วันแรม 1 คำ่ เดอื น 8 ถึงขึน้ 15 ค่ำเดือน 11
http://www.pattaninfe.com/lbmueang/
วันเข้าพรรษา จัดเป็นพิธีกรรมของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
โดยทา่ นต้องประพฤติปฏิบัติตามพระพทุ ธบญั ญตั ิ (ขอ้ ทต่ี ้งั ขึน้ ให้
รู้ท่ัวกันการกาหนดเรียก การวางเป็นกฎข้อบังคับ) ท่ีทรงวางเป็น
ระเบียบข้อบังคับให้พระสงฆ์ต้องเขาจาพรรษาในสถานท่ีท่ีทรง
อนุญาตให้เข้าอาศัยอยู่ได้ และพิธีกรรมวันเข้าพรรษานี้
พุทธศาสนิกชนได้มีส่วนร่วมประกอบคุณงามความดีตามหน้าท่ี
ของชาวพุทธ เพือ่ ชว่ ยเหลอื พระสงฆอ์ ีกทางหนงึ่ ด้วย ซึง่ มปี ระวตั ิท่ี
น่าสนใจวันเขา้ พรรษา เริ่มตั้งแต่วันแรม ๑ ค่าเดือน ๘ จนถึงวัน
ข้ึน ๑๕ ค่าเดือน ๑๑ เรียกว่า ครบไตรมาส คือ ๓ เดือนน่ีเป็น
การเข้า "พรรษาต้น"ส่วนการเข้า"พรรษาหลัง"เริ่มต้ังแต่วันแรม
คา่ ๑ เดือน ๙ จนถึงวนั ขึ้น ๑๕ คา่ เดือน ๑๒
พระท่านจะทาการซ่อมแซมเสนาสนะที่ชารุดทรุดโทรมให้อยู่
ในสภาพที่ดีท่ีใช้อยู่อาศัยได้ จัดการปัดกวาดหยากไย่ เช็ดถูให้
สะอาด สาเหตุที่ต้องกระทาเสนาสนะให้มั่นคงและสะอาด ก็เพื่อจะ
ได้ใช้บาเพ็ญสมณกิจในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาได้เต็มที่ ไม่ต้องกลัว
ฝนจะร่ัวรดอุโบสถ ไหว้พระสวดมนต์เสร็จแล้วจึงกระทาพิธีเขา้ พรรษา
โดยกล่าวอธิษฐานต้ังใจเพื่ออยู่จาพรรษา ตลอดฤดูฝนในวันของท่าน
ทีต่ ้งั ใจจะอยู่
คากล่าวอธิษฐานพรรษาเป็นภาษาบาลีว่า "อิมัสะมิง อาวาเส
อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ" แปลว่า "ข้าพเจ้าขออยู่จาพรรษาในวัดน้ี
ตลอด ๓ เดอื น" โดยกลา่ วเป็นภาษาบาลีดงั น้ี ๓ คร้ัง ต่อจากน้ันพระ
ผู้น้อยก็กระทาสามีกิจกรรม คือ กล่าวขอขมาพระผู้ใหญ่ว่า "ขอขมา
โทษทไ่ี ดล้ ว่ งเกนิ ไปทางกาย วาจา ใจ เพราะประมาท"
ส่วนพระผู้ใหญ่ ก็กล่าวตอบว่า ลดโทษให้เป็นอันว่าต่างฝ่าย
ต่างให้อภัยกัน นับเป็นอันเสร็จพิธีเข้าพรรษาในเวลาน้ัน คร้ันวัน
ต่อไปพระผู้น้อยก็จะนาดอกไม้ธูปเทียนไปกราบพระเถรานุต่างวัด ผู้
ท่ตี นเคารพนบั ถอื
ประวัติพิธีเข้าพรรษาของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนามี
เร่ืองเล่าว่า ในประเทศอินเดยี ในสมัยโบราณ เม่ือถึงฤดฝู น น้ามัก
ท่วม ผู้ท่ีสัญจรไปมาระหว่างเมือง เช่น พวกพ่อค้า ก็หยุดเดินทาง
ไปมาชั่วคราว พวกเดียรถีย์และปริพาชกผู้ถือลัทธิต่าง ๆ ก็หยุดพัก
ณ สถานที่แห่งใดแห่งหนึ่งตลอดฤดูฝน ท้ังนี้เพราะการคมนาคม
ไม่สะดวก ทางเป็นหลุมเป็นโคลน เม่ือเกิดพระพุทธศาสนาแล้ว
พระพุทธเจา้ เสดจ็ จาริกเผยแพร่พระศาสนาต่อไป นับเปน็ พทุ ธจริยา
วัตรและในตอนแรกที่ยังมีพระภิกขุสงฆ์ไม่มาก พระภิกขุสงฆ์
ปฏิบัติประพฤติตามพระพุทธเจ้า ความครหานินทาใด ๆ ก็ไม่เกิด
มี ข้ึ น จึ ง ไ ม่ ต้ อ ง ท ร ง ตั้ ง บั ญ ญั ติ พิ ธี อ ยู่ จ า พ ร ร ษ า ค รั้ น พ อ
พระพทุ ธศาสนาแผข่ ยายออกไปกว้าง พระภิกขุสงฆ์ไดเ้ พิ่มปริมาณ
เพิม่ ข้นึ
วันหน่ึงพระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ในกรุงราชคฤห์ มี
พระภิกขุ ๖ รูป ฉัพพัคคีย์ แม้เมื่อถึงฤดูฝน ก็ยังพากันจาริกไปมา
เที่ยวเหยียบย่าข้าวกล้าหญ้าระบัด และสัตว์เล็กสัตว์น้อยให้เกิด
ความเสียหายและตายไป ประชาชนจึงพากันติเตียนว่าไฉนพระ
สมณศากยบุตรจึงเท่ียวไปมาอยู่ทุกฤดูกาล พากันเหยียบย่าข้าว
กล้าและต้นไม้ตลอดจนทั้งสัตว์หลายตายจานวนมาก แม้พวก
เดียรถยี แ์ ละปรพิ าชก ก็ยงั หยุดพกั ในฤดฝู นหรอื จนแม้แต่นกก็ยงั รูจ้ ัก
ทารังเพ่ือพักหลบฝน เม่ือความเร่ืองน้ีทราบถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงทรงบัญญัติเป็นธรรมเนียมให้พระภิกษุสงฆ์อยู่จาพรรษาในที่แห่ง
เดียวตลอด 3 เดือน คือ ต้ังแต่วันแรม ๑ ค่าเดือน ๘ ถึงวันขึ้น ๑๕
ค่าเดือน ๑๑ ห้ามมิให้พระภิกษุเที่ยวไปค้างคืนท่ีอื่น หากมีธุระกิจ
เป็นอันชอบด้วยพระวินัย จึงไปได้ด้วยการทาสัตตาหกรณียะ คือ
ต้องกลับมาท่ีพักเดิมภายใน ๗ วัน นอกจากนั้นห้ามเด็ดขาด และ
ปรับอาณัติแก่ผู้ฝ่าฝืนล่วงละเมิดพระบัญญัติพิธีการปฏิบัติในวัน
เข้าพรรษา มีความเป็นมาดงั กล่าวนี้
อันเนื่องในวันเข้าพรรษานั้นพุทธศาสนิกชนมีการกระทาบุญ
ตักบาตรกัน ๓ วัน คือวันข้ึน ๑๔ - ๑๕ ค่า และวันแรม ๑ ค่า เดือน
๘ และขนมท่ีนิยมทากันในวันเข้าพรรษาได้แก่ ขนมเทียน และท่าน
สาธุชนท่ีมีความเคารพนับถือพระภิกษุวัดใด ก็จัดเครื่องสักการะ เช่น
น้าตาล น้าอ้อย สบู่ แปรง ยาสีฟัน พุ่มเทียน เป็นต้น นาไปถวาย
พระภิกษุวัดน้ัน ยังมีส่ิงสักการะบูชาที่พุทธศาสนิกชนนิยมกระทากัน
เป็นงานบุญน่าสนกุ สนานอกี อย่างหน่ึงคือ
"เทียนเข้าพรรษา" บางแห่งจะมีการบอกบุญเพื่อร่วมหล่อ
เทียนแท่งใหญ่ แล้วแห่ไปต้ังในวัดอุโบสถ เพ่ือจุดบูชาพระรัตนตรัย
ตลอด ๓ เดือน การแห่เทียนจานาพรรษาหรือเทียนเข้าพรรษาจัดเป็น
งานเอิกเกริก มีฆ้องกลองประโคมอย่างสนุกสนาน และเทียนน้ันมี
การหลอ่ หรือแกะเป็นลวดลายและประดับตกแตง่ กนั อยา่ งงดงาม
เ ท ศ ก า ล เ ข้ า พ ร ร ษ า น้ี ถื อ กั น ว่ า เ ป็ น เ ท ศ ก า ล พิ เ ศ ษ
พุทธศาสนิกชนจึง ขะมักเขม้นในการบุญกุศลยิ่งกว่าธรรมดาบางคน
ตั้งใจรักษาอุโบสถตลอด ๓ เดือน บางคนตั้งใจฟังเทศน์ทุกวันพระ
ตลอดพรรษา มีผู้ต้ังใจทาความดีต่าง พิเศษข้ึน ท้ังมีผู้งดเว้นการ
กระทาบาปกรรมในเทศกาลเข้าพรรษา และคนอาศัยสาเหตุแห่ง
เทศกาลเข้าพรรษาตั้งสัตย์ปฏิญาณเลิกละอายมุกและความชั่ว
สามานย์ต่าง ๆ โดยตลอดไป จึงนับเป็นบุคคลท่ีควรได้รับการยกย่อง
สรรเสรญิ และไดร้ บั สง่ิ อนั เป็นมงคล
ระหว่างเทศกาลเข้าพรรษานั้น พุทธศาสนิกชนนิยมไปวัด
ถวาย ทาน รักษาศีล ฟังธรรมและเจริญจิตภาวนา ซึ่งเป็นการเว้น
จากการกระทาความช่ัวบาเพ็ญความดีและชาระจิตให้สะอาด
แจ่มใสเคร่งครัดย่ิงข้ึน หลักธรรมสาคัญที่สนับสนุน คุณความดี
ดังกล่าวก็คือ "วิรัติ"คาว่า "วิรัติ" หมายถึงการงดเว้นจากบาป และ
ความช่วั ต่าง ๆ จัดเป็นมงคลธรรมขอ้ หนึ่ง เป็นเหตุนาบุคคลผู้ปฏิบัติ
ตามไปส่คู วามสงบสขุ ปลอดภัยและความเจรญิ รุ่งเรืองย่ิงขึน้ ไปวิรัติ
การงดเวน้ จากบาปน้ัน จาแนกออกได้เป็น ๓ ประการ คอื
๑. สมั ปัตตวิรัติ ได้แก่การงดเว้นจากๆ ด้วยเกิดความรูส้ ึก
ละอาย (หิริ) และเกดิ ความรสู้ กึ เกรงกลัวบาป(โอตตปั ปะ) ขึน้ มาเอง
เชน่ บคุ คลที่ได้สมาทานศลี ไว้ เม่อื ถูกเพอ่ื นคะยนั้ คะยอใหด้ ม่ื สรุ า ก็
ไมย่ ่อมด่ืมเพราะละอาย และเกรงกลวั ต่อบาปว่าไม่ควรทช่ี าวพุทธจะ
กระทาเช่นนั้นในระหว่างพรรษา
๒. สมาทานวริ ัติ ไดแ้ กก่ ารงดเว้นจากบาป ความชวั่ และ
อบายมขุ ต่าง ๆ ดว้ ยการสมาทานศีล ๕ หรือศลี ๘ จากพระสงฆโ์ ดย
เพียรระมัดระวงั ไม่ทาใหศ้ ีลขาดหรือดา่ งพรอ้ ย แม้มสี ่งิ ยว่ั ยวน
ภายนอกมาเรา้ กไ็ มห่ วั่นไหวหรือเอนเอยี ง
๓. สมจุ เฉทวิรัติ ไดแ้ กก่ ารงดเวน้ จากบาป ความชัว่ และ
อบายมุขตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเดด็ ขาดโดยตรงเป็นคุณธรรมของพระอริย
เจ้า ถึงกระนน้ั สมุจเฉทวริ ตั ิ อาจนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั บคุ คลผงู้ ดเวน้
บาปความช่วั และอบายมุขตา่ ง ๆ ในระหวา่ งพรรษากาลแลว้ แมอ้ อก
พรรษาแลว้ ก็มกิ ลบั ไปกระทาหรือขอ้ งแวะอกี เชน่ กรณผี ูง้ ดเวน้ จาก
การดมื่ สุราและสงิ่ เสพตดิ ระหวา่ งพรรษากาล แลว้ กง็ ดเว้นได้
ตลอดไป เปน็ ตน้
วกิ พิ ิเดีย สารานกุ รมเสรี. (2560). วนั เขา้ พรรษา
สบื คน้ เมือ่ 1 กรกฎาคม 2565, จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อาเภอเมอื งปตั ตานี
http://www.pattaninfe.com/lbmueang/