ส่วนที่ 1 1. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1. ชื่อสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอเวียงสระ สังกัด สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสุราษฎร์ธานี กระทรวงศึกษาธิการ 2. ที่ตั้ง ตั้งอยู่บริเวณที่ว่าการอำเภอเวียงสระ หมู่ที่ 8 ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84190 โทรศัพท์ 077 - 362014 โทรสาร 077 - 363871 เว็บไซด์www.surat. nfe.go.th /wiengsra 2. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเวียงสระ ได้จัดตั้งขึ้นตาม ประกาศจัดตั้งของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง จัดตั้งศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ / กิ่งอำเภอ ประกาศ ณ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2536 ใช้ชื่อย่อ ศบอ. โดยมีสถานภาพเป็นสถานศึกษาในราชการ บริหารส่วนกลาง สังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดสุราษฎร์ธานี และให้ใช้ห้องสมุดประชาชนอำเภอ เวียงสระ เป็นสำนักงานศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเวียงสระ เป็นสำนักงานตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 ตั้งอยู่ในบริเวณที่ว่าการอำเภอเวียงสระ หมู่ที่ 8 ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีบทบาทหน้าที่ในการสนับสนุน ส่งเสริม ประสานงาน และบริการงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุกรูปแบบ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2551 ได้มีกฤษฎีกาประกาศใช้ พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2551 ได้เปลี่ยนชื่อสถานศึกษาจากศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรียนอำเภอเวียงสระ เป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเวียงสระ มีชื่อย่อ ว่า “กศน” อำเภอเวียงสระ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องบัญชีรายชื่อสถานศึกษาฯ ประกาศใน ราช กิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60ง หน้า 1 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2551 และแนบท้ายประกาศ กระทรวงศึกษาธิการที่ 234 หน้าที่ 8 และมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนด อำนาจและและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 60ง หน้าที่ 2 และหน้าที่ 3 ลงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 วันที่ วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 สำนักงาน กศน. ได้รับการยกระดับให้เป็น “กรมส่งเสริม การเรียนรู้ ” ภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 มีหน้าที่จัดส่งเสริม และ สนับสนุนการเรียนรู้ 3 รูปแบบ คือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรู้เพื่อ คุณวุฒิตามระดับ
~ 2 ~ 3. สภาพทั่วไป มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอฉวาง และอำเภอถ้ำพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอพิปูน และอำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอ พระแสง และอำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่ 427.6 ตร.กม. 4. สภาพชุมชน อำเภอเวียงสระ แบ่งเขตการปกครองดังนี้ 4.1 จำนวนตำบล 5 ตำบล 64 หมู่บ้าน คือ หมู่ ที่ ตำบล / ชื่อหมู่บ้าน บ้านส้อง (18 หมู่บ้าน) ทุ่งหลวง (17 หมู่บ้าน) คลองฉนวน (12 หมู่บ้าน) เวียงสระ (10 หมู่บ้าน) เขานิพันธ์ (8 หมู่บ้าน) 1 บ้านพรุกระแชง บ้านโคกมะพร้าว บ้านยูงงาม บ้านหัวสะพาน บ้านเขานิพันธ์ 2 บ้านส้องเหนือ บ้านทุ่งหลวง บ้านคลองฉนวน บ้านดอนเหรียง บ้านห้วยพลูเถื่อน 3 บ้านเขาโคก บ้านลานเข้ บ้านควนสูง บ้านควนบก บ้านควนเจริญ 4 บ้านส้อง บ้านปากสาย บ้านคลองกา บ้านควน บ้านคลองลำพลา 5 บ้านนาเหนง บ้านวังใหญ่ บ้านปากกา บ้านไร่ใต้ บ้านเขาปูน 6 บ้านมหาราช บ้านหานเพชร บ้านปากหาน บ้านทุ่งกรูด บ้านกลาง 7 บ้านเหนือคลอง บ้านห้วยพ้อ บ้านควนปราง บ้านเวียง บ้านควนกลาง 8 บ้านหนองชุมแสง บ้านตก บ้านไสยง บ้านคลองตาล บ้านคีรีราษฎร์พัฒนา 9 บ้านนาชุมเห็ด บ้านนาใหม่ บ้านทุ่งคา บ้านหนองโสน 10 บ้านหนองสามสิบ บ้านปากลัด บ้านเหนือ บ้านคลองเสียว 11 บ้านถาวรราษฎร์ บ้านน้ำรอบ บ้านไสขุนรงค์ 12 บ้านราษฎรพัฒนา บ้านใสใน บ้านยอมงาม 13 บ้านห้วยแก้ว บ้านปากน้ำ 14 บ้านพรุกำ บ้านควนใหม่ 15 บ้านไทรทอง บ้านห้วยปลักหมู 16 บ้านห้วยทรายขาว บ้านโคกกรวด 17 บ้านสวนกล้วย 18 บ้านหนองตอเสียด
~ 3 ~ 5. ทำเนียบผู้บริหารสถานศึกษา ที่ ชื่อ – สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาที่ดำรง ตำแหน่ง 1 นายเกรียงศักดิ์ นวลสุทธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา นอกโรงเรียนอำเภอเวียงสระ พ.ศ. 2537 - 2548 2 นายมงคล กาฬคลอด ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเวียงสระ พ.ศ. 2548 - 2554 3 นางวานีพร สงวนศัพท์ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเวียงสระ พ.ศ. 2554 - 2563 4 นางมุตตา กาญจนอักษร ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเวียงสระ พ.ศ.2563 - ปัจจุบัน ปรัชญา กศน.อำเภอ “ ให้โอกาสทางการศึกษา พัฒนาคน สร้างสังคม อุดมปัญญา ” วิสัยทัศน์ กศน.อำเภอ ประชาชนในอำเภอเวียงสระได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถ ดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 อัตลักษณ์ “ คุณธรรม นำความรู้ คู่เครือข่าย ” พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และส่งเสริมการศึกษาใน ระบบให้มีคุณภาพและทั่วถึง 2. จัดและส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพื่อสร้างรายได้สร้างอาชีพในชุมชน 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
~ 4 ~ บทบาทและอำนาจหน้าที่กศน.อำเภอ 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 3. ดำเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริในพื้นที่ 5. จัด ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอก ระบบ 7. ดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 8. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 11. ดำเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด
~ 5 ~ ส่วนที่ 2 สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน/กิจกรรม จัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ คิดเป็น แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ค่าจัดการเรียนการสอน 671,290.71 671,255.42 35.29 99.99 ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 291,114 290,175 939 99.68 ค่าหนังสือเรียน 246,720 246,720 0 100 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 6,900 6,525 375 94.57 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน 13,600 13,600 0 100 การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4,840 4,800 40 99.17 การส่งเสริมการรู้หนังสือ 1,100 1,100 0 100 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชม.) 140,000 140,000 0 100 ชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชม.ขึ้นไป) 49,500 49,500 0 100 1 อำเภอ 1 อาชีพ 9,900 9,900 0 100 กิจกรรมภาษาต่างประเทศเพื่อการ สื่อสารด้านอาชีพ โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการ สื่อสารด้านอาชีพ 17,660 17,660 0 100
~ 6 ~ แผนงาน/กิจกรรม จัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ คิดเป็น แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โครงการความร่วมมือการผลิตผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง สาธารณสุข - - - - โครงการการจัดและส่งเสริมการจัด การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคง พัฒนาการทางกายจิตและสมองของ ผู้สูงอายุ 60,830 60,830 0 100 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมการพัฒนา เครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตำบล โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน 12,500 12,500 0 100
~ 7 ~ ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ประชาชน เยาวชน กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่ขาดโอกาส และพลาดโอกาสทางการทางการศึกษา ได้รับ บริการการศึกษาอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ เลือกรับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างถูกต้อง และยกระดับตนเองให้สูงขึ้น ใช้เป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ในระดับที่สูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ภาคเรียนที่ ....2...../ ...2565.... ผู้ลงทะเบียน ผู้จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา 14 - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 191 23 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 241 42 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - - รวม 446 65 ภาคเรียนที่ ....1...../ ...2566.... ผู้ลงทะเบียน ผู้จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา 26 1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 222 24 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 253 28 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - - รวม 501 53
~ 8 ~ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ ( พิการ ) ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ผู้เรียนมีการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทำให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุ เป้าหมายของหลักสูตร ภาคเรียนที่ ....2...../ ...2565..... ผู้ลงทะเบียน ผู้จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา 46 3 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 20 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 19 - รวม 85 3 ภาคเรียนที่ ...1....../ ...2566.... ผู้ลงทะเบียน ผู้จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา 35 6 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 23 1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 19 1 รวม 77 8
~ 9 ~ รายงานผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนที่ ....2..../ ปีการศึกษา ...2565.... กิจกรรม จำนวนกิจกรรมที่จัด จำแนกตามรูปแบบการจัดกิจกรรม (ครั้ง) จำนวนนักศึกษา ( คน) ค่ายวิชาการ/ ค่ายกิจกรรม แบบชั้นเรียน แบบศึกษาดู งาน แบบออนไลน์ แบบออฟไลน์ แบบอื่น ๆ 1. กิจกรรมเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาการ 1 100 2. กิจกรรมเรียนรู้พัฒนาทักษะชีวิต 2 280 3. กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 5. กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด 1 50 6. กิจกรรมส่งเสริมกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ 1 250 7. กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 8. กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้สู่ประชาคมโลก 9. กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดีด้วย หัวใจ” 10. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ 1 100 11. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ อาชีพ 12. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1 90 13. กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข การปกครอง 14. กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ 2 870
~ 10 ~ รายงานผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนที่ .....1..../ ปีการศึกษา ....2566...... กิจกรรม จำนวนกิจกรรมที่จัด จำแนกตามรูปแบบการจัดกิจกรรม (ครั้ง) จำนวนนักศึกษา ( คน) ค่ายวิชาการ/ ค่ายกิจกรรม แบบชั้นเรียน แบบศึกษาดู งาน แบบออนไลน์ แบบออฟไลน์ แบบอื่น ๆ 1. กิจกรรมเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาการ 1 1 200 2. กิจกรรมเรียนรู้พัฒนาทักษะชีวิต 3. กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 5. กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด 6. กิจกรรมส่งเสริมกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ 1 80 7. กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 8. กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้สู่ประชาคมโลก 9. กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดีด้วย หัวใจ” 10. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และพัฒนาทักษะการ เรียนรู้ 1 120 11. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ อาชีพ 12. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1 80 13. กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข การปกครอง 14. กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ 1 80
~ 11 ~ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการค่ายภาษาอังกฤษพาเพลิน (English camp is fun) วันที่....8-9.....เดือน....สิงหาคม......พ.ศ. 2566.... ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ้านส้องหมู่ที่ 5 ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการดำเนินงานเชิงเป้าหมาย นักศึกษาร้อยละ 80 ได้เรียนรู้และมีจิตสำนึกในการเทิดทูลสถาบันสำคัญของชาติ มีความสมัครสมาน สามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ร่วมกันรักษาระเบียบวินัย ใฝ่ใจจิตสาธารณะโดยได้รับรู้หลักการปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ นักศึกษา สกร.อำเภอเวียงสระ ได้เรียนรู้ร่วมมือทำกิจกรรมภาษาอังกฤษพาเพลิน หรับนักศึกษา สกร. อำเภอเวียงสระ การจัดค่ายภาษาอังกฤษเป็นการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับรายวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐานและภาษาอังกฤษเลือกเสรี เน้นให้ผู้เรียนมีความสนใจและมีทัศนคติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษได้ เรียนรู้ภาษาอังกฤษนอกห้องเรียนฝึกภาษาจากกิจกรรมต่าง ๆ
~ 12 ~ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการค่ายอบรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม “วิถีธรรม วิถีไทย สร้างนิสัยพอเพียง” วันที่....14....เดือน...มิถุนายน.......พ.ศ. 2566... ณ วัดเวียงสระ หมู่ที่ 7 ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการดำเนินงานเชิงเป้าหมาย นักศึกษาร้อยละ 80 ได้เรียนรู้และมีจิตสำนึกในการเทิดทูลสถาบันสำคัญของชาติ มีความสมัครสมาน สามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ร่วมกันรักษาระเบียบวินัย ใฝ่ใจจิตสาธารณะโดยได้รับรู้หลักการปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ นักศึกษา สกร.อำเภอเวียงสระ ได้เรียนรู้และมีจิตสำนึกรักชาติ การเทิดทูลสถาบันของชาติปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต มีความกตัญญูกตเวทีต่อการนำไปปฏิบัติตนใน ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพ โดยได้รับรู้หลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง“วิถีธรรม วิถีไทย สร้างนิสัย พอเพียง”
~ 13 ~ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด “กศน.เกมส์ 2566 วันที่....8....เดือน...ธันวาคม.......พ.ศ. 2565... ณ สนามกีฬาเทศบาลตำบลเวียงสระ ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการดำเนินงานเชิงเป้าหมาย นักศึกษาร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะความสามารถพิเศษด้านกีฬา ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ นักศึกษา คณะครูและผู้บริหาร กศน.อำเภอเวียงสระ ที่เข้าร่วมโครงการมีน้ำใจนักกีฬารู้จักการ ควบคุมอารมณ์รู้จักการแก้ปัญหาการตัดสินใจ มีสุขภาพอนามัยที่ดี ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ไม่พึงพายา เสพติด
~ 14 ~ การศึกษาเทียบระดับการศึกษา ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับ ได้รับความรู้ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนดทั้งด้านมิติประสบการณ์ มิติความรู้ความคิด และการสัมมนาวิชากร เป็นบุคคลที่ได้รับการยกระดับการศึกษาที่มีความรู้และ ประสบการณ์ในอาชีพที่สูงขึ้น มีคุณธรรมจริยธรรม และมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตจากรูปแบบการ เรียนรู้ที่หลากหลาย ภาคเรียนที่ ....2...../ ....2565.... ผู้ลงทะเบียน ผู้จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา - - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 6 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 9 9 รวม 15 13 ภาคเรียนที่ ....1...../ ...2566.... ผู้ลงทะเบียน ผู้จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา 1 1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 6 5 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 13 13 รวม 20 19
~ 15 ~ 2. การศึกษาต่อเนื่อง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2545) และ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนด จุดมุ่งหมาย สำคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเชื่อมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึง จำเป็นที่จะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งด้านการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งจำเป็นต้องใช้วิธีการและรูปแบบที่หลากหลาย ตามความ ต้องการและความสนใจของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และพัฒนาสังคมและชุมชน ดำรงชีวิต อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการดำเนินงาน การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เป้า (คน) ผล (คน) การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 60 60 1. หลักสูตรการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของชุมชน 15 15 2. หลักสูตรการรำไม้พลอง 15 15 3. หลักสูตรรำวงไลน์แดนซ์ 15 15 4. หลักสูตรทักษะการดูแลสุขภาพกายและจิต 5. (กิจกรรมรำวงมาตรฐาน) 15 15 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 34 36 หลักสูตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการขยะมูลฝอย 34 36 การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 13 17 1. หลักสูตรการปลูกพืชผักสมุนไพรสู้ภัยโควิด 6 7 2. หลักสูตรการปลูกพืชผักสวนครัว 7 10 รวม 107 113
~ 16 ~ ประมวลภาพกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ประมวลภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ประมวลภาพการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
~ 17 ~ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการตาม พ.ร.บ. กรมส่งเสริมการเรียนรู้ มีความสอดคล้องกับ แผนระดับต่างๆ ในการดำเนินการขับเคลื่อนโครงฯมีความสอดคล้องกับแผนระดับต่างๆ ได้แก่ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 – 2579) : ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชีวิต นโยบายของรัฐบาล : นโยบายหลักข้อที่ 8 การ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากร มนุษย์ให้มีคุณภาพ และแผนงานยุทธศาสตร์ : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ในอันที่จะเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ที่พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษา ทางสังคมและทางเศรษฐกิจเป็นการลดความเหลื่อมล้ำของคนในสังคม ให้ ได้รับโอกาสในการเข้าถึงการจัดการศึกษานอกระบบในรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ตามภารกิจโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน และการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชกรรม คหกรรมและอาชีพ เฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและศักยภาพ ของแต่ละพื้นที่ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงานและการ พัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีกิจกรรม “1 อำเภอ 1 อาชีพ” กลุ่มสนใจและชั้นเรียนวิชาชีพ รวมทั้งให้มีการดำเนินการกำกับติตามและรายงานผลการจัดการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมี New skill Up skill และ Re skill สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเข้าสู่อาชีพ ใหม่ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มรายได้มีประสบการณ์การพัฒนาอาชีพได้อย่างยั่งยืน มีทักษะในการ ประกอบอาชีพเสริม พัฒนาอาชีพรองรับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว รวมทั้งสามารถเพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป้า (คน) ผล (คน) กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชม.) 810 853 1. หลักสูตรการทำกาละแมกะทิสดธัญพืช 10 12 2. หลักสูตรการแปรรูปหน่อไม้ในรูปแบบการดอง 10 12 3. หลักสูตรการทำเค้กกล้วยหอม 10 12 4. หลักสูตรการทำเค้กกล้วยหอม 10 12 5. หลักสูตรการตกแต่งหมวก DIY 10 14 6. หลักสูตรการทำน้ำยาบ้วนปากสมุนไพร 10 8 7. การแปรรูปสมุนไพรทำน้ำยาบ้วนปาก 10 8 8. หลักสูตรการปลูกผักสลัดอินทรีย์แบบกระถาง 10 10
~ 18 ~ 9. หลักสูตรการทำซอสลาวาไข่เค็ม 10 10 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป้า (คน) ผล (คน) 10. หลักสูตรการออกแบบโลโก้ผลิตภัณฑ์ 10 12 11. หลักสูตรการทำคุกกี้ 10 12 12. หลักสูตรการปลูกผักออแกนิค 10 12 13. หลักสูตรการทำขนมเทียนแก้ว 10 12 14. หลักสูตการทำเหรียญโปรยทาน 10 12 15. การทำของชำร่วยและของที่ระลึก 10 12 16. หลักสูตรการทำถุงหอมการบูร 10 10 17. หลักสูตรการทำสบู่เหลวล้างมือ 10 10 18. หลักสูตการทำถุงหอมการบูร 10 10 19. หลักสูตรการทำเหรียญโปรยทาน 10 10 20. หลักสูตรการทำถุงหอมการบูร 10 10 21. หลักสูตรการทำสบู่มะนาว 10 10 22. หลักสูตรการทำสบู่มะขาม 10 10 23. หลักสูตรการทำสบู่ชาสครับ 10 10 24. หลักสูตรการทำพวงกุญแจจากผ้า 10 10 25. หลักสูตรการตกแต่งกระเป๋า 10 10 26. หลักสูตรการตกแต่งกระเป๋า 10 10 27. หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย 10 10 28. หลักสูตรการทำเค้กกล้วยหอม 10 10 29. หลักสูตรการทำเครื่องดื่มใบบัวบก 10 12 30. หลักสูตรการทำขนมถ้วยฟู 10 12 31. หลักสูตรการทำสบู่ 10 12 32. หลักสูตรการทำสบู่เหลวล้างมือ 10 12 33. หลักสูตรการทำเหรียญโปรยทาน 10 12 34. หลักสูตรการทำชาชงลดน้ำตาลและลดความดันโลหิต 10 10 35. หลักสูตรการทำพวงกุญแจจากผ้า 10 10 36. หลักสูตรการทำพวงกุญแจจากผ้า 10 10 37. หลักสูตรการทำขนมถ้วนฟู 10 10 38. หลักสูตรการทำเค้ก 10 10 39. หลักสูตรการตกแต่งหน้าเค้ก 10 10
~ 19 ~ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป้า (คน) ผล (คน) 40. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร 10 10 41. หลักสูตรการทำเค้กทุเรียน 10 10 42. หลักสูตร การตกแต่งหมวก DIY 10 10 43. หลักสูตรการทำโลชั่นบำรุงผิว 10 10 44. หลักสูตรการทำข้าวเหนียวมะม่วง 10 10 45. หลักสูตรการพับผ้าขนหนูแฟนซี 10 10 46. หลักสูตรการพับผ้าขนหนูแฟนซี 10 10 47. หลักสูตรการทำกระเป๋าหูรูด 10 10 48. หลักสูตรหลักสูตรการตกแต่งกระเป๋า 10 10 49. หลักสูตรการทำเค้กมะม่วง 10 10 50. หลักสูตรหลักสูตรการทำโดนัทจิ๋ว 10 10 51. หลักสูตรการทำของชำร่วยและของที่ระลึก 10 10 52. หลักสูตรการทำข้าวยำสมุนไพร 10 10 53. หลักสูตรการทำวุ้นกะทิ 10 10 54. หลักสูตรการทำสบู่มะนาว 10 10 55. หลักสูตรการทำปอเปี๊ยะ 10 10 56. หลักสูตรการทำวุ้นแฟนซี 10 10 57. หลักสูตรการทำคานาเป้ 10 10 58. หลักสูตรการตกแต่งหมวก DIY 10 10 59. หลักสูตรการทำแพ็คเกจจิ้งกาละแม 10 10 60. หลักสูตรการทำของที่ระลึกจากลูกปัดมโนราห์ 10 10 61. หลักสูตรการทำโดนัทจิ๋ว 10 10 62. หลักสูตรการทำเครื่องดื่มอิตาเลี่ยนโซดา 10 10 63. หลักสูตรการทำขนมจีบ 10 10 64. หลักสูตรการทำขนมปัง 10 10 65. หลักสูตรการทำครองแครงกะทิสด 10 10 66. หลักสูตรการทำโลชั่นบำรุงผิว 10 10 67. หลักสูตรการทำเค้กทุเรียน 10 10 68. หลักสูตรการทำของชำร่วยและของที่ระลึก 10 10 69. หลักสูตรการทำของชำร่วยและของที่ระลึก 10 10 70. หลักสูตรพิซซ่าโฮมเมด 10 10 71. หลักสูตรการปลูกผักสวนครัว 10 10
~ 20 ~ 72. หลักสูตรการทำของที่ระลึกจากผ้าขาวม้า 10 10 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป้า (คน) ผล (คน) 73. หลักสูตรการทำสลัดโรล 10 10 74. หลักสูตรการจัดแจกันดอกไม้พลาสติก 10 10 75. หลักสูตรการยาหม่องน้ำ 10 10 76. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร 10 10 77. หลักสูตรการตกแต่งกระเป๋า 10 10 78. หลักสูตรการตกแต่งหมวก DIY 10 10 79. หลักสูตรการตกแต่งกระเป๋า DIY 10 10 80. หลักสูตรการทำแชมพูสมุนไพร 10 10 81. หลักสูตรการทำสบู่ก้อนขมิ้นชันแก้ผดผื่น 10 10 รวม 810 853 ประมวลภาพกิจกรรม
~ 21 ~ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป้า (คน) ผล (คน) ชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชม.ขึ้นไป) 70 78 1. หลักสูตร ช่างเชื่อมโลหะประเภทโต๊ะและเก้าอี้ 14 14 2. หลักสูตรช่างทำฝ้าเพดาน 14 14 3. หลักสูตร ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง (การแต่งหน้าเบื้องต้น) 14 20 4. หลักสูตร ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากผ้า 14 16 5. หลักสูตรช่างเชื่อมโลหะประเภทหลังคาโครงเหล็ก 14 14 รวม 70 78 1 อำเภอ 1 อาชีพ 11 11 หลักสูตรช่างเชื่อมโลหะประเภทชั้นวาง 11 11 รวม 11 11 ภาพกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน : ชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชม.ขึ้นไป) โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ ปัจจุบันภาษาอังกฤษมีความจำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารในโลกแห่งข้อมูลข่าวสารซึ่งมีความ เจริญก้าวหน้า และพัฒนาอย่างรวดเร็วทำให้การสื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ สามารถทำได้อย่างง่ายโดยใช้ ภาษาอังกฤษเป็น สื่อกลาง ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพในการติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ จึงมีความสำคัญ ต่อบุคลากรภายใน หน่วยงาน และประชาชน เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ปัจจุบัน และ เป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้ประชาชนมีความพร้อมในการพัฒนาขีดความสามารถทางด้านทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ความสอดคล้องกับนโยบายสำนักงาน กศน. ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะชีวิต 2.6
~ 22 ~ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียนเพื่อรองรับการพัฒนา ประเทศ ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษฟัง พูด อ่าน เขียน เบื้องต้น สามารถนำความรู้ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ ใช้ในการสื่อสารในชีวิตได้ ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ เป้า (คน) ผล (คน) หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและการบริการ 15 15 รวม 15 15 ประมวลภาพกิจกรรม โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกายจิต และ สมองของผู้สูงอายุ สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย จะมีสัดส่วนผู้สูงอายุร้อยละ18 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่ง ประมาณการว่าจะมีผู้สูงอายุ ประมาณ 11 ล้านคน ในจำนวนผู้สูงอายุดังกล่าว เมื่อแบ่งตามสุขภาวะของ ผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มติดสังคม มีประมาณ 8.5 ล้านคน(79.50%) 2.กลุ่มติดบ้าน มีประมาณ 2 ล้าน คน (19%) และ 3.กลุ่มติดเตียง มีประมาณ 5 แสนคน(1.50%) ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในช่วงอายุ 60-70 ปี เป็นกลุ่มที่ยังมีพลังในการขับเคลื่อนสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความอบอุ่นเป็นหลัก เป็นที่พึ่งให้แก่ สมาชิกในครอบครัว หากแต่ละครอบครัวมีความเข้มแข็งย่อมส่งผลให้ชุมชน สังคม และ ประเทศเข้มแข็งไป ด้วย การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยคงภาวะติดสังคมให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ รูปแบบ การศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมที่ให้ความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุติดสังคมได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งลักษณะของกิจกรรม
~ 23 ~ กลุ่มนี้เพื่อป้องกันไม่ให้ไม่ให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมีพัฒนาการไปเป็นผู้สูงอายุพาวะพึ่งพิง(ติดบ้านและติดเตียง) ตราบเท่าที่ผู้สูงอายุยังสามารถคงสมรรถนะทางกาย จิต และ สมอง ไว้ได้ยืนยาวขึ้นหรือตลอดชีวิต ย่อมสร้าง ประโยชน์ให้แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้ อีกทั้งยังช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาของภาครัฐได้ จำนวนมาก ปัจจัยสำคัญของการที่จะคงภาวะ ติดสังคมของผู้สูงอายุไว้ให้นานที่สุด ขึ้นอยู่กับการที่ผู้สูงอายุมี โอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรมที่เหมาะสมและอย่างสม่ำเสมอ ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ ร้อยละ 85 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามรถพัฒนาทักษะชีวิต ใน 4 มิติมีความรู้ ความเข้าใจและ ตระหนักถึงคุณค่าในตัวเอง ใช้เวลาว่างในการประกอบอาชีพเสริม สร้างรายได้ที่มั่นคง ให้สอดคล้องกับ ศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถปรับตัวรับรู้ข่าวสารข้อมูลต่างๆ ต่อการ เปลี่ยนแปลงของโลกได้ สามารถคงสมรรถนะทางกาย จิต และ สมอง ไว้ได้ยืนยาวขึ้นหรือตลอดชีวิต สร้างประโยชน์ให้แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้ อีกทั้งมีสุขภาวะทางกาย จิต และสมองที่เหมาะสม กับช่วงวัย กิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกายจิต และสมองของผู้สูงอายุ เป้า (คน) ผล (คน) 1. หลักสูตรการทำขนมฝักบัว 20 20 2. หลักสูตรการทำชาสมุนไพรจากใบเตยหอม 20 20 3. หลักสูตรการทำแกงไตปลาแห้ง 20 20 4. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร 20 20 5. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร 20 20 6. หลักสูตรการทำผัดไทย 20 20 7. หลักสูตรการเต้นแอโรบิค 23 23 8. หลักสูตรการทำสมุนไพรพอกเข่า 23 24 9. หลักสูตรการทำน้ำมันนวดสมุนไพร 23 23 10. หลักสูตรการทำเหรียญโปรยทาน 23 24 11. หลักสูตรการทำขนมชั้น 23 23 12. หลักสูตรการทำเครืองดื่มสมุนไพร 21 21 13. หลักสูตรการทำชาชงลดน้ำตาลและความดันโลหิต 21 21 14. หลักสูตรการทำสมุนไพรแช่เท้า 22 24 15. หลักสูตรการทำสมุนไพรแช่เท้า 23 23 16. หลักสูตรการทำหนางหมู 23 24 17. หลักสูตรการทำบัวลอยไข่หวาน 21 21 18. หลักสูตรการทำหนางหมู 23 23 19. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร 23 23 20. หลักสูตรการแปรรูปทำยาดมสมุนไพร 22 23
~ 24 ~ 21. หลักสูตรการแปรรูปการทำสบู่สมุนไพรผสมน้ำผึ้ง 22 24 กิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกายจิต และสมองของผู้สูงอายุ เป้า (คน) ผล (คน) 22. หลักสูตรการรำวงไลน์แดนซ์ประยุกต์ 21 21 23. หลักสูตรการเต้นแอโรบิค 21 21 24. หลักสูตรการพับผ้าขนหนูแฟนซี 21 21 25. หลักสูตรการทำสบู่สมุนไพร 23 24 26. หลักสูตรการทำสบู่สมุนไพร 23 23 27. หลักสูตรการทำโลชั่นบำรุงผิว 21 21 28. หลักสูตรการทำข้าวยำสมุนไพร 21 21 29. หลักสูตรการทำผัดไทย 21 21 30. หลักสูตรการทำขนมโค 21 21 31. หลักสูตรการทำครองแครงกะทิสด 21 21 32. หลักสูตรการทำน้ำยาเอนกประสงค์ 21 21 33. หลักสูตรการทำน้ำยาเอนกประสงค์ 21 21 34. หลักสูตรการทำขนมโค 21 21 35. หลักสูตรการทำข้าวยำสมุนไพร 22 23 36. หลักสูตรการทำเครื่องดื่มสมุนไพร 22 24 37. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร) 22 24 38. หลักสูตรการแปรรูปยาดมสมุนไพร 22 23 39. หลักสูตรการทำน้ำพริกกากหมู 21 21 รวม 842 857 ประมวลภาพกิจกรรม
~ 25 ~ โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน กรมส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนได้รับ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง การปฏิรูปการศึกษายุค ๔.๐ เพื่อก้าวสู่การพัฒนาประเทศ เป็น 1 ในนโยบายสำคัญ ของหน่วยงานด้านการศึกษา ที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างศักยภาพให้บุคลากร ของประเทศมีประสิทธิภาพ Digital literacy การรู้ทันโลกเทคโนโลยีเพื่อผลักดันให้มีการพัฒนา สำนักงาน กศน. ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ทำ หน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเป็นภาพรวมของการศึกษา ตลอดชีวิต จึงเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินงานในด้านของการสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างปลอดภัย รวมถึงสนับสนุนการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทำ “ Re-Skill Up-Skill ” ผ่าน สื่อสังคมออนไลน์ร่วมกัน เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบ การเข้าถึงสื่อ ดิจิทัล การสื่อสารและความสัมพันธ์ยุคดิจิทัล ความปลอดภัยยุคดิจิทัล ฯลฯ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน และสนับสนุนการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทำ เพื่อสร้างทักษะใหม่ที่จำเป็นในการทำงานและ ยกระดับ ทักษะเดิมให้ดีขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต “Re-Skill Up-Skill ของประชาชนทั่วไป ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบ การเข้าถึงสื่อดิจิทัล การสื่อสารและความสัมพันธ์ยุคดิจิทัล ความปลอดภัยยุคดิจิทัล ฯลฯ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และสนับสนุนการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทำ เพื่อสร้างทักษะใหม่ที่จำเป็นในการทำงานและยกระดับ ทักษะเดิม ให้ดีขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต “Re-Skill Up-Skill ของประชาชนทั่วไป กิจกรรมศูนย์ดิจิทัลชุมชน เป้า (คน) ผล (คน) - หลักสูตรการใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อสร้างโอกาสการ มีงานทำ - หลักสูตรการค้าออนไลน์ กลยุทธ์การตลาดเชื่อมโยง 58 58
~ 26 ~ จาก Online และ Offline รวม 58 58 ประมวลภาพกิจกรรม
~ 27 ~ 3. การศึกษาตามอัธยาศัย ห้องสมุดประชาชนอำเภอเวียงสระ ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ เป็นแหล่งให้บริการสื่อที่มีหลากหลายเพียงพอ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อย่างต่อเนื่อง และ มีการบริหารจัดการที่ทันสมัย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป้า (คน) ผล (คน) - โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอเวียงสระให้เป็น ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ Co-learning Space 320 2,085 - โครงการพัฒนา กศน. ตำบลให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิต : ห้องสมุดสาขา กศน. ตำบล 320 1,327 - โครงการส่งเสริมการอ่าน เสริมการเรียนรู้ ทุกช่วงวัย 320 2,053 - โครงการครอบครัวรักการอ่าน 120 125 - โครงการส่งเสริมการอ่านสืบสานคุณค่าสารานุกรมไทย สำหรับเยาวชนฯ”เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ๒ เมษา วันรักการอ่าน 100 197 - โครงการตะลุยตะลอนห้องสมุดประชาชนสู่บ้านหนังสือ ชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ 120 120 รวม 1,300 5,907
~ 28 ~ โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอเวียงสระให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ Co-learning Space
~ 29 ~ โครงการพัฒนา กศน. ตำบลให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : ห้องสมุดสาขา กศน. ตำบล
~ 30 ~ โครงการส่งเสริมการอ่าน เสริมการเรียนรู้ ทุกช่วงวัย
~ 31 ~ โครงการครอบครัวรักการอ่าน
~ 32 ~ - โครงการส่งเสริมการอ่านสืบสานคุณค่าสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ”เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๒ เมษา วันรักการอ่าน
~ 33 ~ โครงการตะลุยตะลอนห้องสมุดประชาชนสู่บ้านหนังสือชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖
~ 34 ~ บ้านหนังสือชุมชน ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ บ้านหนังสือชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูล และจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย ในตำบลอีกแหล่งหนึ่งเพิ่มจากห้องสมุดประชาชนประจำอำเภอ ซึ่ง กิจกรรมการส่งเสริมการศึกษาตาม อัธยาศัยของ กศน.ตำบล จะกระจายไปในตำบลที่ รับผิดชอบ ตลอดจนถึงให้ความร่วมมือกับ กศน.อำเภอใน การจัดกิจกรรม ส่งเสริมการศึกษา ตามอัธยาศัยในพื้นที่อีกด้วย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป้า (คน) ผล (คน) บ้านหนังสือชุมชน - โครงการส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือชุมชน 320 2,297 โครงการส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือชุมชน
~ 35 ~ หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ การส่งเสริมการให้บริการรถโมบายส่งเสริมการอ่านหรือรถห้องสมุดเคลื่อนที่พร้อมกิจกรรม ส่งเสริม การศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป กิจกรรมและสื่อ ในรถโมบาย จะมี ความหลากหลายตามกลุ่มผู้รับบริการ และมีความเหมาะสมกับช่วงวัย ผลการ ดำเนินงานที่ผ่านมาได้รับความ สนใจจากกลุ่มเป้าหมาย อีกทั้งได้รับความสนใจและขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้ไปออก หน่วยบริการในสถานที่และกิจกรรมของภาคี เครือข่ายด้วย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป้า (คน) ผล (คน) หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) - กิจกรรมรถห้องสมุดเคลื่อนที่ 320 953 - โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น - โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด 320 325 รวม 620 1,278
~ 36 ~ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น
~ 37 ~ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด
~ 38 ~ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ การส่งเสริมการให้บริการรถโมบายส่งเสริมการอ่านหรือรถห้องสมุดเคลื่อนที่พร้อมกิจกรรม ส่งเสริม การศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป กิจกรรมและสื่อ ในรถโมบาย จะมี ความหลากหลายตามกลุ่มผู้รับบริการ และมีความเหมาะสมกับช่วงวัย ผลการ ดำเนินงานที่ผ่านมาได้รับความ สนใจจากกลุ่มเป้าหมาย อีกทั้งได้รับความสนใจและขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้ไปออก หน่วยบริการในสถานที่และกิจกรรมของภาคี เครือข่ายด้วย กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป้า (คน) ผล (คน) อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน - โครงการอบรมอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 25 26
~ 39 ~ ส่วนที่ 4 ผลการดำเนินงานตามนโยบายและข้อสั่งการของ รมช. ศธ. การติดตามประเด็นเร่งด่วนตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 1) โครงการพาน้องกลับมาเรียน ด้านการรับรู้และเข้าใจ ตามนโยบายของรัฐบาล “จะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” ที่ให้ความสำคัญกับคนทุกกลุ่ม เพื่อให้คนไทยทุก คนได้รับประโยชน์ในทุกด้านอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม โดยกระทรวงศึกษาธิการได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและ ถือเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องให้การศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มอย่างเทียมกัน จึงได้ดำเนินการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้องกลับมาเรียน” ดังนั้น กศน.อำเภอเวียงสระ ซึ่งเป็นสถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน กศน.จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำเนินการช่วยเหลือ นักเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษา โดยใช้ข้อมูลผู้เรียน ที่หายไปเป็นข้อมูลตั้งต้นในการใช้ค้นหา ติดตาม ช่วยเหลือให้กลับมาเรียนภายใต้โครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” ด้านการนำไปปฏิบัติ เกิดจากการประสานการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่ลงพื้นที่และการแก้ไขปัญหา อย่างจริงจัง มีการนำเทคโนโลยีเชื่อมโยงข้อมูล (Big Data) มาใช้เป็นเครื่องมือในการติดตาม ค้นหา และบันทึก ผลการติดตาม และที่สำคัญเกิดจากความร่วมแรงร่วมใจของผู้บริหาร ครู และบุคลากรการศึกษา ในการลง พื้นที่เยี่ยมบ้านเด็ก เพื่อค้นหาเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน ให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง จำนวนนักเรียนเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน เด็กตกหล่นและออกกลางคัน จำนวน (คน) เป้าหมาย 407 ติดตามพบตัว 185 ยังไม่ได้ติดตามตัว - ติดตามแล้วไม่พบตัว 222 พบตัวแต่ไม่อยู่ในรายชื่อ - กลับมาเรียน กศน. 92 ข้อมูล ณ วันที่ …23…พฤษภาคม……2566.... ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ - ผู้เรียนบางคนไม่พร้อมที่จะเรียน เนื่องจากตั้งครรภ์/ลูกยังเล็ก - ปัญหาด้านการบันทึกข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน เช่น ผู้เรียนได้ย้ายที่อยู่อาศัยออกจากพื้นที่แล้ว ไม่ สามารถติดตามตัวผู้เรียนได้ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงนโยบาย - จัดทำข้อมูลให้สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน - ให้คำแนะนำเมื่อผู้เรียนมีความพร้อมก็ให้กลับมาเรียน
~ 40 ~ 2) โครงการ กศน. ปักหมุด ด้านการรับรู้และเข้าใจ 1. ครู กศน.จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายคนพิการที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่เข้าสู่ระบบ การศึกษาในพื้นที่นำร่อง 2. ครู กศน.วิเคราะห์ข้อมูลความต้องการของกลุ่มเป้าหมายคนพิการ 3. ครู กศน.ส่งต่อข้อมูลความต้องการของกลุ่มเป้าหมายคนพิการไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านการนำไปฏิบัติ 1. ครู กศน. ตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายคนพิการ ที่ได้รับจาก กศน.อำเภอ 2. วางแผนการสำรวจและปักหมุดค้นหาคนพิการเป็นรายบุคคล 3. ประสานงานกับภาคีเครือข่าย เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำท้องถิ่น อสม. ฯลฯ 4. ลงพื้นที่สำรวจและปักหมุดค้นหาคนพิการ 5. รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ตามองค์ประกอบของแบบสำรวจทั้ง 7 ส่วน โดยจัดเก็บข้อมูลรูปภาพและเอกสารเป็นรายบุคคลในรูปแบบไฟล์ PDF หรือไฟล์ .JPG 6. จัดส่งข้อมูลแบบสำรวจที่สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซ็นต์ให้ กศน.อำเภอ เพื่อบันทึกข้อมูลลงในระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ CAPER 7 รายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมเสนอผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ แสดงข้อมูลของผู้พิการอายุ ๑๘ ปีขึ้นไป ผู้พิการ ผล(คน) เป้าหมาย 8 ติดตามพบตัว 8 ไม่พบตัว - เสียชีวิต - จบการศึกษา/กำลังศึกษาอยู่ 6 ไม่พบความพิการ - ข้อมูล ณ วันที่ …16…ตุลาคม…2566…. ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 1. ข้อมูลที่ได้รับมีความคลาดเคลื่อน ไม่สมบูรณ์ 2. บางพื้นที่มีการเดินทางเพื่อลงพื้นที่หลายรอบเพราะไม่พบเจ้าบ้าน 3. ไม่พบตัวตนผู้พิการ หรือ ไม่มีข้อมูลจากคนในพื้นที่ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงนโยบาย 1. จัดทำข้อมูลให้สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน
~ 41 ~ 3) โครงการความปลอดภัยสถานศึกษา ด้านการรับและเข้าใจ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายเสริมสร้าง ความปลอดภัย ให้นักเรียน รักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยจัดตั้งศูนย์ความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธิการ และให้นำระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety Center) มาใช้แก้ปัญหาความ ไม่ปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา นั้น สกร.อำเภอเวียงสระ ได้ดำเนินการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการระบบมาตรฐานความปลอดภัย (MOE Safety(Center) แต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยอำเภอ และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดูแลระบน MOE SafetyCenter และ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ MOE Safety Center อำเภอ เข้ารับการอบรมการใช้ งานระบบ MOE safety Center โดยทีมวิทยากรศูนย์ความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธิการ แล้วนั้น ด้านการปฏิบัติ กศน.อำเภอเวียงสระ ได้ดำเนินการแต่งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ SC- Operator (Safety Center Operator) เจ้าหน้าที่ SC-Action : Safety Center Action ตั้งกลุ่มไลน์ศูนย์ความปลอดภัยสำนักงาน กศน. จังหวัดเพื่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นอกจากนี้ ได้สร้างการรับรู้เรื่องดังกล่าว แก่ นักศึกษา ผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไป โดยAdmin ได้เชิญชวนเข้ากลุ่มไลน์ MOE Safety Center เพื่อเป็น เครือข่ายในการดูแลความปลอดภัยของนักศึกษา ครูและสถานศึกษาในลำดับต่อไป ด้านการนำไปฏิบัติ - เจ้าหน้าที่ ได้เนินการศึกษาข้อมูลตามคู่มือที่เพิ่งได้รับ (ข้อมูล ณวันที่ 26 กันยายน 2565) - ดำเนินการสรุปผลการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ - ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงนโยบาย -
~ 42 ~ 4) โครงการแก้ไขหนี้สินครู ด้านการรับรู้และเข้าใจ 6 มกราคม 2566 นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานพิธีลง นามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ร่วมกับ 12 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงการคลัง (กค.), กระทรวงยุติธรรม (ยธ.), กรมส่งเสริมสหกรณ์ (กสส.), ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.), สำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.), กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ก.บ.ข.), บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด, สมาคมธนาคารไทย, สมาคมสถาบันการเงินของรัฐ, ธนาคารออมสิน, ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) และธนาคารกรุงไทย ณ ห้องประชุมบุณยเกตุ หอประชุมคุรุสภา โดยการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือครั้งนี้ เป็นการดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งต่อยอดมาจาก “โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินครู สร้างโอกาสใหม่ให้ครูไทย” และ “มหกรรมการเงินเพื่อครูไทย” ที่มีการช่วยเหลือและปรับโครงสร้างหนี้ให้ครูที่เข้าร่วมโครงการ รวมไปถึง การเจรจาลดดอกเบี้ยกับสหกรณ์ออมทรัพย์ครูทั่วประเทศ ซึ่งการดำเนินงานในปีแรกถือว่าอยู่ในระดับที่น่าพึง พอใจ ให้ครูมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้านการนำไปปฏิบัติ ผู้บริหาร ครู และบุคลากร กศน.อำเภอเวียงสระ ได้รับการพัฒนาภายใต้หลักสูตร “ครูรุ่นใหม่ หัวใจ พอเพียง” ซึ่งจัดขึ้นโดย กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ กระทรวงการคลัง เพื่อให้ได้รับองค์ความรู้ มีความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการออมและการวางแผนการบริหารจัดการทางการเงิน ผ่านระบบ KHURU Online ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ - ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงนโยบาย -
~ 43 ~ ส่วนที่ 5 กิจกรรม / โครงการของสถานศึกษา
~ 44 ~ ภาคผนวก
~ 45 ~ ตัวชี้วัด สกร.อำเภอเวียงสระ รายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผล ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.1 ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว้ (เทียบกับเป้าหมาย ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี) ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 1.2 จำนวนของผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ / ได้รับบริการ กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความ ต้องการ 1,109 คน 1,109 คน 1.3 จำนวนของผู้รับบริการ / เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 3,000 คน 3,200 คน 1.4 จำนวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบลที่มีความพร้อมในการให้บริการ / การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5 แห่ง 5 แห่ง 1.5 จำนวนประชากรที่เข้ารับการพัฒนาทักษะอาชีพเพื่อสร้างรายได้และ การมีงานทำ 1,109 คน 1,109 คน 1.6 จำนวนประชาชนที่ได้รับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการ สื่อสารด้านอาชีพ 15 คน 15 คน 1.7 จำนวนผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ 720 คน 720 คน 1.8 จำนวนประชากรที่ผ่านการอบรมจากศูนย์ดิจิทัลชุมชน 57 คน 58 คน 1.9 จำนวนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co-Learning Space 1 แห่ง 1 แห่ง ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1 ร้อยละของนักศึกษาที่คาดว่าจะจบ ที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละภาค เรียน ร้อยละ 65 ร้อยละ 51.80 2.2 ร้อยละของผู้จบหลักสูตร / กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง ที่สามารถนำ ความรู้ความเข้าใจไปใช้พัฒนาตนเองได้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร / กิจกรรม ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 2.3 ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ใน การประกอบอาชีพ หรือพัฒนาตนเองได้ ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 2.4 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการ / เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัย มีความรู้ความเข้าใจ / เจตคติ / ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายของ กิจกรรมที่กำหนด ร้อยละ 80 ร้อยละ 100
~ 46 ~ รายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผล ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 2.5 ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม การศึกษาตลอดชีวิต ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 2.6 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ที่มีการพัฒนาตนเองในด้าน พฤติกรรมบุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ภาวะผู้นำ และมี จรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสมยิ่งขึ้น ร้อยละ 80 ร้อยละ 100
~ 47 ~ ภาคีเครือข่าย ชื่อสถานที่ ผู้ประสานงาน ตำแหน่ง ผู้นำท้องถิ่นตำบลเวียงสระ นายโกศล สุขเกษม กำนันตำบลเวียงสระ โรงเรียนเวียงสระ นางสาววรรณี แก้วศิริ ผู้อำนวยการ เทศบาลตำบลเมืองเวียง นายศุภรักษ์ ติ้วต้ง นายกเทศมนตรีตำบลเมืองเวียง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเมือง เวียง นายศุภรักษ์ ติ้วต้ง นายกเทศมนตรีตำบลเมืองเวียง โรงเรียนวัดเวียงสระ นางพรพิมล อุ่นเสียม ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเวียง สระ ผู้อำนวยการ ชมรมผู้สูงอายุเมืองเวียงโบราณ นายณรงค์ อนุกุล ประธานชมรมผู้สูงอายุเมืองเวียง ที่ว่าการอำเภอเวียงสระ นายเจริญศักดิ์ วงศ์สุวรรณ นายอำเภอ สถานีตำรวจภูธรเวียงสระ พ.ต.อ.ไพฑูรย์ กระจะจ่าง ผู้กำกับ สภ.เวียงสระ พัฒนากรประจำตำบลเวียงสระ นางสาวสุมลฑา ชูพัฒน์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ พื้นที่รับผิดชอบตำบลเวียงสระ โรงเรียนบ้านหนองโสน นาย นิเวศ มุทุกัณฑ์ ผู้อำนวยการ ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงบ้านเวียง นายรัตตพล สุวรรณโชติ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านหนองโสน นายอุรุพงศ์ คะเชนทร์ ผู้ใหญ่บ้าน ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านคลองเสียว นายโกศล สุขเกษม กำนันตำบลเวียงสระ เทศบาลตำบลทุ่งหลวง นายสมศักดิ์ นวลแก้ว นายกเทศมนตรีตำบลทุ่งหลวง ศูนย์สืบสานมโนราห์ปักษ์ใต้ บ้านปาก ลัด นายชานนท์ ปรีชาชาญ 082 - 693 9519 ผู้ดูแลศูนย์ฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ หมู่ที่ 2 ตำบลทุ่งหลวง นายสิทธิพร ส้มเกลี้ยง 077 - 361944 เจ้าหน้าที่บริบาลผู้ป่วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บ้านปาก สาย ม.4 ต.ทุ่งหลวง นางดารุณี บุญอินทร์ 090 -7193783 เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขชำนาญงาน ผู้นำท้องที่ / ผู้นำชุมชนตำบลทุ่งหลวง นายไพรินทร์ แก้วศรีมล 083-6382830 กำนันตำบลทุ่งหลวง ชมรมผู้สูงอายุตำบลทุ่งหลวง นายจำเริญ สุริยันต์ ประธานชมรมผู้สูงอายุ ต.ทุ่งหลวง กลุ่มผู้สูงอายุบ้านวังใหญ่ นางสาวกุหลาบ หมื่นราช ประธานกลุ่มผู้สูงอายุบ้านวังใหญ่
~ 48 ~ ชื่อสถานที่ ผู้ประสานงาน ตำแหน่ง ชมรม อสม.ตำบลทุ่งหลวง - รพ.สต.ทุ่งหลวง - รพ.สต.บ้านปากสาย สาธารณสุขอำเภอเวียงสระ 077 - 361944 090 - 7193783 หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง/ ครัวเรือนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง บ้านห้วยพ้อ นายสุพย์ปัญญา นิลประดิษฐ์ ผู้ใหญ่บ้าน ชมรมคนพิการตำบลทุ่งหลวง นางราตรี บุญล่อง ประธานชมรมคนพิการ ต.ทุ่งหลวง กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรีตำบลทุ่งหลวง นางพิมใจ อินทร์ทอง ประธานกลุ่มสตรีตำบลทุ่งหลวง โรงเรียนในสังกัดเทศบาล ตำบลทุ่ง หลวง 2 แห่ง เทศบาลตำบลทุ่งหลวง 077 - 361047 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากสาย ผอ.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากสาย 077 - 380291 ผอ.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากสาย 077 - 380291 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหานเพชร ผอ.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหานเพชร 077 - 361047 ผอ.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหานเพชร 077 - 361047 วัดในพื้นที่ตำบลทุ่งหลวง จำนวน 5 แห่ง -วัดทุ่งหลวง -วัดโลภณประชาราม -วัดกัลปนาราม -วัดนาพอ -วัดโคกอินทนินทราราม พระครูกันตสราภิวัฒน์ 077 - 36 1028 เจ้าคณะอำเภอเวียงสระ ศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยและ ประสานงาน การเลือกตั้ง ตำบลทุ่ง หลวง (ศส.ปชต.ทุ่งหลวง) นายไพรินทร์ แก้วศรีมล นางปภิญญุฎา กำเหนิด ประธาน ศส.ปชต.ทุ่งหลวง เลขาฯศส.ปชต.ทุ่งหลวง กลุ่มอาชีพในพื้นที่ตำบลทุ่งหลวง นางสาวมีนา กำเหนิด นางสาวกุหลาบ หมื่นราช วิทยากร วิทยากร ชมรมแอโรบิก ตำบลทุ่งหลวง นางสาวกาญจนา พิธีการณ์ ประธานชมรม วิทยากรสัมมาชีพชุมชนตำบลทุ่งหลวง นางปภิญญุฎา กำเหนิด ครู กศน.ตำบล เกษตรประจำตำบลทุ่งหลวง สำนักงานเกษตรอำเภอเวียงสระ 077-361776 พัฒนากรประจำตำบลทุ่งหลวง พัฒนาชุมชนอำเภอเวียงสระ 081-8230741 เทศบาลตำบลบ้านส้อง นายคนองศิลป์ ชิตรกุล นายกเทศมนตรีตำบลบ้านส้อง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลต.บ้านส้อง นายสิริพงศ์ แก้วอ่อน นักวิชาการศึกษาชำนาญการ โรงเรียนบ้านห้วยมะนาว นางอรนุช อ่อนเกตุพล ผู้อำนวยการโรงเรียน โรงเรียนบ้านส้อง นางสาวจิรพันธ์ เกิดกุล ผู้อำนวยการ สำนักงานเกษตรอำเภอเวียงสระ นายอาหมาด มณีหลำส๊ะ เกษตรอำเภอเวียงสระ โรงเรียนมหาราช2 นายไชยยุทธ คงอภัย ผู้อำนวยการโรงเรียน ศาลจังหวัดเวียงสระ นายเกรียงศักดิ์ รอดพันธ์ชู ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดเวียงสระ
~ 49 ~ ชื่อสถานที่ ผู้ประสานงาน ตำแหน่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บ้านห้วย กรวด ม. 3 ต.คลองฉนวน นายกิตติวัตร บุญทอง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพบ้านคลองฉนวน วิทยาลัยการอาชีพเวียงสระ ดร.ปณชัย เพชรปาน ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพเวียง สระ กลุ่มผู้สูงอายุ (ใต้ร่มเย็น)บ้านมหาราช นางประอรพิศ ไชยฤทธิ์ ประธานกลุ่ม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนวน นายถาวร เกิดเกลื่อน นายก อบต.คลองฉนวน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านคลอง ฉนวน หมู่ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน นายณรงค์ คำเรืองศรี ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพบ้านคลองฉนวน ผู้นำท้องที่ / ผู้นำชุมชนตำบลคลอง ฉนวน นายวีระศักดิ์ ลิกขไชย 0801447592 กำนันตำบลคลองฉนวน ชมรมผู้สูงอายุตำบลคลองฉนวน นางสมศรี ช่วยบำรุง0954126857 ประธานชมรมผู้สูงอายุ ต.คลองฉนวน กลุ่มช่วยคิด ช่วยทำ ตำบลคลองฉนวน นางสมศรี ช่วยบำรุง0954126857 ประธานกลุ่มผู้สูงอายุ รพสต.บ้านห้วยกรวด หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง/ ครัวเรือนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง บ้านคลองฉนวน นางกาญจนา ชัยภักดี 0925257851 บุคคลต้นแบบ กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรีต.คลองฉนวน นางสมบัติ นรินทร์ ประธานกลุ่มสตรีตำบลคลองฉนวน ชมรม อสม.ตำบลคลองฉนวน - รพ.สต.คลองฉนวน - รพ.สต.บ้านห้วยกรวด สาธารณสุขอำเภอเวียงสระ กลุ่มช่วยคิดช่วยทำ 49/5 หมู่ที่ 3 ต.คลองฉนวน นางสมศรี นาคบำรุง ศูนย์เรียนรู้ตามศาสตร์พระราชา หมู่ที่ 12 ตำบลคลองฉนวน นางจุไรพร อักสรสมบัติ บ่อน้ำพุร้อน หมู่ที่ 11 ตำบลคลองฉนวน นายไพโรจน์ บุญทอง วัดคลองฉนวน หมู่ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน พระครูขันติภลากร บ้านเศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน นางกาญจนา ชัยภักดี กศน.ตำบลคลองฉนวน หมู่ที่ 3 ตำบลคลองฉนวน นางสาวกรกนก ศรีน้อย บ้านหัตถศิลป์ หมู่ที่ 1 ตำบลคลองฉนวน นางปราณี ทิพย์ทอง เกษตรประจำตำบลคลองฉนวน สำนักงานเกษตรอำเภอเวียงสระ นายพจปชาย์ หนูเล็ก นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 077-361776
~ 50 ~ ชำนาญการ แหล่งเรียนรู้ ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง / ตำบล / อำเภอ ผู้รับผิดชอบ หนองน้ำ “หนองลุง” ม. 2 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นายธงชัย ชูทัพ วัดเวียงสระ ม.7 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี เจ้าอาวาสฯ ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงบ้านเวียง ม.7 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นายรัตตพล สุวรรณโชติ กศน.ตำบลเวียงสระ / ศรช.เทศบาลเมืองเวียง ม.8 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี ม.7 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นางรัชนี วงศ์สุริยากาศ น.ส.สุภาวดี วิจิตรรุ่งโรจน์ บ้านหนังสือชุมชนบ้านเวียงสระ ม.7 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นางรัตนาภรณ์ สุวรรณโชติ บ้านหนังสือชุมชนบ้านเวียง ม.7 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นางจันทร์จิรา อภิชาตกุล วัดคลองตาล ม.8 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี เจ้าอาวาสฯ ห้องสมุดประชาชนอำเภอเวียงสระ ม. 8 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี น.ส.ชุติกาญจน์ ศรีน้อย ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงบ้านหนอง โสน ม.9 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นายอุรุพงศ์ คะเชนทร์ ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงบ้านคลอง เสียว ม.10 ต.เวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี นายโกศล สุขเกษม ศูนย์สืบสานมโนราห์ปักษ์ใต้ บ้านปากลัด บ้านปากลัด ม.10 ต.ทุ่งหลวง อ.เวียงสระ นายชานนท์ ปรีชาชาญ 082-693 9519 วัดทุ่งหลวง บ้านโคกกรวด ม.16 ต.ทุ่งหลวง อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี พระปลัดพรณรงค์ วิชโย (เจ้าอาวาสวัดทุ่งหลวง) ฝายน้ำล้นบางลาย นายประสาน หลักซุม ผู้ใหญ่บ้าน บ่อน้ำร้อนบ้านในบอด นายไพบูลย์เมืองน้อย ผู้ใหญ่บ้าน หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง / ครัวเรือนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง นายสุพย์ปัญญา นิลประดิษฐ์ ผู้ใหญ่บ้าน