The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติศาสตร์ ม.๒ หน่วยที่ ๑ แผนที่ ๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eakprim, 2022-09-16 02:21:27

ประวัติศาสตร์ ม.๒ หน่วยที่ ๑ แผนที่ ๔

ประวัติศาสตร์ ม.๒ หน่วยที่ ๑ แผนที่ ๔

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔

กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โรงเรยี นบ้านเม็กดำ
พ.ศ.
เรอื่ ง การตคี วามหลกั ฐาน

เวลา ๑ ชั่วโมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒

วันท่ี เดือน

๑.สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การตีความทางประวตั ิศาสตร์ เป็นข้นั ตอนในการแปลความ เรียบเรียง และอธิบายความเก่ียวกบั ความหมาย

ท่ีแทจ้ ริงของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เพ่ือใหเ้ ป็นท่ีเขา้ ใจตรงกนั

๒. ตวั ชี้วดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ ตวั ช้ีวดั
ส ๔.๑ ม. ๒/๓เห็นความสาคญั ของการตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ีน่าเชื่อถือ
๒.๒ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
- อธิบายความสาคญั ของการตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ได้

๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑) ตวั อยา่ งการตีความขอ้ มลู จากหลกั ฐานท่ีแสดงเหตุการณ์สาคญั ในสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี
๒) ความสาคญั ของการตีความทางประวตั ิศาสตร์
๓.๒ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
(พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา)

๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๓) ทกั ษะการสรุปลงความเห็น
๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๔) ทกั ษะการสร้างความรู้
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๑) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล
๒) ทกั ษะการวิเคราะห์
๔.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

๕. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๔. รักความเป็นไทย
๑. มีวินยั ๒. ใฝ่เรียนรู้

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้
สอนแบบ ธรรมสากจั ฉา

ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
๑. ครูเล่านิทาน เร่ือง กระตา่ ยตื่นตูม ใหน้ กั เรียนฟัง จากน้นั ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั ปัญหาท่ี
เกิดข้ึน
๒. ครูขออาสาสมคั รนกั เรียนเพ่ือเสนอแนะแนวทางแกไ้ ขปัญหา
๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด ขอ้ ๑ - ๒

ข้นั สอน
๑. แสวงหาความรู้

๑. ครูใหน้ กั เรียนช่วยกนั อธิบายวา่ การตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ควรมีหลกั การอยา่ งไร ครูตรวจสอบ
ความถกู ตอ้ ง และอธิบายใหน้ กั เรียนทกุ คนมีความเขา้ ใจชดั เจน

๒. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง แนวคิดเก่ียวกบั การตีความทางประวตั ิศาสตร์ ให้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ศึกษา
๓. ครูแจกบตั รคา ซ่ึงเป็นขอ้ ความบางตอนของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์เพ่ือใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ (กลุ่มเดิม

จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑) ร่วมกนั ทดลองตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยศึกษาคน้ ควา้ จาก
หนงั สือเรียน และใบความรู้
๔. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด ขอ้ ๑

๒. ค้นพบความรู้/สนทนาแลกเปลยี่ นความรู้
๑. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มนาความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษามาผลดั กนั อธิบายแลกเปลี่ยนความรู้กนั ภายในกลมุ่
จนสมาชิกทกุ คนมีความเขา้ ใจชดั เจน
๒. ครูแจกใบงานที่ ๑.๒ เร่ือง การตีความทางประวัติศาสตร์ ใหส้ มาชิกแตล่ ะคนในกลุม่ ช่วยกนั ทา
๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ขอ้ ๒

๓. วเิ คราะห์และประเมนิ ค่าความรู้
ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลงานในใบงานท่ี ๑.๒ หนา้ ช้นั เรียน ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งและใหข้ อ้ เสนอแนะ

๔. พสิ ูจน์ความรู้หรือปฏบิ ัติ
๑. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ผลดั กนั นาเสนอการตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จากบตั รคาท่ีกลุม่ ของตนไดร้ ับ
โดยใหเ้ พื่อนสมาชิกกล่มุ อื่นร่วมกนั แสดงความเห็นวา่ มีความเขา้ ใจตรงกนั หรือไม่
๒. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนช่วยกนั ยกตวั อยา่ งสาเหตขุ องปัญหาในการตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ และ
ร่วมกนั เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

ข้ันสรุป
ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความสาคญั ของการตีความทางประวตั ิศาสตร์

๗. การวดั และประเมนิ ผล เคร่ืองมือ เกณฑ์
วิธกี าร
ใบงานท่ี ๑.๒ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์
ตรวจใบงานท่ี ๑.๒
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒
ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คณุ ภาพ ๒
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
สงั เกตความมีวินยั ใฝ่ เรียนรู้ มุง่ มนั่ ในการ รายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
ทางาน และรักความเป็นไทย
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ ๒
ผา่ นเกณฑ์

แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดบั คุณภาพ ๒

ผา่ นเกณฑ์

๘. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๘.๑ ส่ือการเรียนรู้
1) หนงั สือเรียน ประวตั ิศาสตร์ ม.๒
2) ใบความรู้ เรื่อง แนวคดิ เก่ียวกบั การตีความทางประวตั ิศาสตร์

3) นิทานเร่ือง กระต่ายตื่นตมู

4) บตั รคา

5) ใบงานที่ ๑.๒ เรื่อง การตีความทางประวตั ิศาสตร์

๘.๒ แหล่งการเรียนรู้



(บนั ทึกผลหลงั สอน

 ปัญหา/อุปสรรค

ลงชอ่ื

(นายกอบเกยี รติ พฒั นนติ ศิ กั ด)ิ ์

ตาแหน่ง ครู

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื
( นายวรี ะศกั ดิ ์ ปัตตาลาโพธิ์ )

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นเมก็ ดา

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((ใ((บ((ค((ว((า((ม((ร((ู้((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

แนวคิดเกี่ยวกับการตคี วามทางประวัตศิ าสตร์

ผใู้ ชเ้ อกสารหลกั ฐาน ตอ้ งซื่อสัตยต์ ่อเอกสารหลกั ฐานและผูอ้ า่ น โดยไม่ตีความบิดเบือนหลกั ฐาน หรือปิ ดบงั
หลกั ฐานที่ขดั แยง้ กบั คาตอบท่ีตนตอ้ งการ การวเิ คราะห์ตีความ หมายถึง ความพยายามที่จะถอดความหรือเร่ืองราว
จากขอ้ สนเทศท่ีปรากฏในเอกสารหลกั ฐานดว้ ยใจเป็นกลางโดยจะตอ้ งดึงภาพจากความบนั ดาลใจความเขา้ อกเขา้ ใจ
ในอดีต เพ่อื สร้างความเคล่ือนไหว ความขดั แยง้ ชยั ชนะ ภูมิภาพ ความยากลาบาก พลงั ของสังคมอดีตและสวนข้ึนมา
ใหไ้ ด้ โดยไมน่ าค่านิยม หรือวฒั นธรรมสมยั ของตนไปวนิ ิจฉัยอดีต

อนั ตรายอยา่ งสาคญั ที่เกิดจากการตีความ คอื ผูต้ ีความมกั จะใส่ขอ้ ความตามความรู้ที่ตนมีอยู่ เพิ่มเติมเขา้ ไปใน
การตีความจากเอกสารหลกั ฐาน เป็นเหตุใหเ้ กิดการบิดเบือนความจริงโดยไม่ไดต้ ้งั ใจ

ตวั อยา่ ง การสร้างองคค์ วามรู้เกี่ยวกบั การเรียนรู้วชิ ามวย และความสามารถดา้ นศิลปะการตอ่ สู้ของพระยาพชิ ยั
(ดาบหกั ) ของงานเขยี นประวตั ิพระยาพิชยั ผูส้ รา้ งหลกั ฐานมีความรู้ทางเชิงมวย จะใส่ความรู้ของตนเองลงไปหรือ
ผเู้ ขยี นมีความรู้ศิลปะการต่อสู้ดว้ ยดาบ จะใส่ความรู้ของตนเองเขา้ ไป ผใู้ ชเ้ อกสารหลกั ฐานเหล่าน้ีอา้ งอิงในงานเขยี น
บทความหรืองานวจิ ยั เก่ียวกบั ทอ้ งถ่ินตอ้ งกลน่ั กรองใหร้ อบคอบ

อีกกรณีหน่ึงคอื การตีความเอกสาร หลกั ฐานที่เป็ นวรรณกรรม กฎหมายตอ้ งวิเคราะหต์ ีความใหร้ อบคอบ
เพราะเร่ืองราวที่ปรากฏในวรรณกรรม หรือกฎหมายอาจจะเป็ นเร่ืองที่เกิดข้ึนจริง และนามาเขยี นวรรณกรรม หรือ
เขียนกฎหมายออกมาใชแ้ กไ้ ขเม่ือเกิดเหตกุ ารณ์น้ีอีก แต่อาจไม่เกิดจริงกม็ ี เพราะบางเหตกุ ารณ์ท่ีระบใุ นวรรณคดีหรือ
ในกฎหมายยงั ไม่ไดเ้ กิด แต่ผสู้ ร้างหลกั ฐาน มีความรู้และประสบการณ์จากสงั คมอ่ืน ไดน้ ามาเขยี นไวใ้ นวรรณกรรม
หรือกฎหมาย ทาไม่รอบคอบอาจจะตีความผิดวา่ เหตกุ ารณ์ที่ปรากฏในงานวรรณกรรม กฎหมายเกิดข้ึนจริงในสังคม
ที่ศึกษา

สาหรับหลกั ฐานที่เป็ นสนธิสัญญาจะตอ้ งตีความอยา่ งระมดั ระวงั มาก เนื่องจากมีกฎเกณฑืเก่ียวกบั การทา
สนธิสัญญาไวว้ า่ ตอ้ งใชค้ าสุภาพและมีมารยาท ผูใ้ ชเ้ อกสารหลกั ฐานท่ีเป็นสนธิสญั ญา ตอ้ งใชค้ วามรอบคอบใน
การทาความเขา้ ใจกบั การใชส้ านวนภาษา และจุดมงุ่ หมายท่ีแทจ้ ริงของการทาสญั ญา มิฉะน้นั อาจทาใหต้ ีความผิดไป
จากความจริง ก่อใหเ้ กิดการนาเสนอภาพความสัมพนั ธ์ที่ผิดไปจากความจริง

ดงั น้นั ผใู้ ชเ้ อกสารหลกั ฐาน ตอ้ ง คานึงถึงแนวคิดหลกั ในการตีความ 2 ประการ คือ
ประการแรก ตีความ เอกสารหลกั ฐานน้นั บอกอะไรบา้ ง
ประการท่ีสอง คอื ตีความในข้นั ลึกและกวา้ ง คอื ตีความวา่ ขอ้ ความเรื่องราวท่ีปรากฏในเอกสารหลกั ฐานน้นั
มีขอ้ มลู ใดแฝงเร้นอยอู่ ีกบา้ ง ที่ผสู้ ร้างหลกั ฐานไม่ไดบ้ อกไวช้ ดั เจนเหมือนขอ้ ความอ่ืน ๆ ซ่ึงผใู้ ชเ้ อกสารหลกั ฐานตอ้ ง
วเิ คราะหต์ ีความ สร้างองคค์ วามรู้ข้ึนใหม่เพือ่ เป็นเอกสารหลกั ฐานช้นั รองต่อไป

ที่มา : สุทธินี จนั ทรัตน์. [ม.ป.ป.] “แนวคิดเกี่ยวกบั การใชเ้ อกสารหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์เพื่อสร้างองคค์ วามรู้
ใหน้ ่าเช่ือถือ” วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์. อตุ รดิตถ์ : คณะมนุษยศ์ าสตร์และสังคมศาสตร์.
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ.์

เอกสารประกอบการสอน

นทิ าน เร่ือง กระต่ายตื่นตูม
กาลคร้ังหน่ึงนานมาแลว้ พระโพธิสัตวเ์ กิดเป็นราชสีหอ์ าศยั อยใู่ นป่ าแห่งหน่ึง มีดงตาลกบั ตน้ มะตมู อยตู่ ิด
ทะเลดา้ นทิศตะวนั ตกของป่ าน้นั ณ ท่ีดงตาลน้นั มีกระตา่ ยตวั หน่ึงอาศยั อยใู่ ตต้ น้ ตาลใกลต้ น้ มะตูมตน้ หน่ึง วนั หน่ึง
เจา้ กระต่ายออกเท่ียวหากินอิ่มแลว้ กลบั มานอนพกั ผ่อนอยใู่ ตใ้ บตาลแหง้ กาลงั นอนคดิ เพลินๆ อยวู่ า่ “ถา้ หากแผน่ ดิน
น้ีถล่ม เราจะไปอยทู่ ่ีไหนหนอ” ทนั ใดน้นั เองผลมะตูมสุกลูกหน่ึงไดห้ ล่นลงมาถกู ใบตาลเสียงดงั ลน่ั เจา้ กระต่ายนึกวา่
เป็นเสียงแผ่นดินถลม่ จึงร้องข้ึนสุดเสียงวา่ “แผน่ ดินถลม่ แลว้ ๆ ” พร้อมกบั กระโดดวิง่ หนีไปสุดชีวิตโดยไม่เหลียว
หลงั มาดูเลย
กระตา่ ยตวั อื่นๆ เห็นมนั วงิ่ หนีอะไรมาสุดชีวิตจึงร้องถามมนั วา่ “เจา้ ว่ิงหนีอะไรมา” มนั ท้งั วิ่งท้งั ร้องตอบวา่
“รีบหนีเร็ว แผน่ ดินถล่มแลว้ ๆ” กระตา่ ยจานวนนบั พนั ตา่ งก็รีบวิ่งหนีตายตามมนั ไปดว้ ย สัตวป์ ่ านานาชนิดเมื่อทราบ
ข่าวต่างกว็ ิ่งหนีตามกระต่ายไป ฝงู สตั วว์ ิง่ หนีตามกนั มาเป็นทิวแถว ราชสีหเ์ ห็นสตั วน์ อ้ ยใหญ่วิ่งกนั มาฝ่ นุ ฟุ้งกระจุย
จึงร้องถามไปวา่ “พวกเจา้ วิ่งหนีอะไรมา” ไดร้ ับคาตอบวา่ “เจา้ นาย แผน่ ดินท่ีโนน้ ถล่มแลว้ พวกเราวิ่งหนีตาย” แลว้ ก็
วงิ่ ไปต่อ บา่ ยหนา้ ไปทางหนา้ ผาสูงชนั โดยไม่รู้ตวั ราชสีหด์ ว้ ยความกรุณาในสัตวท์ ้งั หลายเกรงวา่ จะตกเหวตายเสีย
หมด จึงว่งิ ไปดกั ขา้ งหนา้ พร้อมกบั คารามเสียงดงั ลน่ั ข้ึน ๓ คร้ัง สัตวท์ ้งั หลายพอไดย้ นิ เสียราชสีห์ก็พากนั ตกใจกลวั
ต่ืนจากภวงั คแ์ ละหยดุ วง่ิ
ราชสีหจ์ ึงถามวา่ “ใครเห็นแผน่ ดินถล่มบา้ ง” พวกสตั วบ์ อกวา่ “ชา้ งเห็นขอรับ” ชา้ งบอกวา่ “เสือเห็น” เสือ
บอกวา่ “แรดเห็น” แรดบอกวา่ “ควายเห็น” ควายบอกวา่ “หมปู ่ าเห็น” หมูป่ าบอกวา่ “กวางเห็น” กวางบอกวา่
“กระตา่ ยเห็น” พวกกระต่าย จึงช้ีบอกวา่ “กระต่ายตวั น้ีเห็นแผน่ ดินถล่มครับ..นาย” ราชสีหจ์ ึงถามกระตา่ ยตวั น้นั วา่
เป็นจริงหรือเปล่า กระตา่ ยตอบวา่ “ขา้ พเจา้ เห็นจริงๆ นายท่าน ขณะท่ีขา้ พเจา้ กาลงั นอนพกั ผอ่ นอยใู่ ตใ้ บตาลก็มีเสียง
ดงั สนนั่ หวนั่ ไหวข้นึ ขา้ พเจา้ จึงว่งิ หนีตายมาน่ีละ.... นายทา่ น”
เพื่อตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง ราชสีหจ์ ึงบอกใหส้ ัตวท์ ้งั หลายรออยทู่ ี่ตรงน้นั ส่วนตนและเจา้ กระตา่ ยไดเ้ ดินกลบั ไป
ดูสถานที่ตน้ เหตุ ตรวจดูเห็นผมมะตมู สุกลูกหน่ึงวางอยู่กเ็ ขา้ ใจทนั ที จึงกลบั มาบอกสตั วท์ ้งั หลายวา่ “ทา่ นท้งั หลาย
เลิกกลวั ไดแ้ ลว้ เสียงแผน่ ดินถลม่ เป็นเสียงผลมะตูมสุกหล่นกระทบใบตาลแหง้ ดอก เลิกกลวั ไดแ้ ลว้ ” สตั วท์ ้งั หลาย
อาศยั ราชสีห์จึงเอาชีวติ รอดมาได้
พระพทุ ธองคจ์ ึงตรัสพระคาถาวา่ “พวกคนโง่เขลายงั ไม่ทนั รู้เรื่องราวแจม่ แจง้ ฟังคนอ่ืนโจษขาน กพ็ ากนั ตื่น
ตระหนก พวกเขาเช่ือคนงา่ ย ส่วนคนเหล่าใดเป็นนกั ปราชญ์ เพียบพร้อมดว้ ยศีลและปัญญา ยนิ ดีในความสงบ และ
เวน้ ไกลจากการทาชวั่ คนเหล่าน้นั หาเช่ือคนอ่ืนง่ายไม่”
นทิ านเร่ืองนีส้ อนให้รู้ว่า
ก่อนจะเชื่ออะไรใคร ควรพจิ ารณาตรวจสอบความเป็นจริงเสียก่อน เพอื่ ความถกู ตอ้ งจะไดไ้ ม่เป็นเช่นกระต่าย
ต่ืนตูม

ทม่ี า : www.dhammathai.org/chadoknt/chadoknt03.php

บตั รคา

ผ้าเยยี รบบั กับการแต่งกายในราชสานกั ไทย
“...พระนารายน์มหาราชซงเผยพระบญั ชรสเด็ดออกไหเ้ ราเฝ้า พระมหากสัตรพระองคน์ ้ี ซงพระมาลายอดแหลม
คลา้ ยกนั กบั หมวกยอดท่ีเราเคยไชก้ นั ไนประเทสฝรั่งเสสไนกาลก่อน แตร่ ิมไมก่ วา้ งกวา่ หน่ึงนิ้ว พระมาลาน้นั มีสายรัดทา
ดว้ ยไหมทาบไตพ้ ระหนุ ซงฉลองพระองคเ์ ยยี ระบบั สีเพลิงสลบั ทอง สอดพระแสงกริดไวท้ ่ีรัด พิตรอนั วิจิตรงดงาม
และซงพระธามรงคอ์ นั มีคา่ ทุกนิ้วพระหถั ...”

เอกสารจดหมายเหตฟุ อร์บัง
ท่ีมา : http://emuseum.treasury.go.th/article/๔๓๙-pha.html

เหตกุ ารณ์ปลายสมยั กรุงธนบุรี
“.......อยภู่ ายหลงั กรุงธนบรุ ีเกิดโกลี พนั ศรีพนั ลาเป็นตน้ ฟ้องว่า ขนุ นางและราษฎรขายขา้ วเกลือลงสาเภา โยธาบดี
ผรู้ ับฟ้องกราบทลู รับส่ังใหเ้ ร่งเงินท่ีขนุ นางราษฎรขายขา้ วเกลือ ใหเ้ ฆี่ยนเร่งเงินเขา้ ทอ้ งพระคลงั ร้อนทุกเส้นหญา้ สมณ
ราษฎรไมม่ ีสุข ยคุ เขญ็ เป็นท่ีสุดในปลายแผน่ ดิน เงินในคลงั ในหาย ๒,๐๐๐ เหรียญๆ ละ ๑ บาท ๓ สลึง ๑ เฟ้ื อง แพร
เหลือง ๑๐ มว้ น รับสั่งเรียกหาไม่ได้ ชาวคลงั ตอ้ งเฆ่ียนใส่ไฟย่างแสนสาหสั ท่านสงสัยวา่ ขา้ งในขโมยเงินในคลงั จนพระ
มาตุจฉาพระพีน่ างเธอใหจ้ าหม่อมเจา้ นดั ดาแทนมารดาเจา้ แทนอยงู่ าน คนราใหญใ่ หเ้ ฆ่ียนคนละ ๑๕๐ คนละ ๑๐๐ คนละ
๕๐ คนราเลก็ ใหพ้ ่อใหแ้ มพ่ น่ี อ้ งทาสรับพระราชอาญา ๑๐๐ ใหเ้ จา้ ตวั แต่คนละ ๒๐ ที คนละ ๑๐ ทีตามรับสั่ง”

จดหมายเหตุความทรงจาของพระเจ้าไปยิกาเธอ
กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพธ์ิ)

ท่มี า : นรินทรเทวี, กรมหลวง. 2526. จดหมายเหตคุ วามทรงจาของกรมหลวงนรินทรเทวี (พ.ศ.2310-2381)
และพระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว. พมิ พค์ ร้ังที่ 6. กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร

การแต่งงานของชาวสยาม
“...งานน้ีจดั ข้นึ ที่บา้ นฝ่ ายเจา้ สาว ซ่ึงเจา้ บา่ วตอ้ งเอาเป็นธุระปลูกโรงสาหรับทาพิธีข้ึนหลงั หน่ึงโดยเฉพาะ ในบริเวณ
ท่ีห่างออกไปจากเรือนใหญ่ และจากที่นน่ั กน็ าคู่บา่ วสาวไปสู่เรือนหอซ่ึงต้งั อยโู่ ดดเดี่ยวอีกหลงั หน่ึง เป็นภาระของเจา้ บา่ ว
ท่ีจะตอ้ งปลกู สร้างข้ึนดว้ ยทุนรอนของตนเองเหมือนกนั เรือนหอต้งั อยภู่ ายในร้ัวไมไ้ ผภ่ ายในบริเวณบา้ นบิดามารดาของ
ฝ่ ายหญิง คแู่ ตง่ งานใหมจ่ ะพานกั อยทู่ ี่เรือนหอน้ี 3-4 เดือน แลว้ จึงแยกออกไปปลูกเรือนอยใู่ นที่แห่งใหม่ตามใจชอบของ
ตนเองต่อไป”

จดหมายเหตุลาลแู บร์

ทม่ี า : เดอ ลา ลูแบร์, มร. 2548. จดหมายเหตุ ลา ลแู บร์: ราชอาณาจักรสยาม แปลโดย สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร. นนทบรุ ี :
สานกั พิมพศ์ รีปัญญา.

ใบงานท่ี ๑.๒
เร่ือง การตีความทางประวตั ิศาสตร์

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี
๑. การตีความทางประวตั ิศาสตร์ของนกั ประวตั ิศาสตร์ท่ีดี ควรมีคุณลกั ษณะอยา่ งไร

๒. จดหมายเหตลุ าลแู บร์ มีความสาคญั อยา่ งไรในการตีความทางประวตั ิศาสตร์ของกรุงศรีอยธุ ยา

๓. “การตีความทางประวตั ิศาสตร์ มีความสาคญั ตอ่ การคน้ หาความจริงทางประวตั ิศาสตร์” นกั เรียนเห็นดว้ ย
กบั ขอ้ ความดงั กล่าวหรือไม่ อยา่ งไร

๔. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่สร้างข้ึนโดยคนไทยและชาวตา่ งชาติ มีความสาคญั แตกต่างกนั หรือไม่
อยา่ งไร

๕. นกั เรียนสามารถนาวิธีการตีความทางประวตั ิศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร จงอธิบาย

ใบงานท่ี ๑.๒
เร่ือง การตีความทางประวตั ศิ าสตร์

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี
๑. การตีความทางประวตั ิศาสตร์ของนกั ประวตั ิศาสตร์ท่ีดี ควรมีคุณลกั ษณะอยา่ งไร

ไม่ตีความบิดเบือนหลกั ฐาน มใี จเป็นกลาง ปราศจากอคติ ไม่นาค่านิยมของตนไปตดั สินอดตี ไม่นาความรู้ของ
ตนเองเข้าไปปะปนกบั การตคี วาม มวี ิจารณญาณในการกลัน่ กรองความจริงอย่างรอบคอบ

๒. จดหมายเหตลุ าลูแบร์ มีความสาคญั อยา่ งไรในการตีความทางประวตั ิศาสตร์ของกรุงศรีอยธุ ยา

ได้ศึกษาประวตั ิศาสตร์ของกรุงศรีอยธุ ยาผ่านมุมมองของชาวต่างชาติจากหลกั ฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
โดยเฉพาะวิถชี ีวิต ความเป็นอยู่ สังคม ประเพณี และวฒั นธรรมของชาวกรุงศรีอยธุ ยา

๓. “การตีความทางประวตั ิศาสตร์ มีความสาคญั ต่อการคน้ หาความจริงทางประวตั ิศาสตร์” นกั เรียนเห็นดว้ ย
กบั ขอ้ ความดงั กลา่ วหรือไม่ อยา่ งไร

(พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อย่ใู นดุลยพินิจของครูผู้สอน)

๔. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ีสร้างข้ึนโดยคนไทย และชาวตา่ งชาติ มีความสาคญั แตกต่างกนั หรือไม่
อยา่ งไร

หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสร้างขึน้ โดยคนไทย จะเข้าใจวิถชี ีวิต ความเป็นอยู่ ลกั ษณะสังคม ประเพณี และ
วัฒนธรรมของคนไทย แต่มักจะเขยี นในแง่ดี สื่อถึงความอุดมสมบรู ณ์ของทรัพยากร ความยิ่งใหญ่เกรียงไกรของ
พระมหากษัตริย์ ส่วนหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่สร้ างขึน้ โดยชาวชาติ อาจเขยี นด้วยความไม่เข้าใจในความเป็นไป
ของสังคมไทยในด้านต่างๆ แต่ส่ือถึงมมุ มองของชาวต่างชาติที่มตี ่อสังคมไทยในขณะนน้ั

๕. นกั เรียนสามารถนาวธิ ีการตีความทางประวตั ิศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไร จงอธิบาย

(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อย่ใู นดลุ ยพินิจของครูผู้สอน)

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน

คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการที่กาหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
๔๓๒ ๑

๑ นาเสนอเน้ือหาในผลงานไดถ้ ูกตอ้ ง

๒ การลาดบั ข้นั ตอนของเน้ือเรื่อง

๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ

๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลมุ่

๕ การตรงตอ่ เวลา

รวม

ลงชื่อ ผปู้ ระเมิน

(นายกอบเกียรติ พฒั นนิติศกั ด์ิ)
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องบางส่วน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๓ คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ ๒ คะแนน ๑๘ – ๒๐ ดีมาก
ให้ ๑ คะแนน
๑๔ – ๑๗ ดี

๑๐ – ๑๓ พอใช้

ต่ากวา่ ๑๐ ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบุคคล

คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดับ ช่ือ-สกลุ ความมวี ินยั ความมีน้าใจ การรับฟัง การแสดง การตรงต่อ รวม
ท่ี ของผู้รับการประเมนิ เอือ้ เฟื้ อ ความคดิ เห็น ความคิดเหน็ เวลา ๒๐
เสียสละ คะแนน

๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑

ลงชื่อ ผปู้ ระเมิน

(นายกอบเกียรติ พฒั นนิติศกั ด์ิ)
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ๑๘ – ๒๐ ดีมาก
ให้ ๑ คะแนน
๑๔ – ๑๗ ดี

๑๐ – ๑๓ พอใช้

ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง
ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดับ ช่ือ-สกลุ ความ การแสดง การรับฟัง ความต้งั ใจ การแก้ไข รวม
ที่ ของผู้รับการประเมิน ร่วมมือกนั ความคิดเห็น ความคดิ เห็น ทางาน ปัญหา/หรือ ๒๐
ทากจิ กรรม ปรับปรุง คะแนน
ผลงานกล่มุ

๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑

ลงชื่อ ผปู้ ระเมิน

(นายกอบเกียรติ พฒั นนิติศกั ด์ิ)
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ๑๘ – ๒๐ ดีมาก

๑๔ – ๑๗ ดี

๑๐ – ๑๓ พอใช้

ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง
ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงค์ด้าน ๔๓๒ ๑
๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเม่ือไดย้ นิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ
เพลงชาติ
กษตั ริย์
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามสิทธิและหนา้ ทขี่ องนกั เรียน
๒. ซ่ือสัตย์ สุจริต
๑.๓ ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทางานกบั สมาชิกในโรงเรียน
๓. มีวนิ ยั รับผิดชอบ
๔. ใฝ่ เรียนรู้ ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมท่ีสร้างความสามคั คี
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชุมชน

๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบตั ิตนตามหลกั ของศาสนา

๑.๖ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมท่ีเก่ียวกบั สถาบนั
พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรียนและชุมชนจดั ข้นึ

๒.๑ ให้ขอ้ มูลที่ถกู ตอ้ ง และเป็นจริง

๒.๒ ปฏิบตั ิในสิ่งท่ีถูกตอ้ ง ละอาย และเกรงกลวั ท่ีจะทาความผดิ ทาตามสญั ญา
ท่ีตนให้ไวก้ บั เพือ่ น พ่อแม่ หรือผปู้ กครอง และครู

๒.๓ ปฏิบตั ิต่อผอู้ น่ื ดว้ ยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง

๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของครอบครัว
และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวนั
และรับผดิ ชอบในการทางาน

๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรียนรู้ต่างๆ

๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ

๔.๓ สรุปความรู้ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล

๕.๑ ใชท้ รัพยส์ ินของตนเอง เช่น ส่ิงของ เคร่ืองใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม

๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดี
๕.๓ ปฏิบตั ิตนและตดั สินใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตุผล
๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ ่นื และไมท่ าใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อน พร้อมใหอ้ ภยั เม่ือผอู้ ่ืน

กระทาผดิ พลาด

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อันพงึ ประสงค์ด้าน ๔๓๒ ๑
๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ ีวติ ประจาวนั บนพน้ื ฐานของ
๖. มุ่งมน่ั ในการ ความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร
ทางาน
๕.๖ รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับและ
๗. รักความเป็ นไทย ปรับตวั อยรู่ ่วมกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
๘. มจี ติ สาธารณะ
๖.๑ มีความต้งั ใจและพยายามในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
๖.๒ มีความอดทนและไมท่ อ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพือ่ ใหง้ านสาเร็จ
๗.๑ มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย
๗.๒ เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย
๘.๑ รู้จกั ช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน
๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบ่งปันสิ่งของใหผ้ อู้ ่ืน
๘.๓ ดูแล รักษาทรัพยส์ มบตั ิของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน
๘.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน

(นายกอบเกียรติ พฒั นนิติศกั ด์ิ)
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ๙๑ – ๑๐๐ ดีมาก
ให้ ๑ คะแนน
๗๓ – ๙๐ ดี

๕๔ – ๗๒ พอใช้

ต่ากว่า ๕๔ ปรับปรุง


Click to View FlipBook Version