20101-2004

--------------------------------------------------------------------------------------

1. ถา้ เฟอื งตัวใหญข่ บั เฟืองตวั เลก็ จะให้ผลอย่างไร
ก. แรงบิดเพม่ิ และความเรว็ เพมิ่
ข. แรงบดิ ลดและความเรว็ ลด
ค. แรงบิดลดและความเรว็ เพิ่ม
ง. แรงบิดเพมิ่ และความเรว็ ลด
จ. ไม่มีข้อใดถูก

2. เกยี รโ์ อเวอรไ์ ดรฟ์หมายถึงข้อใด
ก. เกยี รเ์ ปลย่ี นความเร็วรอบทส่ี ง่ ออกให้สงู ข้นึ
ข. เกยี ร์เปลี่ยนความเรว็ รอบที่ส่งออกใหต้ ำ่ ลง
ค. เกียรเ์ ปลย่ี นความเร็วรอบที่ส่งออกใหเ้ ท่ากัน
ง. ถูกทุกขอ้
จ. ไม่มีข้อใดถูก

3. เฟอื งซิงโครเมช เกยี ร์ 5 ความเร็ว เกียรใ์ ดเป็นโอเวอร์ไดรฟ์
ก. เกยี ร์ 1
ข. เกยี ร์ 2
ค. เกยี ร์ 3
ง. เกียร์ 4
จ. เกียร์ 5

4. สว่ นประกอบทส่ี ำคัญของชุดโอเวอร์ไดรฟ์ คือข้อใด
ก. เฟอื งแพลเนตทารี
ข. ชุดฟรวี ิลลงิ โอเวอร์ไดรฟ์
ค. วงจรควบคมุ โอเวอร์ไดรฟ์
ง. ข้อ ก. และ ข. ถกู
จ. ขอ้ ก. ข. และ ค. ถกู

5. ข้อใดไมใ่ ชส่ ว่ นประกอบของชุดเกยี รแ์ พลเนตทารี
ก. เฟอื งตวั ท้าย
ข. เฟอื งตวั กลาง
ค. เฟืองบริวาร
ง. โครงเฟอื งแพลเนต
จ. เฟอื งวงแหวน

6. เฟืองตัวกลาง คือข้อใด
ก. Sun Gear
ข. Planet Gear
ค. Planet Carrier
ง. Ring Gear
จ. Gear Oil

7. สว่ นประกอบของชุดเกยี ร์แพลเนตทารี ข้อใดผดิ
ก. Sun Gear
ข. Planet Gear
ค. Planet Carrier
ง. Ring Gear
จ. Gear Oil

8. ในชุดหนง่ึ ๆ เฟอื งบรวิ าร จะมีเฟอื งแพลเนตกี่ตวั
ก. 1-2 ตวั
ข. 1-4 ตัว
ค. 2-4 ตวั
ง. 2-6 ตัว
จ. 4-6 ตัว

9. สว่ นประกอบชดุ เกียร์แพลเนตทารี ในข้อใด ทำหนา้ ทีร่ ับหรอื ส่งกำลงั ออก
ก. เฟืองตวั ท้าย
ข. เฟอื งตัวกลาง
ค. เฟอื งบริวาร
ง. โครงเฟืองแพลเนต
จ. เฟอื งวงแหวน

10. ส่วนประกอบใดอยูน่ อกสุดของระบบ
ก. เฟอื งตัวท้าย
ข. เฟอื งตวั กลาง
ค. เฟอื งบริวาร
ง. โครงเฟอื งแพลเนต
จ. เฟอื งวงแหวน

11. ในการทำงานของชดุ แพลเนตทารีเกยี ร์ การเพ่ิมความเร็วกระทำโดยวธิ ีการใด
ก. ลอ็ กเฟืองกลางหรือเฟืองวงแหวนใหอ้ ยกู่ ับท่ี
ข. ล็อกเฟืองท้ายหรอื เฟืองวงแหวนใหอ้ ยู่กับที่
ค. ลอ็ กเฟืองกลางหรือเฟืองวงแหวนให้เคลื่อนท่ี
ง. ล็อกเฟืองทา้ ยหรือเฟืองวงแหวนให้เคลื่อนที่
จ. ถกู ทกุ ข้อ

12. ในการทำงานของชดุ แพลเนตทารีเกยี ร์ การเพมิ่ ความเร็ว ขอ้ ใดผดิ
ก. เฟืองแพลเนตเปน็ ตัวขบั ในทศิ ทางตามเข็มนาฬกิ า
ข. เฟอื งแพลเนตเปน็ ตวั ขบั ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
ค. เปน็ การเพิ่มความเรว็ เพลากลาง
ง. เฟอื งแพลเนตทารหี มุนไปรอบๆ เฟืองกลาง
จ. ล็อกเฟอื งกลางหรือเฟืองวงแหวนให้อยกู่ ับท่ี

13. ลกั ษณะการทำงานแพลเนตทารีเกียร์ ข้อใดไม่ถกู ต้อง
ก. การเพ่มิ ความเร็ว
ข. การลดความเรว็
ค. การหมนุ ถอยกลบั
ง. การขับตำแหน่งตรง
จ. ไมม่ ีข้อถกู

14. ชดุ ฟรวี ิลลิงหรือโอเวอร์รันนิงคลัตช์ ข้อใดกลา่ วผดิ
ก. Overrunning Clutch
ข. Centrifugal Clutch
ค. เปน็ คลัตชท์ างเดียว
ง. ความเร็วของล้อสูงกวา่ ความเรว็ ของเครื่องยนต์
จ. ตัดกำลังเมื่อล้อหมนุ เร็วกว่าเพลาสง่ กำลัง

15. ขอ้ ดขี องการใชเ้ ฟืองแพลเนตทารเี ปน็ โอเวอร์ไดรฟ์ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. เข้าเกยี รโ์ อเวอร์ไดรฟ์งา่ ย
ข. ล็อกเฟืองกลางให้อยกู่ ับที่โดยไมต่ ้องเหยยี บคลัตช์
ค. เขา้ เกยี ร์โอเวอร์ไดรฟเ์ รว็
ง. สะดวกในการใช้รถยนต์
จ. เบาแรง

16. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกย่ี วกับเกียรอ์ ตั โนมัติ
ก. ขจัดปัญหาเก่ยี วกับการดบั
ข. ผขู้ บั ข่ีตอ้ งเหยียบคลัตช์เปลีย่ นเกยี ร์บ่อยคร้ัง
ค. การสตาร์ตและการเร่งรถยนต์เปน็ ไปอย่างราบเรยี บ
ง. เปลยี่ นแรงบิดของเครือ่ งยนต์ได้อย่างตอ่ เนื่อง
จ. ผขู้ ับขไ่ี มต่ ้องเหยยี บคลัตช์และโยกคนั เกยี รใ์ นการเปลี่ยนเกียร์

17. ส่วนประกอบใด ทำหนา้ ท่เี ป็นคลัตชไ์ ฮดรอลิกสำหรับถ่ายทอดและเพิ่มการบดิ ของเพลาข้อเหวี่ยง
ก. ชดุ เฟืองแพลเนตทารี
ข. ทอร์กคอนเวอรเ์ ตอร์
ค. ระบบควบคุมไฮดรอลิก
ง. คลัตชท์ างเดียว
จ. ถกู ทุกข้อ

18. ช้นิ สว่ นใดของทอรก์ คอนเวอร์เตอร์ เปน็ ตวั บังคับทศิ ทางน้ำมัน
ก. ชุดเฟอื งแพลเนตทารี
ข. ทอร์กคอนเวอรเ์ ตอร์
ค. สเตเตอร์
ง. เทอรไ์ บน์
จ. อมิ เพลเลอร์

19. ชุดเฟืองแพลเนตทารี (Planetary Gear) ข้อใดกล่าวผิด
ก. มเี ฟืองวงแหวนเปน็ ตวั สง่ กำลังออก
ข. เฟืองกลางเป็นตัวส่งกำลังเขา้
ค. เฟืองกลางตัวเลก็ หรือตวั แรกเปน็ ตัวขับถอยหลงั
ง. เฟืองแพลเนต ตวั สั้นอยู่ช้ันใน
จ. ประกอบด้วยชดุ เฟืองแพลเนตทารี 2 ชนั้

20. ตดั -ต่อกำลังจากทอร์กคอนเวอร์เตอร์ ใหส้ ่งกำลังขบั ไปยงั เฟืองกลาง (ตัวเล็ก) คือข้อใด
ก. คลตั ชล์ กู ปืน
ข. คลัตชท์ างเดยี ว
ค. ชดุ คลัตช์ขับเดินหน้า
ง. ชดุ คลัตชข์ บั ถอยหลงั
จ. เบรกตัวหน้า

21. ระบบควบคุมไฮดรอลิก ทำหนา้ ที่อย่างไร
ก. เปลี่ยนแปลงภาระงานของเคร่อื งยนต์
ข. ยดึ ใหโ้ ครงเฟืองแพลเนตหยดุ หมุน
ค. ตดั -ตอ่ กำลังจากทอร์กคอนเวอร์เตอร์
ง. บังคบั ทิศทางการไหลของน้ำมนั
จ. ถูกทุกข้อ

22. ในตำแหน่ง D หรอื 2 (เกียร์ 1) ซนั เกยี ร์จะหมนุ ในลักษณะใด
ก. ซนั เกียร์หน้าหมนุ ตามเข็มนาฬิกาและซันเกยี ร์หลังหมนุ ทวนเขม็ นาฬิกา
ข. ซันเกียร์หน้าหมนุ ทวนเข็มนาฬกิ าและซันเกยี รห์ ลังหมนุ ตามเข็มนาฬิกา
ค. ซันเกยี รห์ น้าหมุนตามเข็มนาฬิกาและซนั เกยี รห์ ลังหมุนตามเข็มนาฬิกา
ง. ซันเกยี รห์ น้าหมุนทวนเข็มนาฬกิ าและซันเกียร์หลงั หมนุ ทวนเข็มนาฬิกา
จ. หมุนไปรอบๆ

23. เมือ่ รถถอยหลัง ตำแหนง่ เกียร์ R เพลารบั กำลังจะหมนุ ในลักษณะใด
ก. หมนุ ไปรอบๆ
ข. หมนุ ตามเขม็ นาฬิกา
ค. หมนุ ทวนเข็มนาฬกิ า
ง. หมุนเร็วขึน้
จ. หมนุ ช้าลง

24. ตำแหน่งคันเกยี ร์ท่ีผู้ขบั ขี่จะใชเ้ ม่อื ต้องการถอยหลงั รถยนต์ คือข้อใด
ก. P (Park)
ข. R (Reverse)
ค. N (Neutral)
ง. D (Drive)
จ. OD (Overdrive)

25. ตำแหนง่ ใด เมื่อมีรถวงิ่ เข้ามาชนท้าย ถ้าไมด่ งึ เบรกมือไวร้ ะบบเกยี รจ์ ะเสยี หาย
ก. P (Park)
ข. R (Reverse)
ค. N (Neutral)
ง. D (Drive)
จ. OD (Overdrive)

26. การทดสอบสตอลล์ ถ้าความเรว็ รอบ D สงู กว่าพิกดั จะเกิดสิง่ ใด
ก. ความดันในระบบตำ่
ข. คลัตช์ทำงานไมด่ ี
ค. คลัตช์เดนิ หนา้ ลน่ื
ง. โอเวอรไ์ ดรฟ์ทำงานไมด่ ี
จ. ถูกทุกข้อ

27. การทดสอบเวลาลา่ ชา้ ควรห่างกันครงั้ ละก่นี าที
ก. 1 นาที
ข. 2 นาที
ค. 3 นาที
ง. 4 นาที
จ. 5 นาที

28. ถา้ ระยะเวลาลา่ ช้าจาก N ไป D มากกว่ากำหนด จะเกิดอย่างไร
ก. คลัตช์เดินหนา้ ปกติ
ข. ความดันนำ้ มนั ในระบบสงู
ค. คลัตช์ทางเดยี วทำงานปกติ
ง. ขอ้ ก. ข. และ ค. ถกู
จ. ไมม่ ีข้อถกู

29. การทดสอบความดนั นำ้ มันในระบบ จะทดสอบทอี่ ุณหภูมิเท่าใด
ก. 30-50 องศาเซลเซียส
ข. 30-50 องศาฟาเรนไฮต์
ค. 50-80 องศาเซลเซียส
ง. 50-80 องศาฟาเรนไฮต์
จ. ไมม่ ีข้อถูก

30. ขณะท่รี ถยนต์กำลังวงิ่ ด้วยความเร็วคงท่ี โดยเกยี ร์อยู่ท่ีตำแหน่ง D เม่ือเหยยี บคันเร่ง อัตราทดเกียรจ์ ะ
ถูกเปลีย่ นลงเป็นเกยี ร์ต่ำ ระบบนี้เรียกวา่ อะไร
ก. Kick-down
ข. Kick-up
ค. Lock-up
ง. Lock-down
จ. ไม่มขี ้อถูก

31. รถยนต์ที่มเี ครอ่ื งยนต์ประเภทใด ไมม่ ีชุดเพลากลาง
ก. รถยนตท์ ่ีมเี คร่ืองยนต์อยดู่ ้านหน้าและขับเคล่อื นล้อหนา้
ข. รถยนตท์ ่มี เี ครื่องยนต์อย่ดู ้านหนา้ และขับเคล่ือนล้อหลัง
ค. รถยนต์ท่มี ีเครื่องยนต์อยู่ด้านหลงั และขับเคลอ่ื นล้อหลัง
ง. ขอ้ ก. และ ข. ถกู
จ. ขอ้ ก. และ ค. ถูก

32. รถยนต์ทีข่ ับเคลื่อนล้อหลงั ขอ้ ต่อและเพลากลางจะทำหนา้ ทใี่ ด
ก. ปรบั ช่วงต่อให้ยดึ และหดลง
ข. เป็นตวั เชือ่ มการสง่ กำลงั
ค. เปน็ เหมอื นหมอนรองรบั หัวกากบาท
ง. ส่งถ่ายแรงขับ
จ. ถูกทกุ ข้อ

33. หนา้ ที่ของข้อตอ่ และเพลา ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง
ก. รบั แรงขับจากกระปุกเกยี ร์
ข. ส่งแรงขับให้ชดุ เฟืองท้าย
ค. ลดแรงกระแทกเพลากำลงั ของเกียร์
ง. รบั แรงขับจากชดุ เฟอื งทา้ ยส่งใหก้ ระปุกเกียร์
จ. ถูกทุกข้อ

34. สง่ แรงขบั จากกระปุกเกียร์ไปยงั เฟืองทา้ ยและล้อหลงั โดยมีเพลากลางเปน็ ตัวรับแรงขบั คือข้อใด
ก. รับแรงขบั จากกระปุกเกยี ร์
ข. สง่ แรงขับใหช้ ดุ เฟืองท้าย
ค. ลดแรงกระแทกเพลากำลงั ของเกียร์
ง. รบั แรงขับจากชดุ เฟอื งทา้ ยสง่ ให้กระปุกเกยี ร์
จ. ถกู ทกุ ข้อ

35. ในการสง่ แรงขับให้ชุดเฟืองทา้ ย ข้อต่อเลื่อนจะทำปฏิกิรยิ าใดต่อเพลากลาง
ก. ปรบั ระยะทาง
ข. ปรบั การเปล่ยี นแปลงมุม
ค. ปรับระยะความยาว
ง. ปรบั ชว่ งตอ่ ใหย้ ึดและหดลง
จ. เปน็ ตวั เชื่อมการสง่ กำลัง

36. ถา้ ความเรว็ ของรถยนตเ์ ร็วกว่าความเรว็ ของเครือ่ งยนต์ จะเปน็ อยา่ งไร
ก. ความดันในระบบต่ำ
ข. คลัตช์ทำงานไมด่ ี
ค. คลัตชเ์ ดินหนา้ ลื่น
ง. เกดิ แรงบิด
จ. เครื่องยนต์ผิดปกติ

37. การแก้ปัญหาทเี่ กิดขน้ึ เมื่อขับรถไปตามถนนท่ีไมเ่ รยี บหรอื เป็นหลมุ เป็นบ่อ จะทำอยา่ งไร
ก. ขอ้ ต่ออ่อนแกเ้ รือ่ งมมุ และขอ้ ต่อเลือ่ นแกป้ ญั หาระยะห่าง
ข. ขอ้ ต่ออ่อนแก้ปัญหาระยะหา่ งและข้อต่อเลื่อนแก้เร่ืองมุม
ค. ข้อต่ออ่อนและขอ้ ต่อเลื่อนแกเ้ รื่องมุม
ง. ขอ้ ตอ่ อ่อนและขอ้ ต่อเลือ่ นแก้ปัญหาระยะห่าง
จ. ไมม่ ขี ้อถูก

38. ขอ้ ใดกลา่ วผิดเกีย่ วกับขอ้ ตอ่ เล่อื น
ก. ประกอบดว้ ยเพลา ข้อต่อเลื่อนและปลอกข้อต่อเลื่อน
ข. ปรบั ช่วงตอ่ ของเพลากลาง
ค. ปรับช่วงสั้นยาวของเพลากลาง
ง. เกิดแรงบิด
จ. รบั แรงบดิ

39. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ประเภทของข้อต่ออ่อน
ก. แบบใช้กับความเร็วคงที่
ข. แบบอ่อน
ค. แบบยางหรือผ้าใบ
ง. แบบสลักกบั ลูกกลง้ิ
จ. แบบกากบาท

40.ขอ้ ต่ออ่อนแบบใด ทำหนา้ ทย่ี ึดติดกับหัวเพลา
ก. แบบใช้กบั ความเร็วคงที่
ข. แบบอ่อน
ค. แบบยางหรอื ผา้ ใบ
ง. แบบสลักกบั ลูกกลง้ิ
จ. แบบกากบาท

41. เป็นการนำเอาข้อตอ่ อ่อนกบั ข้อตอ่ เล่ือนมาต่อรวมกนั คือข้อใด
ก. แบบใช้กับความเรว็ คงท่ี
ข. แบบอ่อน
ค. แบบยางหรอื ผ้าใบ
ง. แบบสลักกับลูกกลิง้
จ. แบบกากบาท

42. ขอ้ ต่ออ่อนแบบใดมคี วามแข็งแรงน้อย และไม่จำเป็นต้องบำรุงรักษา
ก. แบบใช้กับความเร็วคงที่
ข. แบบออ่ น
ค. แบบยางหรอื ผ้าใบ
ง. แบบสลักกบั ลกู กลิ้ง
จ. แบบกากบาท

43. ทำหน้าที่เป็นเหมือนหมอนรองรับหัวกากบาท ไม่ใหส้ ึกหรอ คือข้อใด
ก. ลูกปนื ขอ้ ต่อออ่ น
ข. ข้อต่ออ่อน
ค. เพลากลาง
ง. เพลาทา้ ย
จ. ขอ้ ตอ่ เล่ือน

44. ขอ้ ใดไม่ใช่การทำงานของข้อต่อและเพลากลาง
ก. เพลากลางสง่ ถ่ายแรงบิด จากเพลาส่งกำลังไปยังชดุ เฟืองทา้ ย เพลาทา้ ย และลอ้
ข. ปรบั ระยะและมุมการส่งแรงขบั
ค. ทำให้เพลาตามหมนุ ด้วยความเรว็ ไม่คงที่
ง. ลดแรงเหวยี่ งหนีศูนย์กลางระหว่างเพลาขับและเพลาตาม
จ. ไม่มีข้อใดถูก

45. ถ้าเพลากลางไมส่ มดลุ จะเปน็ อยา่ งไร
ก. เกิดอนั ตราย
ข. เกิดความผิดปกติ
ค. เกดิ การไหล
ง. เกิดความร้อน
จ. ไมเ่ กดิ เหตกุ ารณใ์ ดๆ

46. ส่วนประกอบใด รับแรงบิดทางด้านท้ายรถและผลกั ดนั ใหร้ ถเคล่ือนท่ี
ก. เพลากลาง
ข. เพลาทา้ ย
ค. เพลารอง
ง. เพลากลางแบบท่อแรงบิด
จ. เพลากลางแบบใช้ข้อต่ออ่อน

47. การออกแบบของข้อต่อและเพลากลางจะต้องพิจารณาถงึ สงิ่ ใด
ก. การปรบั ระยะความยาวไม่ได้
ข. ปรบั ระยะความยาวโดยใช้เพลากลาง
ค. ขณะจอดรถมกี ารเปล่ียนแปลงมมุ
ง. การสง่ กำลงั ไปยังเสือ้ เฟอื งทา้ ย
จ. ไม่มีข้อถูก

48. ข้อใดไม่ใช่การถอดเพลากลางรถยนต์
ก. จอดรถ
ข. ยกรถให้สงู
ค. ทำเคร่อื งหมายท่หี น้าแปลน
ง. ถา่ ยน้ำมนั เกียร์ออก
จ. ถอดนอตสกรูหน้าแปลน

49. ข้อใดคือ หนา้ ทขี่ องเฟืองท้าย
ก. การเพ่มิ แรงบดิ เมื่อเรมิ่ ออกรถยนต์
ข. ตัดต่อการถ่ายทอดแรงบิด
ค. ถ่ายทอดกำลงั จากเคร่ืองยนต์ ผา่ นเพลากลางไปยังล้อ
ง. ถา่ ยกำลังจากเคร่ืองยนต์ผ่านเกยี ร์
จ. ปรบั ทิศเพือ่ ลดการสั่นสะเทอื นและลดแรงบดิ ให้กับตัวเพลากลาง

50. จดุ ประสงค์เพอ่ื ให้ล้อขา้ งซา้ ยหรอื ขา้ งขวาหมนุ ดว้ ยความเร็วท่ีแตกต่างกนั คือข้อใด
ก. เฟอื งดอกจอก
ข. เฟืองเดือยหมู
ค. เฟอื งวงแหวน
ง. เฟอื งบายศรี
จ. เฟืองทา้ ย

51. การขบั เคลื่อนล้อหลงั ข้อใดถูกต้อง
ก. เคร่ืองยนต>์ เฟอื งทา้ ย>เพลาทา้ ย>ล้อ
ข. เครื่องยนต์>เพลาท้าย>เฟืองท้าย>ล้อ
ค. เพลาทา้ ย>เฟืองท้าย>เคร่ืองยนต์>ล้อ
ง. เพลาทา้ ย>เฟืองท้าย>ล้อ>เคร่ืองยนต์
จ. เฟืองทา้ ย>เพลาท้าย>ลอ้ >เคร่ืองยนต์

52. เพลาท้ายทน่ี ิยมใชท้ ั่วไป คอื ข้อใด
ก. เสื้อเพลาทา้ ยแบบแบนโจ
ข. เส้ือเพลาทา้ ยแบบแบนใจ
ค. เสอ้ื เพลาท้ายแบบแยกสว่ น
ง. เส้ือเพลาทา้ ยแบบบงั คับ
จ. เส้อื เพลาท้ายแบบอิสระ

53. เพลาท้ายแบบใด ต้องคอยหม่นั ดแู ล ซอ่ มบำรงุ
ก. เสือ้ เพลาท้ายแบบแบนโจ
ข. เส้ือเพลาทา้ ยแบบแบนใจ
ค. เสอื้ เพลาท้ายแบบแยกส่วน
ง. เสอ้ื เพลาท้ายแบบบงั คบั
จ. เสอื้ เพลาท้ายแบบอสิ ระ

54. เฟอื งท้ายลักษณะใด ไม่นิยมใชก้ ับรถยนต์ ในปัจจบุ นั
ก. เฟืองฟนั โค้ง
ข. เฟืองฟันตรง
ค. เฟืองวงแหวน
ง. เฟอื งฟันโคง้ เฉยี ง
จ. เฟืองตัวหนอน

55. ฟันเฟืองท่ีออกแบบมาใช้กบั รถยนต์ที่มีพ้นื ตัวถงั ของรถเต้ยี ลง คอื ข้อใด
ก. เฟอื งฟนั โคง้
ข. เฟืองฟนั ตรง
ค. เฟอื งวงแหวน
ง. เฟืองฟันโค้งเฉียง
จ. เฟืองตัวหนอน

56. ฟนั เฟืองใดท่อี อกแบบนำมาใชก้ บั รถบรรทกุ
ก. เฟืองฟันโคง้
ข. เฟอื งฟนั ตรง
ค. เฟอื งวงแหวน
ง. เฟืองฟันโค้งเฉียง
จ. เฟืองตวั หนอน

57. โดยท่วั ไปเฟืองทา้ ยประกอบดว้ ยสว่ นใด
ก. เฟอื งฟนั โคง้ และเฟอื งฟันโคง้ เฉยี ง
ข. เฟืองขับหรอื เฟืองเดือยหมู
ค. เฟอื งวงแหวนหรือเฟืองตัวหนอน
ง. เฟืองขับหรือเฟอื งตวั หนอน
จ. เฟืองตัวหนอนและเฟืองฟันโคง้ เฉยี ง

58. ขอ้ ใดไม่ใช่เฟืองท้ายแบบจำกัดการลนื่
ก. Planetary Gear
ข. เฟืองดอกจอก 4 ตัว
ค. เพลาจะตดิ ต้ังเป็นรูปกากบาท
ง. ปลายเพลาเปน็ รปู ตวั วี
จ. เพลาดอกจอก 2 อัน

59. ส่วนประกอบของเฟืองท้ายแบบแพลเนตทารเี กียร์ คอื ขอ้ ใด
ก. เฟอื งฟันโค้งและเฟืองวงแหวน
ข. เฟอื งขบั หรอื เฟืองเดือยหมู
ค. เฟอื งขับกับเฟืองวงแหวน
ง. เฟืองขับหรอื เฟืองตวั หนอน
จ. เฟอื งตวั หนอนและเฟอื งฟันโค้งเฉียง

60. เฟอื งท้ายแบบใดเหมาะกับรถยนตท์ ใ่ี ช้พืน้ ทใ่ี นการตดิ ต้ังจำกดั
ก. เฟืองทา้ ยแบบจำกดั การลนื่
ข. เฟืองทา้ ยแบบแพลเนตทารเี กยี ร์
ค. เฟืองท้ายแบบใช้เฟืองทดรอบสองขัน้ และสองความเร็ว
ง. เฟืองท้ายแบบกระปุกเกียร์ร่วมกบั เฟืองท้าย
จ. ถูกทุกข้อ

61. ทำหน้าทีถ่ ่ายทอดกำลงั งานของเครื่องยนตใ์ หเ้ ปล่ียนทิศทาง คือชุดเฟืองใด
ก. เฟืองเดือยหมู
ข. เฟืองวงแหวน
ค. ชุดเฟืองดอกจอก
ง. เสือ้ เฟืองดอกจอก
จ. เฟอื งเพลาขับลอ้

62. ขอ้ ใดไม่ใช่สว่ นประกอบการทำงานของเฟืองท้าย
ก. เฟืองเดอื ยหมู
ข. เฟืองวงแหวน
ค. ชุดเฟืองดอกจอก
ง. เฟืองตัวหนอน
จ. เฟอื งเพลาขับล้อ

63. เพลาขับ (Driveshaft) หมายถงึ ข้อใด
ก. เพลาขบั ล้อหน้าหรือลอ้ หลังรถยนต์
ข. เพลาขบั ของรถยนต์
ค. เพลาขับเดนิ หน้าหรือถอยหลังรถยนต์
ง. เพลาขบั กลางรถยนต์
จ. ไม่มีข้อใดถูก

64. ข้อใดคอื หนา้ ท่เี พลาขบั ล้อหน้า
ก. สง่ ถา่ ยกำลังขับจากชดุ เฟืองเดือยหมูไปยงั เพลาขับล้อ
ข. ส่งถา่ ยกำลงั ขับจากชุดเฟืองวงแหวนไปยงั เพลาขับล้อ
ค. สง่ ถา่ ยกำลงั ขบั จากชุดเฟืองตวั หนอนไปยังเพลาขับล้อ
ง. สง่ ถ่ายกำลงั ขบั จากชดุ เฟืองเพลาขบั ล้อไปยังเพลาขับล้อ
จ. ส่งถ่ายกำลงั ขับจากชุดเฟืองดอกจอกไปยงั เพลาขบั ล้อ

65. การหมุนแบบใด เป็นการส่งถา่ ยกำลงั ทางตรง
ก. เพลาขบั กบั เพลาตามหมนุ คงท่ี
ข. เพลาขับกับเพลาตามหมนุ ไมค่ งที่
ค. เพลาขับกบั เพลาตามไม่หมุนในศนู ยเ์ ดียวกนั
ง. มุมขอ้ ต่อเพลาเปลีย่ นทิศทาง
จ. ไมม่ ีข้อใดถูก

66. ข้อใดไมใ่ ชห่ นา้ ทเ่ี พลาขับลอ้ หลัง
ก. เปน็ ท่ยี ึดติดลอ้ หนา้
ข. เปน็ ท่ยี ดึ ตดิ ลอ้ หลงั
ค. สง่ ถ่ายกำลงั การขับเคล่ือนผา่ นแหนบและโครงรถ
ง. ใช้เสอ้ื เพลารองรับน้าหนักรถ
จ. ขบั เคลือ่ นล้อหลงั ด้วยความเรว็ เทา่ กนั หรอื ตา่ งกัน

67. ขอ้ ใดกลา่ วผิด เกยี่ วกบั ลักษณะการขบั เคล่ือนเพลาขบั ล้อหลัง
ก. เพลาแขง็ แบบเพลากลางมีข้อต่ออ่อน
ข. เพลาแข็งแบบเพลากลางเปน็ ทอ่ แรงบิด
ค. เสื้อเพลามจี ุดหมนุ ด้านในข้างเดียว
ง. เสื้อเพลามจี ุดหมุนดา้ นใน 2 ข้าง
จ. เพลาแบบอิสระ 3 ขา้ ง

68. เพลาขับล้อหลังในข้อใด มักนยิ มใช้ มีความแข็งแรง ทนทาน และไม่ต้องบำรงุ รักษามาก
ก. เพลาแข็งแบบเพลากลางมีข้อต่ออ่อน
ข. เพลาแข็งแบบเพลากลางเป็นทอ่ แรงบิด
ค. เสื้อเพลามีจดุ หมุนด้านในข้างเดียว
ง. เส้ือเพลามีจุดหมุนดา้ นใน 2 ขา้ ง
จ. เพลาแบบอสิ ระ 2 ข้าง

69. เพลาขบั ลอ้ หลงั ลักษณะใด มขี ้อเสียคือขอบยางของรถสกึ และข้อดีคือยึดเกาะถนนได้ดี
ก. เพลาแข็งแบบเพลากลางมีขอ้ ต่ออ่อน
ข. เพลาแขง็ แบบเพลากลางเปน็ ท่อแรงบิด
ค. เส้ือเพลามีจุดหมนุ ด้านในข้างเดยี ว
ง. เส้ือเพลามีจุดหมนุ ดา้ นใน 2 ข้าง
จ. เพลาแบบอิสระ 2 ข้าง

70. ประเภทเพลาขับลอ้ หลงั ยกเวน้ ขอ้ ใด
ก. เพลาจม
ข. เพลาด่ิง
ค. เพลาก่งึ ลอย
ง. เพลาลอยสามในส่ี
จ. เพลาลอย

71. เปน็ แบบทีน่ ิยมทง้ั รถนั่งและรถบรรทกุ เลก็ เพราะมีความคงทน คือคำกล่าวข้อใด
ก. เพลาจม
ข. เพลาดิง่
ค. เพลากึ่งลอย
ง. เพลาลอยสามในส่ี
จ. เพลาลอย

72. เพลาขบั ล้อหลังประเภทใด ไมน่ ยิ มใชใ้ นปจั จบุ นั
ก. เพลาจม
ข. เพลาด่งิ
ค. เพลากง่ึ ลอย
ง. เพลาลอยสามในสี่
จ. เพลาลอย

73. ขอ้ ดีการขับเคลื่อนแบบ 4 ลอ้ ของรถบรรทุก คือข้อใด
ก. กำลังจากเครื่องยนตจ์ ะถูกส่งไปยังล้อทั้ง 4
ข. สามารถขบั ข้นึ ที่สงู ชนั ได้
ค. สามารถขบั ในพ้ืนท่ีทรุ กันดาร ถนนทีล่ ื่นได้ไม่ลำบาก
ง. การยดึ เกาะถนนดี
จ. ขาดความนิม่ นวล

74. รถขับเคลื่อน 4 ลอ้ แตกต่างจากรถขับเคล่ือน 2 ล้อ ยกเวน้ ข้อใด
ก. มรี ะยะพ้ืนของรถตำ่ กว่า
ข. ความกว้างลอ้ คูห่ นา้ และล้อคูห่ ลังน้อยกว่า
ค. การบังคับพวงมาลัยสะดวกกว่า
ง. จุดศนู ยถ์ ว่ งของรถสงู กว่า
จ. สามารถใชไ้ ด้ดีในสภาพถนนทีข่ รุขระ ทรุ กนั ดาร

75. การทำงานตำแหน่งใดไม่มีการสง่ ถา่ ยกำลงั
ก. ตำแหน่งขับ 2 ล้อความเรว็ สูง
ข. ตำแหนง่ ขบั 4 ลอ้ ความเรว็ สูง
ค. ตำแหน่งเกยี ร์ว่าง
ง. ตำแหนง่ ขับ 4 ลอ้ ความเร็วตำ่
จ. ตำแหน่งขบั 2 ล้อความเร็วต่ำ

76. การใชช้ ุดหัวดมุ ลอ้ ธรรมดา ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ขบั เคลือ่ น 2 ล้อหลังให้หมุนดมุ ไปท่ีตำแหนง่ Free
ข. ขบั เคลื่อน 4 ลอ้ ให้หมุนดุมไปยงั ตำแหน่ง Lock
ค. ตัดกำลังไม่ใหเ้ พลาหน้าหมุนในกรณขี ับเคล่อื น 2 ล้อหลงั
ง. อยา่ ขับเคลื่อนรถขณะดุมล้อ Lock ข้างเดยี ว
จ. ไมต่ อ้ งปรบั ดุมลอ้ ให้เคร่ืองหมายตรงกนั เสมอ

77. สำหรบั การขบั ขี่ทว่ั ไป บนสภาพพน้ื ผวิ ถนนทีแ่ หง้ เรยี บ จะใชเ้ กยี รใ์ ด
ก. 2H
ข. 4H
ค. 2L
ง. 4L
จ. 2R

78. การขบั ขีเ่ กียรใ์ ด ควรใชค้ วามเรว็ ได้ไมเ่ กิน 80 กม./ชม.
ก. 2H
ข. 4H
ค. 2L
ง. 4L
จ. ไมม่ ขี ้อถูก

79. การขบั ข่เี กยี ร์ใด ใชข้ ับตามภูเขาท่ีลาดชัน ความเร็วสงู สุดไม่ควรเกนิ 40 กม./ชม.
ก. 2H
ข. 4H
ค. 2L
ง. 4L
จ. ไมม่ ขี ้อถูก

80. ข้อใดคือคำอธิบายของรปู ภาพดังต่อไปนี้

.

ก. ถอดอปุ กรณ์ภายในกา้ มปูเขา้ เกียร์ออกโดยใช้คมี ถอดแหวนลอ็ ก
ข. ถอดก้ามปแู ยกจากแกนก้ามปู โดยใช้เหลก็ สง่ ตอกออก
ค. ถอดแยกอปุ กรณภ์ ายในก้ามปเู ข้าเกยี รอ์ อก
ง. ถอดก้ามปูเขา้ เกยี ร์ออกพร้อมกับชุดเกยี ร์
จ. ถอดกา้ มปูเลอ่ื นเข้าเกยี ร์ชนิดขบั 4 ลอ้ ออก โดยเอาสลักและลูกปืนออก
81. รถยนต์ขบั เคลื่อน 4 ลอ้ ถูกออกแบบใช้กับขอ้ ใด
ก. ถนนท่ที ุรกันดาร
ข. ถนนพน้ื เรียบ
ค. ถนนทรี่ ถวง่ิ ดว้ ยความเรว็ สูง
ง. ถนนโดยท่วั ไป
จ. ถกู ทุกข้อ
82. ในตำแหนง่ ขบั 2 ล้อความเร็วสงู อัตราทดเทา่ กับเท่าใด
ก. 1:1
ข. 1:2
ค. 2:1
ง. 2:2
จ. ไมม่ ขี ้อถูก

83. วธิ กี ารลอ็ กดุมล้อ คนั เกียรร์ ะบบการขบั เคล่ือนจะอย่ใู นตำแหนง่ ใด
ก. ตำแหน่ง 1H ไปยงั ตำแหน่ง 2H
ข. ตำแหนง่ 2H ไปยังตำแหน่ง 3H
ค. ตำแหนง่ 2H ไปยังตำแหนง่ 4H
ง. ตำแหน่ง 3H ไปยังตำแหน่ง 4H
จ. ไม่มีข้อถกู

84. คลตั ชใ์ นระบบส่งกำลงั เมือ่ ใชไ้ ประยะหนงึ่ จะเกดิ ส่ิงใด
ก. สึกหรอ
ข. การเข้าเกยี ร์ไมส่ ะดวก
ค. คลตั ชล์ ่ืน
ง. เคร่อื งยนต์ไม่มีกำลงั
จ. ถกู ทกุ ข้อ

85. สาเหตุทคี่ ลตั ช์ลื่น ขอ้ ใดกล่าวผดิ
ก. แผน่ คลัตชส์ ึกหรอ
ข. แผ่นคลัตชเ์ ป้อื นนำ้ มัน
ค. ระยะฟรคี ลตั ชเ์ พียงพอ
ง. จานกดคลัตชบ์ กพร่อง
จ. กา้ มปคู ลัตช์ตดิ ขดั

86. การแก้ไขคลัตชล์ ่นื ไมค่ วรทำอย่างไร
ก. ตรวจสอบแผน่ คลัตช์
ข. ปรับตง้ั ระยะฟรี
ค. เปล่ียนจานกดคลัตช์
ง. ตรวจสอบก้ามปกู ดคลัตช์
จ. เปล่ยี นลูกปืนปลายเกยี ร์

87. สาเหตุท่ีเขา้ เกียร์ยากหรือเข้าเกียร์ไมไ่ ด้ คอื ขอ้ ใด
ก. ระยะฟรเี ปน็ คลตั ช์มากเกนิ ไป
ข. แผน่ คลตั ช์ไมไ่ ด้ศนู ย์
ค. จานกดคลตั ช์บกพรอ่ ง
ง. มีลมในระบบคลัตช์
จ. ถกู ทกุ ข้อ

88. น้ำมันทใี่ ชใ้ นการหลอ่ ล่ืน จะต้องอยู่ในระดับความสูงปริมาณเท่าใด
ก. ประมาณ 3 มลิ ลิเมตร
ข. ประมาณ 4 มิลลเิ มตร
ค. ประมาณ 5 มลิ ลเิ มตร
ง. ประมาณ 6 มลิ ลิเมตร
จ. ถกู ทกุ ข้อ

89. รถยนต์ไม่เคลือ่ นท่ี เกดิ จากสิง่ ต่อไปน้ี ยกเวน้ ข้อใด
ก. แผน่ ขบั ทอร์กคอนเวอร์เตอรแ์ ตก
ข. แพลเนตทารีบกพร่อง
ค. กระเด่ืองลอ็ กเกียรจ์ อดบกพร่อง
ง. ปรับตง้ั สายคันเกยี รไ์ ม่ถูกต้อง
จ. ชุดสง่ กำลงั บกพร่อง

90. ขอ้ ต่ออ่อนและเพลากลาง เสียงผิดปกติเกดิ จากสง่ิ ใด
ก. โบลต์ยึดหนา้ แปลนหลุดหลวม
ข. ร่องเฟืองบนเพลาสกึ หรอ
ค. เกิดการชำรดุ สกึ หรอของลูกปนื เข็มข้อต่อออ่ น
ง. เกิดการสกึ หรอของแป้นรบั ลกู ปนื กึง่ กลางเพลา
จ. ถูกทกุ ข้อ

91. การอดั จาระบขี องเพลากลาง ขอ้ ต่ออ่อนและข้อต่อเล่ือนไดร้ บั แรงบดิ จากการสง่ ถ่ายกำลงั ไปยงั ส่วนใด
ก. เฟืองเดือยหมู
ข. เฟอื งวงแหวน
ค. ชุดเฟืองดอกจอก
ง. เฟืองท้าย
จ. เฟอื งเพลาขับล้อ

92. สาเหตุทเ่ี ฟืองทา้ ยเกิดเสียงผดิ ปกติ ยกเว้นข้อใด
ก. ใช้นำ้ มนั ผิดเบอร์
ข. ความร้อนสูง
ค. น้ำมันเฟืองท้ายไมเ่ พียงพอ
ง. ฟนั เฟืองสมั ผัสกนั ไม่ดี
จ. เฟอื งท้ายแตก, สกึ หรอ

93. อาการกระชากขณะเปลี่ยนเกยี รต์ ่ำ สาเหตุไมไ่ ด้เกดิ จากอะไร
ก. เรอื นลน้ิ บกพร่อง
ข. ลกู สูบแอกควิ มเู ลเตอรบ์ กพรอ่ ง
ค. ใช้นำ้ มันผดิ เบอร์
ง. ปรบั ต้ังสายลิ้นเรง่ ไม่ถูกต้อง
จ. ชุดสง่ กำลงั บกพรอ่ ง

94. การแก้ปัญหาอาการกระชากขณะเปลีย่ นเกยี รต์ ำ่ ควรทำอยา่ งไรในลำดับแรก
ก. ตรวจสอบลกู สบู แอกควิ มูเลเตอร์
ข. ปรบั ตัง้ สายล้ินเรง่
ค. ตรวจสอบเรอื นลิ้น
ง. ถอดแยกและตรวจสอบชดุ สง่ กำลงั
จ. ไม่มขี ้อถูก

95. ข้อใดไมใ่ ช่สาเหตุการโกง่ งอแกว่งตวั ของขอ้ ต่อออ่ น
ก. ประกอบข้อตอ่ เล่ือน (กากบาท) ผิด
ข. แป้นยดึ ลูกปืนก่งึ กลางเพลาหลดุ หลวม
ค. เพลากลางคดโก่ง
ง. ลูกปนื รับกึ่งกลางเพลาชารุดสึกหรอ
จ. รอ่ งเฟอื งบนเพลาสึกหรอ

96. ในงานตรวจซ่อมเครื่องยนต์ การล้างคาร์บเู รเตอร์เครื่องยนต์ 1,000, 1,200, 1,300 ซซี ี ราคาซ่อมจะอยทู่ ี่
ราคาเทา่ ใด
ก. 50 บาท
ข. 60 บาท
ค. 70 บาท
ง. 80 บาท
จ. 90 บาท

97. การตง้ั ระยะคลัตช์ ราคาซอ่ มจะอยู่ท่เี ทา่ ใด
ก. 30 บาท
ข. 40 บาท
ค. 35 บาท
ง. 45 บาท
จ. ไม่มขี ้อถกู

98. ราคาแรงงาน หมายถึงข้อใด
ก. ราคาทร่ี ับจากลูกคา้
ข. ราคาคา่ แรงของช่างในการที่ปฏบิ ตั ิ
ค. คา่ วสั ดสุ ิ้นเปลอื งต่างๆ
ง. คา่ อะไหล่ทง้ั หมดท่ีใช้ในการเปลยี่ น
จ. ถูกทกุ ข้อ

99. หลกั การการประมาณราคาช่างยนต์ คอื ข้อใด
ก. การรับงานและตรวจสภาพ
ข. การเขียนใบส่งั งาน
ค. การกำหนดราคา
ง. การกำหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน
จ. ถูกทกุ ข้อ

100. ขอ้ ใดไม่ใช่การตรวจรถยนตส์ ภาพปกติ
ก. การตรวจตามระยะเวลา
ข. การตรวจตามระยะทาง
ค. การตรวจสภาพก่อนเดนิ ทางไกล
ง. การกำหนดเวลาแล้วเสรจ็ ของงาน
จ. การตรวจสภาพกอ่ นการซื้อขายรถยนต์

เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 2

วิชางานสง่ กำลังรถยนต์รหสั 20101-2004

ขอ้ ท่ี เฉลย

1 ตอบ ค. แรงบิดลดและความเรว็ เพ่ิม
เพราะ ถ้าเฟืองตวั ใหญ่ขบั เฟืองตัวเลก็ กวา่ จะให้ผลตรงกันข้าม คอื แรงบดิ จะลดแต่ความเร็วเพิม่ ข้ึน

2 ตอบ ก. เกียรเ์ ปลย่ี นความเรว็ รอบทสี่ ่งออกให้สูงขึน้
เพราะ เกียรโ์ อเวอร์ไดรฟ์ หมายถงึ เกียร์เปลี่ยนความเรว็ รอบท่ีสง่ ออกให้สูงขึ้น

3 ตอบ จ. เกียร์ 5
เพราะ เกียร์ 5 ความเร็ว เฟืองซิงโครเมช เกียร์ 5 เปน็ โอเวอรไ์ ดรฟ์

4 ตอบ จ. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก
เพราะ ชุดโอเวอร์ไดรฟ์มีส่วนประกอบ ท่ีสำคัญ 3 สว่ น คือ เฟอื งแพลเนตทารี ชุดฟรวี ิลลงิ โอเวอร์
ไดรฟ์ และวงจรควบคมุ โอเวอรไ์ ดรฟ์

5 ตอบ ก. เฟืองตวั ท้าย
เพราะ ส่วนประกอบของชดุ เกยี รแ์ พลเนตทารี มดี ังนี้
1. เฟอื งตวั กลาง
2. เฟืองบรวิ าร
3. โครงเฟืองแพลเนต
4. เฟอื งวงแหวน

6 ตอบ ก. Sun Gear
เพราะ เฟืองตัวกลาง คือ Sun Gear

7 ตอบ จ. Gear Oil
เพราะ Gear Oil คอื นำ้ มันเกียร์

8 ตอบ ค. 2-4 ตวั
เพราะ เฟืองบริวาร เปน็ เฟืองที่มฟี ันขบอยรู่ อบนอกของเฟืองกลาง ในชุดหนึง่ ๆ จะมเี ฟืองแพลเนต
2-4 ตวั

9 ตอบ ง. โครงเฟืองแพลเนต
เพราะ โครงเฟืองแพลเนต เป็นฐานหรือเรือนยดึ ของกลุ่มเฟืองแพลเนต ทำหน้าทีร่ ับหรือส่งกำลัง
ออก

10 ตอบ จ. เฟอื งวงแหวน
เพราะ เฟืองวงแหวน ทำหน้าทร่ี ับกำลังเข้าหรือส่งกำลงั ออกตามความตอ้ งการใช้ เฟืองวงแหวนอยู่
นอกสุดของระบบ

11 ตอบ ก. ล็อกเฟืองกลางหรือเฟอื งวงแหวนให้อยกู่ ับท่ี
เพราะ การทำงานของชุดแพลเนตทารีเกยี ร์ การเพมิ่ ความเรว็ กระทำโดยการล็อกเฟอื งกลางหรือ
เฟืองวงแหวนใหอ้ ยู่กบั ท่ี

12 ตอบ ข. เฟืองแพลเนตเปน็ ตัวขบั ในทิศทางทวนเขม็ นาฬิกา
เพราะ การเพ่ิมความเรว็ กระทำไดโ้ ดยการล็อกเฟืองกลางหรือเฟืองวงแหวนให้อยกู่ บั ที่ ตัวเรอื น
เฟอื งแพลเนตเป็นตัวขับในทิศทางตามเขม็ นาฬิกา

ข้อที่ เฉลย

13 ตอบ จ. ไมม่ ีข้อถูก
เพราะ การทำงานของชดุ แพลเนตทารเี กยี ร์ มลี กั ษณะการทางานดังน้ี
การเพิ่มความเร็ว การลดความเรว็ การหมนุ ถอยกลบั และการขับตำแหนง่ ตรง

14 ตอบ ข. Centrifugal Clutch
เพราะ Centrifugal Clutch เปน็ คลตั ชแ์ บบแรงเหวีย่ ง

15 ตอบ ค. เขา้ เกยี รโ์ อเวอร์ไดรฟ์เรว็
เพราะ การใชเ้ ฟืองแพลเนตทารเี ปน็ โอเวอร์ไดรฟ์ เนอื่ งจากการเข้าเกยี รโ์ อเวอร์ไดรฟ์งา่ ย เพยี งลอ็ ก
เฟืองกลางให้อยกู่ ับทโ่ี ดยไม่ต้องเหยยี บคลตั ช์ ทำใหส้ ะดวกและเบาแรงในการใชร้ ถยนต์

16 ตอบ ข. ผขู้ บั ข่ีต้องเหยียบคลตั ช์เปล่ียนเกียร์บอ่ ยคร้งั
เพราะ ถา้ ใช้เกยี ร์ธรรมดาผขู้ ับขต่ี ้องเหยียบคลตั ชเ์ ปลี่ยนเกียรบ์ ่อยครง้ั

17 ตอบ ข. ทอร์กคอนเวอรเ์ ตอร์
เพราะ ทอร์กคอนเวอร์เตอร์ เปน็ ชิน้ ส่วนในระบบส่งกำลังอัตโนมัติ ทำหน้าท่ีเป็นคลตั ช์ไฮดรอลิก
สำหรับถา่ ยทอดและเพม่ิ การบดิ ของเพลาข้อเหวี่ยงจากเคร่ืองยนต์ ช่วยใหก้ ารถ่ายทอดกำลงั เป็นไป
อยา่ งนม่ิ นวล

18 ตอบ ค. สเตเตอร์
เพราะ สเตเตอร์ เป็นลอ้ ใบพัดอยรู่ ะหว่างอมิ เพลเลอร์กับเทอร์ไบน์ ทำหน้าท่เี ปน็ ตวั บงั คบั ทิศทาง
นำ้ มันทีไ่ หลจากเทอร์ไบน์ไปยังอิมเพลเลอร์

19 ตอบ ค. เฟืองกลางตวั เลก็ หรือตวั แรกเป็นตัวขับถอยหลงั
เพราะ เฟืองกลางตวั เลก็ หรือตัวแรกเปน็ ตัวขบั เดินหนา้

20 ตอบ ค. ชุดคลตั ช์ขับเดินหนา้
เพราะ ชุดคลตั ชข์ บั เดนิ หนา้ (Front Clutch) ทำหนา้ ทีต่ ดั -ตอ่ กำลังจากทอรก์ คอนเวอร์เตอร์ ใหส้ ง่
กำลังขับไปยังเฟืองกลาง (ตัวเลก็ ) สำหรับเกยี ร์เดินหนา้

21 ตอบ ก. เปลย่ี นแปลงภาระงานของเครือ่ งยนต์
เพราะ ระบบควบคุมไฮดรอลิก ทำหนา้ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงภาระงานของเครื่องยนตแ์ ละแรงดันไฮดรอ
ลิก ตามความเร็วของรถ

22 ตอบ ก. ซันเกียร์หน้าหมุนตามเขม็ นาฬิกาและซนั เกียร์หลงั หมุนทวนเข็มนาฬิกา
เพราะ การทำงานตำแหนง่ D หรอื 2 (เกียร์ 1) คลตั ชห์ นา้ จะทำงานในตำแหนง่ เกียร์ 1 เพลารบั
กำลงั จะหมนุ สง่ กำลังไปยังริงเกยี รข์ องชุดแพลเนตทารเี กียร์หน้าใหห้ มุนไปรอบๆ ซันเกียร์ตามเข็ม
นาฬกิ า ทำให้ซนั เกียร์หลงั หมุนทวนเขม็ นาฬิกา

23 ตอบ ข. หมุนตามเข็มนาฬกิ า
เพราะ ตำแหน่งเกยี ร์ R เมอ่ื รถถอยหลังคลัตชห์ ลังจะทำงาน เพลารับกำลงั จะหมุนตามเข็มนาฬิกา
ส่งกำลังไปยงั ซนั เกียร์หน้าและหลงั ใหห้ มนุ ตามเข็มนาฬิกา

24 ตอบ ข. R (Reverse)
เพราะ R (Reverse) เปน็ ตำแหนง่ ที่ผขู้ ับขจี่ ะใชเ้ มื่อต้องการถอยหลงั รถยนต์

25 ตอบ ก. P (Park)
เพราะ ถ้าเขา้ เกียร์ตำแหนง่ P โดยไม่ดึงเบรกมอื ไว้ เมอื่ มีรถว่ิงเข้ามาชนท้ายระบบเกียร์จะเสยี หาย
ได้

ข้อที่ เฉลย

26 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
เพราะ ถ้าความเรว็ รอบ D สงู กว่าพิกดั แสดงวา่ ความดนั ในระบบต่ำ คลตั ช์เดินหน้าลน่ื และคลัตช์
ทางเดียวโอเวอร์ไดรฟ์ ทำงานไมด่ ี

27 ตอบ ก. 1 นาที
เพราะ การทดสอบเวลาลา่ ชา้ ใหท้ ดสอบขณะเครื่องรอ้ นหาค่าเฉลย่ี จากการทดสอบ 3 ครั้ง ควร
ห่างกันครง้ั ละ 1 นาที

28 ตอบ จ. ไม่มีขอ้ ถูก
เพราะ ถา้ ระยะเวลาล่าชา้ จาก N ไป D มากกว่ากำหนด แสดงว่าความดันนำ้ มันในระบบต่ำ คลตั ช์
เดินหน้าเกิดการสกึ หรอ คลตั ชท์ างเดียวทำงานไมป่ กติ

29 ตอบ ค. 50-80 องศาเซลเซยี ส
เพราะ การทดสอบความดนั น้ำมันในระบบ จะทดสอบที่อณุ หภูมทิ ำงานปกติ ท่ีอุณหภูมิ 50-80
องศาเซลเซยี ส

30 ตอบ ก. Kick-down
เพราะ ขณะทีร่ ถยนต์กำลังวง่ิ ดว้ ยความเรว็ คงท่ี โดยเกยี ร์อยูท่ ตี่ ำแหน่ง D น้นั เม่ือเหยยี บคนั เร่งลง
อย่างทันทเี พยี งคร้ังเดียว อัตราทดเกียร์จะถูกเปล่ยี นลงเปน็ เกียร์ตำ่ กว่าโดยอัตโนมัติ ระบบน้ี
เรียกว่า คิกดาวน์ (Kick-down)

31 ตอบ จ. ข้อ ก. และ ค. ถกู
เพราะ รถยนต์ทีม่ ีเคร่ืองยนต์อยดู่ ้านหน้าและขบั เคลอ่ื นลอ้ หนา้ หรือรถยนต์ท่เี คร่ืองยนต์อยู่
ดา้ นหลงั ขบั เคลื่อนล้อหลงั จะไมม่ ชี ดุ เพลากลาง

32 ตอบ ง. สง่ ถา่ ยแรงขับ
เพราะ ขอ้ ต่อและเพลากลางทำหนา้ ทีส่ ่งถา่ ยแรงขบั (แรงบดิ และอาการหมุน)

33 ตอบ จ. ถกู ทุกข้อ
เพราะ หน้าท่ขี องข้อต่อและเพลา คือ รบั แรงขับจากกระปุกเกยี ร,์ ส่งแรงขบั ใหช้ ุดเฟืองทา้ ย, ลด
แรงกระแทกเพลากำลังของเกียร์และ รบั แรงขับจากชดุ เฟืองทา้ ยส่งใหก้ ระปกุ เกยี ร์

34 ตอบ ก. รับแรงขบั จากกระปุกเกียร์
เพราะ รบั แรงขับจากกระปุกเกียร์ รถยนตท์ ่มี ีเครอ่ื งยนตอ์ ยู่ดา้ นหน้าจะสง่ แรงขบั จากกระปุกเกียร์
ไปยังเฟืองทา้ ยและล้อหลงั โดยมเี พลากลางเปน็ ตวั รบั แรงขับ

35 ตอบ ค. ปรับระยะความยาว
เพราะ ขอ้ ต่อเลอื่ นเป็นตัวปรบั ระยะความยาวของเพลากลาง

36 ตอบ ง. เกดิ แรงบิด
เพราะ ถา้ ความเรว็ ของรถเร็วกว่าความเรว็ ของเครื่องยนตน์ ั้น ทำให้เกดิ แรงบดิ ข้นึ ทเี่ พลากลาง

37 ตอบ ก. ขอ้ ต่อออ่ นแก้เร่ืองมุมและข้อต่อเลอื่ นแกป้ ญั หาระยะหา่ ง
เพราะ ขณะขับไปตามสภาพพืน้ ผิวถนนทีไ่ ม่เรียบหรือเปน็ หลมุ เป็นบ่อ จะทำให้ล้อหลงั เตน้ ข้นึ ลง
ทำใหม้ มุ การส่งแรงขับระหว่างเพลาส่งกำลงั ของกระปุกเกยี ร์กับเพลากลางเปลยี่ นไป คือทำให้
ระยะห่างระหว่างกระปุกเกียร์กับชดุ เฟืองท้ายเปลยี่ นไปจากการเคลอ่ื นทีข่ ้นึ ลง ดงั นัน้ การแกป้ ัญหา
ท่ีเกิดขึ้นจึงนำเอาข้อต่อออ่ น มาแก้ปญั หาเรอ่ื งมุม และการนำเอาข้อต่อเลอ่ื น มาแก้ปัญหา
ระยะห่างทเี่ ปล่ยี นไปของเพลากลาง

ข้อท่ี เฉลย

38 ตอบ ง. เกิดแรงบิด
เพราะ ขอ้ ต่อเลือ่ น ประกอบด้วยเพลา ขอ้ ต่อเลอื่ นและปลอกข้อต่อเล่อื น ทำหนา้ ท่ปี รับชว่ งตอ่ ของ
เพลากลางใหย้ ึดและหดระยะลง โดยจะทำการหมนุ สง่ กำลังของเพลากลางรับแรงบดิ และปรับช่วง
ส้นั ยาวของเพลากลางตามความเหมาะสม

39 ตอบ ข. แบบอ่อน
เพราะ ข้อต่ออ่อนแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. แบบกากบาท
2. แบบสลกั กับลูกกลงิ้
3. แบบยางหรอื ผ้าใบ
4. แบบใชก้ ับความเร็วคงท่ี

40 ตอบ จ. แบบกากบาท
เพราะ แบบกากบาท เป็นข้อตอ่ อ่อนที่มีใช้กบั รถยนตโ์ ดยท่ัวๆ ไป ทำหน้าท่ยี ึดตดิ กับหวั เพลา

41 ตอบ ง. แบบสลกั กับลูกกลิ้ง
เพราะ แบบสลักกบั ลูกกลิง้ เปน็ ขอ้ ต่ออ่อนแบบทน่ี ำเอาข้อตอ่ อ่อนกับขอ้ ตอ่ เลื่อนมาต่อรวมกัน โดย
มสี ลกั ตอ่ ที่ปลายเพลากลาง

42 ตอบ ค. แบบยางหรือผ้าใบ
เพราะ ข้อต่อแบบนจี้ ะมีตำแหน่งผ้าใบเคลอื บด้วยยางหรือแท่งยาง ข้อต่อแบบน้มี ีความ

แข็งแรงน้อย แตท่ ำงานไดอ้ ย่างราบเรียบโดยไม่ต้องมีการหล่อลน่ื จงึ ไมจ่ ำเป็นต้องมีการบำรงุ รักษา
43 ตอบ ก. ลกู ปืนข้อต่ออ่อน

เพราะ ลกู ปนื ขอ้ ต่ออ่อน เปน็ เข็มซ่งึ จะอยู่ทกี่ รอบของตวั ลกู ปืนกับหวั ต่อของกากบาท โดยมี
จาระบีช่วยในการหล่อล่นื ทำหนา้ ที่เปน็ เหมือนหมอนรองรบั หวั กากบาทไม่ใหส้ ึกหรอเวลาทำงาน
เคลือ่ นตัวไปมา
44 ตอบ จ. ไมม่ ีข้อใดถกู
เพราะ การทำงานของข้อต่อและเพลากลาง มีดงั นี้
1. เพลากลางส่งถ่ายแรงบดิ จากเพลาส่งกำลงั ไปยังชุดเฟืองท้าย เพลาทา้ ย และลอ้ ตามลาดับ
2. ปรับระยะและมุมการส่งแรงขับเมื่อล้อหลงั เต้นข้ึนลงตามสภาพผวิ ถนน
3. ทำให้เพลาตามหมนุ ด้วยความเร็วไม่คงที่ ทัง้ ที่มคี วามเร็วของเพลาขับเป็นไปอยา่ งสม่ำเสมอ
4. ลดแรงเหวีย่ งหนีศูนยก์ ลางระหว่างเพลาขับและเพลาตาม
45 ตอบ ก. เกิดอันตราย
เพราะ เพลากลางส่งกำลงั ด้วยความเร็วรอบสงู ถ้าเพลากลางไม่สมดลุ จะก่อใหเ้ กิดอันตราย และทำ
ให้เกิดเสียงดงั
46 ตอบ ง. เพลากลางแบบท่อแรงบิด
เพราะ เพลากลางแบบนี้ จะรับแรงบิดทางด้านท้ายรถและผลักดนั ให้รถเคล่ือนที่ โดยผา่ นทาง
กะโหลกท่ียึดติดกับโครงรถ
47 ตอบง. การส่งกำลงั ไปยังเส้ือเฟืองทา้ ย
เพราะ การออกแบบของข้อต่อและเพลากลางจะต้องพจิ ารณาการส่งกำลังไปยังเสอื้ เฟอื งท้าย
จะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งสมำ่ เสมอ มกี ารเปลยี่ นแปลงมมุ ของเพลากลางได้ถูกต้องขณะท่ลี อ้ ส่งกำลงั เกิด
การเตน้ และการปรับระยะความยาวของเพลากลาง โดยมขี ้อต่ออ่อนและขอ้ ต่อเลื่อนเปน็ ตวั ทำงาน

ขอ้ ท่ี เฉลย

48 ตอบ ก. จอดรถ
เพราะ การจอดรถไมใ่ ช่การถอดเพลากลาง

49 ตอบ ค. ถา่ ยทอดกำลังจากเครอ่ื งยนต์ ผา่ นเพลากลางไปยังล้อ
เพราะ เป็นชุดเฟอื งที่อย่ใู นเสื้อเพลาหลังหรือใกล้ห้องสง่ กำลงั ของรถยนต์ท่ขี ับเคลอื่ นล้อหนา้ ทำ
หนา้ ทถ่ี า่ ยทอดกำลังจากเคร่ืองยนต์ ผ่านเพลากลางไปยงั ล้อ

50 ตอบ จ. เฟืองทา้ ย
เพราะ จดุ ประสงค์ของเฟืองท้ายกเ็ พื่อให้ล้อขา้ งซ้ายหรอื ข้างขวาหมุนด้วยความเรว็ ที่แตกต่างกนั
โดยเฉพาะขณะท่เี ลี้ยวโคง้ หรือขบั ขรี่ ถบนถนนที่ขรขุ ระ

51 ตอบ ก. เคร่ืองยนต์>เฟืองท้าย>เพลาทา้ ย>ล้อ
เพราะ การขับเคล่ือนลอ้ หลงั เร่ิมจากตัวเคร่ืองยนตส์ ง่ กำลังไปยังเฟืองท้ายผ่านเพลาท้ายและลอ้
รถยนต์

52 ตอบ ก. เสอื้ เพลาท้ายแบบแบนโจ
เพราะ มีเหลก็ ยดึ แนวขวางรักษาสมดุลของรถและเพ่ิมการเกาะถนนของรถ เป็นเพลาท้ายท่ีนยิ มใช้
โดยท่ัวไป

53 ตอบ ค. เสื้อเพลาท้ายแบบแยกส่วน
เพราะ มสี ่วนประกอบไมม่ ากนัก จงึ ตอ้ งคอยหมนั่ ดแู ลในการซ่อมบำรุง

54 ตอบ ข. เฟืองฟนั ตรง
เพราะ เวลาใช้งานทำใหเ้ กิดการสกึ หรอสูงและมเี สียงดงั จงึ ไมน่ ิยมใช้กันในรถยนตป์ ัจจบุ ัน

55 ตอบ ง. เฟอื งฟนั โค้งเฉยี ง
เพราะ ในแนวศนู ยก์ ลางของเฟอื งขบั จะอยตู่ ำ่ กวา่ แนวศูนย์กลางของเฟืองวงแหวน

56 ตอบ จ. เฟอื งตวั หนอน
เพราะ มีการทดรอบความเรว็ ไดม้ ากและเพิม่ แรงบิดทเ่ี พลาท้ายและล้อสงู

57 ตอบ ข. เฟืองขับหรือเฟอื งเดือยหมู
เพราะ เฟอื งท้าย โดยทว่ั ไปประกอบด้วยเฟืองขับหรือเฟืองเดอื ยหมู ซ่งึ จะสวมอยู่ในแบร่ิง สามารถ
ปรับเลือ่ นเข้าออกได้

58 ตอบ ก. Planetary Gear
เพราะ Planetary Gear คือ เฟืองทา้ ยแบบแพลเนตทารเี กียร์

59 ตอบ ค. เฟืองขบั กบั เฟืองวงแหวน
เพราะ เฟืองทา้ ยแบบแพลเนตทารีเกียร์ ประกอบด้วยเฟืองขับกบั เฟอื งวงแหวน เหมอื นเฟืองเกยี ร์
ธรรมดาโดยทว่ั ไป

60 ตอบ ข. เฟืองท้ายแบบแพลเนตทารเี กยี ร์
เพราะ เฟอื งทา้ ยแบบนปี้ ระกอบด้วยเฟืองขับกับเฟอื งวงแหวนเหมือนเฟืองเกยี ร์ธรรมดาโดยทั่วไป
มกั จะใช้กบั รถยนต์ทีข่ บั เคลื่อนลอ้ หนา้ บางรุ่นทตี่ ้องใช้พื้นที่ในการตดิ ตัง้ จำกดั

61 ตอบ ก. เฟืองเดือยหมู
เพราะ จะทำหนา้ ที่ถา่ ยทอดกำลังงานของเครื่องยนต์โดยตรง ไปยังเฟืองวงแหวนหรือเฟืองบายศรี
ให้เปล่ยี นทิศทาง

ขอ้ ท่ี เฉลย

62 ตอบ ง. เฟืองตัวหนอน
เพราะ เฟอื งตัวหนอน ไม่ใชส่ ว่ นประกอบการทำงานของเฟืองท้าย

63 ตอบ ก. เพลาขับลอ้ หนา้ หรือลอ้ หลงั รถยนต์
เพราะ เพลาขับล้อ (Driveshaft) หมายถึง เพลาขบั ล้อหนา้ หรือล้อหลงั รถยนต์

64 ตอบ จ. ส่งถา่ ยกำลังขบั จากชุดเฟืองดอกจอกไปยังเพลาขบั ล้อ
เพราะ เพลาขบั ล้อ มหี นา้ ท่ีส่งถ่ายกำลังขับจากชดุ เฟืองดอกจอกไปยังเพลาขับล้อ และรบั ความเคน้
จากการขับเคล่ือนรวมทงั้ แรงเบยี ดด้านขา้ ง ของล้อรถขณะทีเ่ ล้ียว

65 ตอบ ก. เพลาขับกับเพลาตามหมนุ คงท่ี
เพราะ เพลาขบั กบั เพลาตามหมนุ คงท่หี รือหมุนในศนู ยเ์ ดียวกัน การหมุนแบบน้ีมีเหมือนกับการสง่
ถ่ายกำลงั ทางตรง ข้อต่อกากบาทจะหมุนไปกับเพลาขับมีลักษณะคล้ายกบั เสน้ รอบวง

66 ตอบ ก. เป็นทีย่ ดึ ติดล้อหน้า
เพราะ หน้าทเ่ี พลาขบั ล้อหลัง เป็นทย่ี ึดตดิ ล้อหลังและส่งถ่ายกำลังการขับเคลื่อนผ่านแหนบและ
โครงรถ ขับเคลื่อนลอ้ หลังให้หมนุ ด้วยความเร็วเท่ากันหรือต่างกัน ใชเ้ ส้ือเพลารองรบั น้ำหนักรถและ
เป็นที่ยึดติดของสว่ นประกอบอน่ื

67 ตอบ จ. เพลาแบบอสิ ระ 3 ข้าง
เพราะ ลักษณะการขับเคลื่อนเพลาขบั ล้อหลงั จะเปน็ เพลาแบบอิสระ 2 ขา้ ง

68 ตอบ ก. เพลาแขง็ แบบเพลากลางมีขอ้ ต่ออ่อน
เพราะ เพลาขบั ล้อแบบนีจ้ ะประกอบอย่ภู ายใน เส้ือเพลา เรยี กเพลาแบบน้วี ่า “เพลาแข็ง” รองรับ
เพลาขบั ล้อไดด้ ี มีความแข็งแรง ทนทาน และไมต่ ้องบำรงุ รักษามาก มักนิยมใช้อย่โู ดยทวั่ ไป

69 ตอบ ค. เส้อื เพลามจี ดุ หมนุ ดา้ นในข้างเดยี ว
เพราะ การโยกตามแนวยาวมุมแคมเบอรล์ ้อเปน็ ลบ จึงทำให้ขอบยางของรถสึกดา้ นนอก ข้อดีคือยึด
เกาะถนนได้ดี

70 ตอบ ข. เพลาดงิ่
เพราะ เพลาดง่ิ ไม่ใช่ ประเภทเพลาขับล้อหลัง

71 ตอบ ค. เพลาก่ึงลอย
เพราะ ขา้ งปลายเพลาไม่ตอ้ งรบั น้ำหนกั มาก สว่ นปลายเพลาดา้ นนอกหรือดา้ นล้อจะตดิ ตั้งเหมอื น
เพลาจม จงึ นิยมใช้ท้ังรถน่ังและรถบรรทุกเลก็ เพราะมีความคงทน ถอดซ่อมง่าย การบำรงุ รักษา
สะดวก

72 ตอบ ก. เพลาจม
เพราะ เน่ืองจากโครงสร้างยงุ่ ยาก จงึ ไม่นิยมใช้ในปัจจบุ นั

73 ตอบ จ. ขาดความนิ่มนวล
เพราะ ข้อเสยี คือ จะขาดความน่ิมนวลเมอื่ เปรยี บเทียบกบั รถยนตน์ งั่

74 ตอบ ก. มรี ะยะพืน้ ของรถตำ่ กวา่
เพราะ รถขบั เคลื่อน 4ล้อมรี ะยะพ้ืนของรถสูงกวา่ รถขับเคลื่อน 2 ลอ้

75 ตอบ ค. ตำแหน่งเกยี ร์วา่ ง
เพราะ เมือ่ ปลอกเล่ือนอยตู่ รงกลางตำแหน่งนี้จะไม่มีการสง่ กำลงั

ข้อที่ เฉลย

76 ตอบ จ. ไม่ต้องปรับดมุ ล้อให้เครื่องหมายตรงกนั เสมอ
เพราะ การปรบั ดมุ ล้อตอ้ งให้เคร่ืองหมายตรงกันเสมอ

77 ตอบ ก. 2H
เพราะ การขบั ข่ีนุ่มนวล ประหยัดและลดการสึกหรอของช้ินส่วน

78 ตอบ ข. 4H
เพราะ ขบั ขใ่ี นสภาพทพี่ ้นื ถนนลนื่ ไถล เปยี กเปน็ โคลนตม

79 ตอบ ง. 4L
เพราะ จะใชเ้ กยี รน์ ้ี เม่ือต้องการกำลงั เตม็ ที่หรอื ใช้ขับตามภูเขาที่ลาดชันหรอื สภาพถนนท่ีทุรกนั ดาร
ความเร็วสูงสุดไม่ควรเกนิ 40 กม./ชม.

80 ตอบ ข. ถอดก้ามปูแยกจากแกนก้ามปู โดยใช้เหล็กสง่ ตอก
เพราะ คำตอบในรูปภาพคอื ข้ันตอนการถอดกา้ มปูแยกจากแกนกา้ มปู โดยใชเ้ หลก็ ส่งตอกออก

81 ตอบ ก. ถนนที่ทุรกันดาร
เพราะ รถยนต์ขบั เคล่ือน 4 ลอ้ ถกู ออกแบบมาใชใ้ นถนนทีท่ ุรกันดาร

82 ตอบ ก. 1:1
เพราะ ในตำแหน่งขบั 2 ล้อความเรว็ สงู อตั ราทดเทา่ กบั 1:1

83 ตอบ ค. ตำแหนง่ 2H ไปยังตำแหน่ง 4H
เพราะ วิธกี ารลอ็ กดุมล้อ ทำได้โดยการจอดรถใหห้ ยุดสนทิ เลอ่ื นคันเกียรร์ ะบบการขบั เคลอ่ื นจาก
ตำแหน่ง 2H ไปยงั ตำแหนง่ 4H

84 ตอบ จ. ถกู ทุกข้อ
เพราะ เมอ่ื ใช้ไประยะหนงึ่ แผ่นคลัตช์จะเกิดการสกึ หรอ ทำใหร้ ะยะฟรีของคลัตช์ไม่ถูกต้อง เปน็
สาเหตุให้การทำงานของระบบผดิ ปกติ สมรรถนะ ในการขับขีไ่ มด่ ี การเข้าเกยี ร์ไมส่ ะดวก คลตั ช์ล่นื
อาการเหมอื นเครอ่ื งยนตไ์ ม่มีกำลงั

85 ตอบ ค. ระยะฟรีคลตั ช์เพียงพอ
เพราะ ระยะฟรีคลัตชไ์ ม่เพยี งพอ

86 ตอบ จ. เปลยี่ นลกู ปนื ปลายเกียร์
เพราะ เป็นการแก้ปญั หาเมื่อคลตั ช์มเี สียงดัง

87 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
เพราะ ทุกข้อคือสาเหตุของการเข้าเกียร์ยากหรือเข้าเกียร์ไม่ได้

88 ตอบ ค. ประมาณ 5 มิลลเิ มตร
เพราะ ระดบั นำ้ มันเกียรจ์ ะต้องอยู่ในระดบั ความสูงประมาณ 5 มิลลิเมตร และต้องเติมน้ำมันเกียร์
ให้ได้ระดบั

89 ตอบ ข. แพลเนตทารบี กพร่อง
เพราะ เป็นทอร์กคอนเวอรเ์ ตอรบ์ กพรอ่ ง

90 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
เพราะ สาเหตุทีเ่ สยี งผิดปกติ คือ โบลต์ยึดหนา้ แปลนหลดุ หลวม รอ่ งเฟืองบนเพลาสึกหรอ เกดิ
การชารุดสึกหรอของลูกปนื เข็มขอ้ ต่ออ่อน(กากบาท) เกดิ การชารุดสึกหรอของลูกปืนหรือแป้นรบั
ลกู ปนื กง่ึ กลางเพลา

ขอ้ ที่ เฉลย

91 ตอบ ง. เฟืองท้าย
เพราะ การอัดจาระบีของเพลากลาง กากบาทของข้อต่อออ่ นและข้อตอ่ เลื่อน จะได้รับแรงบดิ จาก
การส่งถ่ายกำลังไปยังเฟืองท้าย

92 ตอบ ข. ความร้อนสูง
เพราะ ความรอ้ นสงู ไมใ่ ช่สาเหตกุ ารเกดิ เสียงผดิ ปกติ

93 ตอบ ค. ใชน้ ำ้ มันผดิ เบอร์
เพราะ การใชน้ ้ำมนั ผิดเบอรไ์ ม่ใชส่ าเหตอุ าการกระชาก

94 ตอบ ง. ถอดแยกและตรวจสอบชุดส่งกำลงั
เพราะ ลำดบั แรกต้องถอดแยกและตรวจสอบชุดส่งกำลงั

95 ตอบ ก. ประกอบขอ้ ต่อเลอื่ น (กากบาท) ผิด
เพราะ สาเหตุการโก่งงอแกว่งตวั ของข้อต่ออ่อน คือ ประกอบขอ้ ต่ออ่อน (กากบาท) ผดิ

96 ตอบ ง. 80 บาท
เพราะ การล้างคารบ์ เู รเตอร์เครอื่ งยนต์ 1,000, 1,200, 1,300 ซซี ี ราคาซ่อมจะ 80 บาท

97 ตอบ จ. ไม่มีขอ้ ถกู
เพราะ การต้ังระยะคลัตช์ จะไม่มีราคาซ่อมหรือฟรี

98 ตอบ ข. ราคาค่าแรงของชา่ งในการท่ีปฏิบตั ิ
เพราะ ราคาแรงงาน คือ ราคาค่าแรงของช่างในการทป่ี ฏิบัติตามใบงาน ต้ังแต่ต้นจนแล้วเสรจ็

99 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
เพราะ หลักการการประมาณราคาชา่ งยนต์ คอื
1. การรับงานและตรวจสภาพ
2. การเขียนใบสัง่ งาน
3. การกำหนดราคา
4. การกำหนดเวลาแลว้ เสร็จของงาน

100 ตอบ ง. การกำหนดเวลาแล้วเสร็จของงาน
เพราะ การกำหนดเวลาแลว้ เสร็จของงาน เปน็ การดำเนินงานของช่างเมอื่ ลูกค้านำรถเข้าซอ่ มท่ี
ศนู ยบ์ ริการ


Click to View FlipBook Version