The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผน 1-5 ประวัติศาสตร์ ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eakprim, 2022-09-14 02:05:36

แผน 1-5 ประวัติศาสตร์ ม.2

แผน 1-5 ประวัติศาสตร์ ม.2

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕

กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ ความสำคัญของหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์

เรื่อง การวเิ คราะห์และสังเคราะหข์ ้อมูล

เวลา ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ โรงเรยี นบา้ นเมก็ ดำ

วนั ท่ี เดอื น พ.ศ.

๑.สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การวเิ คราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล มีความสาคญั ต่อการคน้ หาความจริงประวตั ิศาสตร์ และอานวยความ

สะดวกในการนาเสนอขอ้ มูล

๒. ตัวชี้วัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ ตวั ช้ีวดั
ส ๔.๑ ม.๒/๒ วิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งความจริงกบั ขอ้ เทจ็ จริงของเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์-
๒.๒จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
- บอกความสาคญั ของการวิเคราะห์และสงั เคราะห์ขอ้ มลู ทางประวตั ิศาสตร์ได้

๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑) ตวั อยา่ งการวิเคราะห์ขอ้ มลู จากเอกสารตา่ งๆ ในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี (เช่ือมโยงกบั มฐ. ส ๔.๓) เช่น
ขอ้ ความบางตอนในพระราชพงศาวดารอยธุ ยา จดหมายเหตชุ าวต่างชาติ
๒) ความสาคญั ของการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์
๓.๒ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
(พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา)

๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๒) ทกั ษะการวิเคราะห์
๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๔) ทกั ษะการสร้างความรู้
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๑) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล
๓) ทกั ษะการสรุปลงความเห็น
๔.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

๕. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

๑. มีวินยั ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุง่ มนั่ ในการทางาน ๔. รักความเป็นไทย

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้
สอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ

ข้นั ที่ ๑ สังเกต
๑. ครูใหน้ กั เรียนอา่ นลิลิตตะเลงพา่ ย ตอน ทพั หนา้ ไทยปะทะ หงสาวดี แลว้ แปลสรุปเป็นใจความสาคญั ส้นั ๆ
จากน้นั วเิ คราะห์และสังเคราะหใ์ หน้ กั เรียนฟังวา่ มีสาระสาคญั คือ กลา่ วถึงประเพณีการรบในสมยั
กรุงศรีอยธุ ยา ซ่ึงขณะน้นั อยใู่ นรัชสมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
๒. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด

ข้นั ที่ ๒ อธิบาย
๑. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เร่ือง การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ อ้ มลู จากหนงั สือเรียน แลว้ บนั ทึกลงใน
แบบบนั ทึกการอ่าน
๒. ครูขออาสาสมคั รเพ่ือแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหห์ ลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
ประเภทวรรณคดี วา่ มีขอ้ ควรระวงั อยา่ งไร โดยใหน้ กั เรียนแยกแยะส่วนที่เป็นความจริง ขอ้ เทจ็ จริง และ
ความคดิ เห็นของผบู้ นั ทึก รวมท้งั วิเคราะห์สาเหตุของเหตุการณ์และผลท่ีเกิดข้ึนหลงั จากเหตุการณ์น้นั
๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ

ข้นั ที่ ๓ รับฟัง
๑. ครูสุ่มนกั เรียนใหแ้ สดงความคิดเห็นท่ีแตกตา่ งจากนกั เรียนที่เป็นอาสาสมคั ร โดยครูอธิบายวา่ ตอ้ งเป็น
การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งสมเหตุสมผล รับฟังความคิดเห็นของเพอ่ื น ไม่ใชอ้ ารมณ์และความคดิ ของ
ตนเองเป็ นใหญ่
๒. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ

ข้นั ที่ ๔ เช่ือมโยงความสัมพนั ธ์
๑. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง ตวั อย่างการวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางประวตั ิศาสตร์ ใหส้ มาชิกแตล่ ะกลุ่มศึกษา และ
เช่ือมโยงความเขา้ ใจของตนเองกบั ความรู้ใหม่
๒. ครูแจกใบงานท่ี ๑.๓ เร่ือง การวเิ คราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่ม (กลุม่ เดิมจากแผน
การจดั การเรียนรู้ที่ ๑) ช่วยกนั ทา โดยศึกษาขอ้ มูลตวั อยา่ งจากหนงั สือเรียน
๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ

ข้นั ที่ ๕ วิจารณ์
๑. ครูใหต้ วั แทนของแตล่ ะกลมุ่ ผลดั กนั นาเสนอใบงานที่ 1.3 หนา้ ช้นั เรียน แลว้ ใหส้ มาชิกกลมุ่ อ่ืนช่วยกนั
วจิ ารณ์ผลงาน ของเพื่อน โดยจาแนกขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ย พร้อมยกเหตุผลและขอ้ เสนอแนะประกอบการวจิ ารณ์
๒.นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด

ข้ันท่ี ๖ สรุป
ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความสาคญั ของการวิเคราะห์และสงั เคราะหข์ อ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์ โดยให้

นกั เรียนบนั ทึกขอ้ มูลลงในสมุด

๏ ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจดั ทาป้ายนเิ ทศ เรื่อง ความสาคญั ของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ โดยให้

ครอบคลมุ ประเดน็ ตามที่กาหนด ดงั น้ี

๑. การวิเคราะห์วิธีการทางประวตั ิศาสตร์

๒. การจาแนกหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์แต่ละประเภท

๓. การอธิบายความแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ มูลกบั ความคดิ เห็น และความจริงกบั ขอ้ เทจ็ จริง

๔. การยกตวั อยา่ งการวิเคราะห์และตีความหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

๏ นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1

๗. การวดั และประเมนิ ผล

วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ ๑.๓ ใบงานท่ี ๑.๓ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์

ตรวจแบบบนั ทึกการอา่ น แบบบนั ทึกการอ่าน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ มุง่ มนั่ ในการทางาน แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

และรักความเป็ นไทย

ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์

ตรวจป้ายนิเทศ เรื่อง ความสาคญั ของหลกั ฐานทาง แบบประเมินป้ายนิเทศ เรื่อง ความสาคญั ของ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

ประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

๘. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๘.๑ สื่อการเรียนรู้
๑. หนงั สือเรียน ประวตั ิศาสตร์ ม.๒
๒. ใบความรู้ เรื่อง ตวั อยา่ งการวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางประวตั ิศาสตร์
๓. ลิลิตตะเลงพ่าย ตอน ทพั ไทยปะทะหงสาวดี
๔. ใบงานที่ ๑.๓ เร่ือง การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ อ้ มูล
๘.๒แหลง่ การเรียนรู้


(บนั ทกึ ผลหลงั สอน

 ปัญหา/อปุ สรรค

ลงช่อื

(นายกอบเกยี รติ พฒั นนิตศิ กั ด)ิ ์

ตาแหน่ง ครู

ความเห็นของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรือผ้ทู ่ีได้รับมอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื
( นายสมาธิ พนิ ิจกจิ )

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นเมก็ ดา

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

(((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((((

แบบประเมนิ ชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินป้ายนเิ ทศ เรื่อง ความสาคญั ของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

ลาดับที่ รายการประเมนิ ๔ ระดับคะแนน ๑
๓๒

๑ การวเิ คราะห์วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์

๒ การจาแนกหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์แต่ละประเภท

๓ การอธิบายความแตกต่างระหวา่ งขอ้ มูลกบั
ความคิดเห็น และความจริงกบั ขอ้ เทจ็ จริง

๔ การยกตวั อยา่ งการวิเคราะหแ์ ละตีความหลกั ฐานทาง
ประวตั ิศาสตร์

รวม

ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน
............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ดีมาก
ดี = ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
พอใช้ = ๓ คะแนน
ปรับปรุง = ๒ คะแนน ๑๔ – ๑๖ ดีมาก
= ๑ คะแนน
๑๑ – ๑๓ ดี

๘ – ๑๐ พอใช้

ต่ากวา่ ๘ ปรับปรุง

ใบความรู้

ตวั อย่างการวิเคราะห์ข้อมูลทางประวตั ศิ าสตร์

“…แตถ่ ึงเน้ือจะดีอยา่ งไร พ่อครัวคนสยามก็มกั จะทาใหเ้ สียรสไปดว้ ยเคร่ืองแกงที่เขาปรุงข้นึ แกงทกุ
ชนิดเขาจะ ใส่บอระมานกงุ้ เน่า คนสยามเรียกวา่ กะปิ (Capy) เรียกกนั พ้ืนๆ วา่ Balachan มีกล่ินเหมน็ เน่า น่า
คล่ืนไส้สาหรับผทู้ ี่ ไมเ่ คยไดก้ ลิ่นเช่นน้นั พวกพ่อครัวอา้ งวา่ มนั ทาใหเ้ น้ือมีรสชาติน่ากินข้ึน น้าแกงทกุ ชนิด
ที่วา่ ดีๆ น้นั ประกอบดว้ ยเกลือ, พริกไทย, ขิง, อบเชย, กานพลู, กระเทียม, หอมขาว, จนั ทน์เทศกบั ผกั กลิ่น
ฉุนๆ อีกหลายชนิด พร้อมกบั กุง้ ป่ นเปี ยกอยา่ งท่ีวา่ น้นั ...”

(นิโกลาส์ แชร์แวส (ฉบบั แปล), ๒๕๐๖ : ๙๖-๙๗)

“...พวกเขาชอบบริโภคน้าจิ้มเหลวชนิดหน่ึงคลา้ ยกบั มสั ตาร์ด ประกอบดว้ ยกุง้ เคยเน่าเพราะหมกั ไม่ได้
ที่ เรียก กะปิ (Capi)…”

(ซิมง เดอ ลาลแู บร์ (ฉบบั แปล), ๒๕๔๘ : ๑๒๑)

จากขอ้ ความดงั กลา่ ว สามารถวิเคราะหไ์ ด้ ดงั น้ี
๑. กะปิ เป็นเคร่ืองปรุงซ่ึงไดก้ ลายมาเป็นหน่ึงในวฒั นธรรมอาหารของไทยต้งั แตส่ มยั อยธุ ยาจนกระทง่ั
ปัจจุบนั สาหรับชาวสยามแลว้ เคร่ืองปรุงชนิดน้ี ช่วยเพิ่มความกลมกลอ่ มใหก้ บั รสชาติอาหารได้
หลายชนิด เช่น น้าพริก และยงั ใชเ้ ป็นส่วนผสมของเคร่ืองแกงมากมาย
๒.คาวา่ “กุง้ เน่า กุง้ ป่ นเปี ยก” ของแชร์แวส หรือ คาวา่ “กุง้ เคยเน่า” ของลาลแู บร์สะทอ้ นความรู้สึก ไม่
ชอบเคร่ืองปรุงชนิดน้ีของชาวสยาม
๓. ในความเป็นจริงกะปิ คิดข้ึนมาโดยชาวประมงท่ีตอ้ งการจะดองกงุ้ ท่ีจบั มาได้ เพ่อื จะไดเ้ กบ็ ไวบ้ ริโภค
ไดใ้ นระยะเวลานาน หรือ อีกขอ้ สนั นิษฐานหน่ึงกล่าววา่ เนื่องจากกงุ้ มีจานวนมาก ขายไม่หมด จึงมี
การดองเก็บไว้ ไม่วา่ ขอ้ สนั นิษฐานจะเป็นอยา่ งไร ส่ิงหน่ึงท่ีเรารับรู้นนั่ คอื ภมู ิปัญญาของบรรพบุรุษ
ที่รู้คณุ คา่ ของอาหาร ไม่เหลือทิง้ อยา่ งฟ่ มุ เฟื อย แต่กลบั นามาแปรรูปกลายเป็นเคร่ืองปรุงที่อยคู่ ูส่ ยาม
มาจนถึงปัจจุบนั

ที่มา : พนั ธจ์ ิต ดวงจนั ทร์. [ม.ป.ป.]. การกนิ ของชาวสยาม ใน หนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมือง
แห่ง ราชอาณาจักรสยามของ นิโกลาส์ แชร์แวส. มหาสารคาม : คณะมนุษยศ์ าสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

เอกสารประกอบการสอน

ลลิ ติ ตะเลงพ่าย ตอน ทพั หน้าไทยปะทะหงสาวดี

๏ ปางอุภยั ภูเบศเบ้ือง บูรพถ์ วลั ย ราชยแ์ ฮ
เรียบพิริยพลพรรค์ พรั่งพร้อม
เจียนจวบรววิ รรณ ร่างเร่ือ แลฤๅ
ทวยทิชากรนอ้ ม นอบน้ิวเสนอทลู ฯ
๏ เชิญไทย้ รู ยาตรเตา้ เตียงสนาน
ถวายมทุ ธาภิสิตธาร เพรียกพร้อง
ศิวเวทวษิ ณุบรรสาน สงั ขโ์ สรจ สรงแฮ
มหรทึกครึกเครงกอ้ ง เกริกหลา้ หวน่ั ไหว ฯ
๏ ภวู ไนยสวมเคร่ืองถว้ น อลง กรณ์เอย
สาหรับราชรณรงค์ เลิศแลว้
สอดใส่สนบั เพลาทรง ภูสิต แลนา
ฉลองพระองคต์ าดแพร้ว เพริศพร้อยพรายทอง ฯ
๏ เรืองรองเจียระบาดชอ้ ย ชายกระสัน
รัตพสั ตร์รัตนสุวรรณ เวยี ดออ้ ม
สงั วาลวิวิธพรร โณภาส เฉวียงนา
ประดบั มณีนพพร้อม พร่างรุ้งฉานฉาย ฯ
๏ พรายแพร้วแกว้ น้ิวทา่ น ธามรงค์
นพรัตนร์ ัตนควรคง ค่หู ลา้
มาลาลกั ษณะผจง กรวกิ วาลแฮ
เสร็จเสดจ็ สู่เกยถา้ ฤกษผ์ า้ ยพลหาญ ฯ
๏ รวิวารวราวธุ ไท้ ธนูทรง
คอื คชู่ ยั ยทุ ธยง เย่ียงทา้ ว
ทวยแสนส่าจตั รุ งค์ เรียงเรียบ อยนู่ า
อเนกพหลหื่นห้าว หนั่ เส้ียนศึกสลาย ฯ

ท่มี า : http://www.reurnthai.com/wiki

ใบงานท่ี ๑.๓
เร่ือง การวเิ คราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี
กรณีศึกษาที่ ๑

“...ไมม่ ีชนชาติใดท่ีจะบริโภคอาหารอดออมเท่าคนสยาม สามญั ชนด่ืมแต่นอ้ ยเท่าน้นั แลว้ ก็กินขา้ วหุง, ผลไม,้ ปลา
แห้งบา้ งเลก็ นอ้ ย แลว้ ยงั กินไมค่ ่อยอ่มิ ทอ้ งเสียดว้ ย ชนช้นั สูงกม็ ิไดบ้ ริโภคดีไปกวา่ น้ี ท้งั ๆ ท่ีสามารถจะซ้ือหามาบริโภคได้
ตามปรารถนา...”

นิโกลสั แชร์แวร์

ทม่ี า : Gervaise,Nicolas.๑๖๘๘. Histoire Naturelle et Politique du Royaume de Siam. Paris : Chez Claude Barbin.

“สารับกบั ขา้ วคนชาวสยามน้นั ไม่สูจ้ ะฟ่ ุมเฟื อยนกั ท่ีพวกเราบริโภคอาหารกนั นอ้ ยในฤดูร้อนกว่าในฤดูหนาวน้นั
ชาวสยามยงั บริโภคอาหารนอ้ ยกว่าพวกเราลงไปเสียอีก เน่ืองดว้ ยมีฤดูร้อนติดตอ่ กนั อยตู่ ลอดกาลนนั่ เอง อาหารหลกั ของเขา
คือ ขา้ วกบั ปลา”

ซิมง เดอ ลาลแู บร์

ทมี่ า : ซิมง เดอ ลาลแู บร์. ๒๕๔๘. จดหมายเหตุลาลแู บร์ ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดยสนั ต์ ท. โกมลบตุ ร. กรุงเทพมหานคร : ศรีปัญญา.

คาถาม
• จากขอ้ มลู หลกั ฐานท้งั ๒ เร่ือง นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งไร

กรณีศึกษาท่ี ๒

“...แมว้ า่ เน้ือววั ในเมืองไทยจะมิใช่ชนิดเลว แต่กไ็ มค่ อ่ ยนิยมใชบ้ ริโภคกนั เพราะเขาเชื่อกนั มาเป็นประเพณีว่าในชาติ
ก่อนโนน้ พระสมณโคดมไดเ้ สวยพระชาติเป็นโคผหู้ รือนางโค ถือว่าการบริโภคเน้ือววั น้นั ผดิ พุทธบญั ญตั ิและเป็นการละเมิด
ศาสนาถา้ ไปแตะตอ้ งเขา้ ...

...ความเช่ือน้ียงั กินวงกวา้ งไปถึงสตั วส์ ี่เทา้ ทกุ ชนิดว่า ฆา่ ไม่ได้ ดว้ ยอาจจะบงั เอญิ ไปฆา่ ถกู บิดา มารดา หรือมิตรสหาย
ของตน ซ่ึงวิญญาณไดเ้ ขา้ สิงอยใู่ นตวั สตั วเ์ หล่าน้นั เขา้ กไ็ ด.้ ..”

นิโกลสั แชร์แวร์

ทม่ี า : Gervaise,Nicolas.๑๖๘๘. Histoire Naturelle et Politique du Royaume de Siam. Paris : Chez Claude Barbin.

“...ในประเทศน้ีมีสตั วม์ ากมายหลายชนิดเพราะไมม่ ีใครกลา้ ฆ่ามนั ดว้ ยเกรงวา่ จะไปฆ่าเอาบิดาของตนเองเขา้ เป็น
เรื่องการเวยี นวา่ ยตายเกิดอนั เป็นความเชื่อมนั่ อยใู่ นหมชู่ นชาวสยาม...

...ความสิ้นสุดแห่งกศุ ลกรรมบถท่ีพวกท่านสร้างสมไว้ กค็ ือการโยกยา้ ยวญิ ญาณ (เม่ือร่างกายสลายแลว้ ) ไปสู่เรือนร่าง
ของเศรษฐีหรือทา้ วพระยามหากษตั ริยห์ รือสู่เรือนร่างของสัตวบ์ างชนิดท่เี ชื่อง เช่นววั หรือแกะซ่ึงไม่มีใครกลา้ ฆา่ ดว้ ยเกรงวา่
จะไปฆ่าเอาบิดาหรือมารดาของตนเองเขา้ ...”

เดอ ชวั ซีย์

ที่มา : ฟร็องซวั ส์-ทิโมเลอง เดอ ชวั ซีย.์ ๒๕๕๐. จดหมายเหตรุ ายวนั การเดินทางไปสู่ประเทศสยามในปี ค.ศ.๑๖๘๕ และ ๑๖๘๖.
แปลโดย สนั ต์ ท.โกมลบตุ ร. กรุงเทพมหานคร : ศรีปัญญา.

คาถาม
• จากขอ้ มูลหลกั ฐานท้งั ๒ เรื่อง นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งไร

ใบงานที่ ๑.๓
เรื่อง การวเิ คราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี
กรณีศึกษาท่ี ๑

“...ไมม่ ีชนชาติใดที่จะบริโภคอาหารอดออมเท่าคนสยาม สามญั ชนด่ืมแต่นอ้ ยเท่าน้นั แลว้ กก็ ินขา้ วหุง, ผลไม,้ ปลา
แหง้ บา้ งเลก็ นอ้ ย แลว้ ยงั กินไมค่ ่อยอ่มิ ทอ้ งเสียดว้ ย ชนช้นั สูงก็มิไดบ้ ริโภคดีไปกวา่ น้ี ท้งั ๆ ที่สามารถจะซ้ือหามาบริโภคได้
ตามปรารถนา...”

นิโกลสั แชร์แวร์

ทมี่ า : Gervaise,Nicolas.๑๖๘๘. Histoire Naturelle et Politique du Royaume de Siam. Paris : Chez Claude Barbin.

“สารับกบั ขา้ วคนชาวสยามน้นั ไม่สูจ้ ะฟ่ มุ เฟื อยนกั ท่ีพวกเราบริโภคอาหารกนั นอ้ ยในฤดูร้อนกวา่ ในฤดูหนาวน้นั
ชาวสยามยงั บริโภคอาหารนอ้ ยกว่าพวกเราลงไปเสียอีก เน่ืองดว้ ยมีฤดูร้อนติดต่อกนั อยตู่ ลอดกาลนนั่ เอง อาหารหลกั ของเขา
คอื ขา้ วกบั ปลา”

ซิมง เดอ ลาลแู บร์

ทมี่ า : ซิมง เดอ ลาลแู บร์. ๒๕๔๘. จดหมายเหตลุ าลแู บร์ ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดยสันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพมหานคร : ศรีปัญญา.

คาถาม
• จากขอ้ มลู หลกั ฐานท้งั ๒ เร่ือง นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งไร

(ตวั อย่าง)

๑)แสดงใหเ้ ห็นถึงวฒั นธรรมการรับประทานอาหารในสังคมไทย ไม่วา่ จะเป็นสามญั ชนหรือชนช้นั สูง
กบ็ ริโภคไมไ่ ดแ้ ตกต่างกนั

๒)ชาวสยามกินขา้ วเป็นอาหารหลกั ปลาเป็นสัตวท์ ่ีนิยมรับประทาน อาจเพราะมีอยทู่ ว่ั ไป หาไดง้ ่าย
และมีอยา่ งอดุ มสมบูรณ์ในแม่น้าลาคลอง จนมีคาพดู ท่ีติดปากกนั วา่ กินขา้ วกินปลา

๓)ปลาที่แชร์แวร์บนั ทึกไวค้ ือ ปลาแหง้ ไม่ใช่ปลาสด แสดงถึงภูมิปัญญาการถนอมอาหารของคนไทย

๔)แชร์แวร์มองวา่ ชาวสยามบริโภคอยา่ งประหยดั เนื่องดว้ ยวฒั นธรรมการกินของชาวฝรั่งเศสน้นั มี
ความแตกต่างจากวฒั นธรรมการกินของชาวสยาม โดยในม้ือหน่ึงชาวฝร่ังเศสจะรับประทานอาหารหลายจาน

(พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครูผสู้ อน)

กรณีศึกษาที่ ๒

“...แมว้ ่าเน้ือววั ในเมืองไทยจะมิใช่ชนิดเลว แตก่ ็ไม่คอ่ ยนิยมใชบ้ ริโภคกนั เพราะเขาเชื่อกนั มาเป็นประเพณีวา่ ในชาติ
ก่อนโนน้ พระสมณโคดมไดเ้ สวยพระชาติเป็นโคผหู้ รือนางโค ถือว่าการบริโภคเน้ือววั น้นั ผดิ พุทธบญั ญตั ิและเป็นการละเมิด
ศาสนาถา้ ไปแตะตอ้ งเขา้ ...

...ความเชื่อน้ียงั กินวงกวา้ งไปถึงสัตวส์ ี่เทา้ ทุกชนิดว่า ฆ่าไมไ่ ด้ ดว้ ยอาจจะบงั เอญิ ไปฆา่ ถูกบดิ า มารดา หรือมิตรสหาย
ของตน ซ่ึงวิญญาณไดเ้ ขา้ สิงอยใู่ นตวั สัตวเ์ หล่าน้นั เขา้ ก็ได.้ ..”

นิโกลสั แชร์แวร์

ท่ีมา : Gervaise,Nicolas.๑๖๘๘. Histoire Naturelle et Politique du Royaume de Siam. Paris : Chez Claude Barbin.

“...ในประเทศน้ีมีสตั วม์ ากมายหลายชนิดเพราะไม่มีใครกลา้ ฆ่ามนั ดว้ ยเกรงว่าจะไปฆ่าเอาบดิ าของตนเองเขา้ เป็น
เรื่องการเวียนว่ายตายเกิดอนั เป็นความเช่ือมนั่ อยใู่ นหมชู่ นชาวสยาม...

...ความสิ้นสุดแห่งกุศลกรรมบถท่ีพวกทา่ นสร้างสมไว้ กค็ อื การโยกยา้ ยวญิ ญาณ (เม่ือร่างกายสลายแลว้ ) ไปสู่เรือนร่าง
ของเศรษฐีหรือทา้ วพระยามหากษตั ริยห์ รือสู่เรือนร่างของสัตวบ์ างชนิดทีเ่ ชื่อง เช่นววั หรือแกะซ่ึงไม่มีใครกลา้ ฆา่ ดว้ ยเกรงว่า
จะไปฆา่ เอาบิดาหรือมารดาของตนเองเขา้ ...”

เดอ ชวั ซีย์

ท่มี า : ฟร็องซวั ส์-ทิโมเลอง เดอ ชวั ซีย.์ ๒๕๕๐. จดหมายเหตุรายวนั การเดนิ ทางไปสู่ประเทศสยามในปี ค.ศ.๑๖๘๕ และ ๑๖๘๖.
แปลโดย สนั ต์ ท.โกมลบุตร. กรุงเทพมหานคร : ศรีปัญญา.

คาถาม (ตัวอย่าง)
• จากขอ้ มลู หลกั ฐานท้งั ๒ เร่ือง นกั เรียนสามารถวิเคราะหข์ อ้ มลู ไดอ้ ยา่ งไร

๑) แสดงใหเ้ ห็นวา่ ชาวไทยมีความเชื่อเรื่องการเวยี นวา่ ยตายเกิด ซ่ึงมีความเก่ียวโยงกบั พระพทุ ธศาสนา

ที่เป็ นศาสนาประจาชาติ
๒) เรื่องการเวียนวา่ ยตายเกิดอยใู่ นสังคมไทยมาชา้ นาน ท้งั ยงั ก่อเกิดเป็นความเช่ือท่ีไม่กลา้ ฆ่าสตั ว์

ท้งั กลวั บาปรวมถึงเกรงวา่ จะฆา่ เอาบรรพบรุ ุษของตนเอง

(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุดเพียงข้อเดียว

๑. หลกั ฐานท่ีเดน่ มากในเร่ืองของรายละเอยี ดและความถูกตอ้ ง ๖.ขอ้ ใดเป็นข้นั ตอนแรกของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์

ของเวลา คือหลกั ฐานใด ก. การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ

ก. พงศาวดาร ข. จดหมายเหตุ ข. การประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐาน

ค. ตานาน ง. จารึก ค. การกาหนดหวั เรื่องท่ีจะศึกษา

๒. บิดาแห่งประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย คือใคร ง. การรวบรวมหลกั ฐาน

ก. พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นนราธิปพงศป์ ระพนั ธ์ ๗. บนั ทึกเหตุการณ์ของ วนั วลิต ชาวตา่ งชาติที่เดินทาง เขา้ มา

ข. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในสมยั อยธุ ยา เป็นหลกั ฐานประเภทใด

ค. สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ก. หลกั ฐานช้นั รอง-ไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

ง. ศาสตราจารยข์ จร สุขพานิช ข. หลกั ฐานช้นั ตน้ -ไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

๓. ลกั ษณะนิสยั ใด ท่ีมีความจาเป็นนอ้ ยสาหรับ ค. หลกั ฐานช้นั รอง-เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร

นกั ประวตั ิศาสตร์ ง. หลกั ฐานช้นั ตน้ -เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

ก. ชอบวาดภาพ ข. ชอบจดบนั ทึก ๘. เรื่องราวท่ีปรากฏในพงศาวดารจะเป็นเรื่องราวเก่ียวกบั

ค. ชอบคน้ หา ง. ชอบสังเกต อะไรเป็ นส่วนใหญ่

๔. เร่ืองราวในประวตั ิศาสตร์ทเี่ กิดข้นึ มาแลว้ จะมีความ ก. พระราชกรณียกิจของกษตั ริย์

น่าเช่ือถือหากเป็ นกรณีใด ข. การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา

ก. ผเู้ ขียนเป็นบคุ คลที่มคี วามรู้ ความสามารถ ค. ความเป็นอยขู่ องไพร่ฟ้า

ข. มีการเรียบเรียงอยา่ งสละสลวย ง. สงครามกบั เพ่อื นบา้ น

ค. มีหลกั ฐานอา้ งอิงสนบั สนุน ๙. เรื่องราวของมะกะโทที่เขา้ มารับราชการในสมยั พระร่วง

ง. ผเู้ ขยี นเป็นราชนิกลู จดั เป็นหลกั ฐานประเภทใด

๕. ถา้ มีนกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเขา้ มาประเทศไทย ก. ตานานหรือนิทานพ้นื บา้ น

แลว้ เขียนหนงั สือบรรยายวา่ ประเทศไทยลา้ หลงั ดอ้ ยพฒั นา ข. หลกั ฐานโบราณคดี

เพราะยงั มีการกินอาหารดว้ ยมือหรือไม่สวมเส้ือผา้ นกั เรียน ค. บนั ทึกชาวตา่ งชาติ

คิดว่า ขอ้ ความน้ีจะใชเ้ ป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ใน ง. พงศาวดาร

อนาคตไดห้ รือไม่ ๑๐. เพราะเหตใุ ด จงึ ตอ้ งมีการประเมินคุณคา่ หลกั ฐานทาง

ก. ได้ แตต่ อ้ งมีการตีความหลกั ฐาน ประวตั ิศาสตร์

ข. ได้ เพราะเป็นหลกั ฐานช้นั ตน้ ก. หลกั ฐานอาจมากหรือนอ้ ย

ค. ไมไ่ ด้ เพราะผเู้ ขยี นไม่ใช่คนไทย ข. หลกั ฐานอาจมีหรือไม่มี

ง. ไมไ่ ด้ เพราะเป็นหลกั ฐานเทจ็ ค. หลกั ฐานอาจจริงหรือเทจ็

ง. หลกั ฐานอาจเก่าหรือใหม่

๑. ข ๒. ค ๓. ก ๔. ค ๕. ก ๖. ค ๗. ง ๘. ก ๙. ง ๑๐. ค

แบบบันทึกการอ่าน

ช่ือหนงั สือ ช่ือผแู้ ตง่ นามปากกา
สานกั พิมพ์ ปี ท่ีพมิ พ์
จานวนหนา้ สถานที่พิมพ์
พ.ศ. เวลา
ราคา บาท อา่ นวนั ที่ เดือน

๑. สาระสาคญั ของเร่ือง

๒. วิเคราะหข์ อ้ คดิ /ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากเรื่องที่อา่ น
๓. สิ่งท่ีสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั
๔. ขอ้ เสนอแนะของครู

ลงช่ือ นกั เรียน ลงชื่อ ผปู้ กครอง
() ( )

ลงชื่อ ครูผสู้ อน ให้ ๒ คะแนน
( ) ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน ผลงานมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่
ผลงานมคี วามสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานมขี ้อบกพร่องมาก
ผลงานมีข้อบกพร่องเพยี งเล็กน้อย

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน

คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการที่กาหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
๔๓๒ ๑

๑ นาเสนอเน้ือหาในผลงานไดถ้ ูกตอ้ ง

๒ การลาดบั ข้นั ตอนของเน้ือเรื่อง

๓ การนาเสนอมีความน่าสนใจ

๔ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลมุ่

๕ การตรงตอ่ เวลา

รวม

ลงช่ือ.................................................... ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องบางส่วน ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ ๓ คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ ๒ คะแนน ๑๘ – ๒๐ ดีมาก
ให้ ๑ คะแนน
๑๔ – ๑๗ ดี

๑๐ – ๑๓ พอใช้

ต่ากวา่ ๑๐ ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล

คาชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดับ ช่ือ-สกลุ ความมวี ินยั ความมีน้าใจ การรับฟัง การแสดง การตรงต่อ รวม
ท่ี ของผู้รับการประเมิน เอือ้ เฟื้ อ ความคิดเหน็ ความคิดเห็น เวลา ๒๐
เสียสละ คะแนน

๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑

ลงช่ือ.................................................... ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ๑๘ – ๒๐ ดีมาก
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ๑๔ – ๑๗ ดี
ให้ ๑ คะแนน
๑๐ – ๑๓ พอใช้

ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานกล่มุ

คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง
ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดับ ชื่อ-สกุล ความ การแสดง การรับฟัง ความต้งั ใจ การแก้ไข รวม
ที่ ของผู้รับการประเมนิ ร่วมมือกนั ความคิดเหน็ ความคิดเหน็ ทางาน ปัญหา/หรือ ๒๐
ทากจิ กรรม ปรับปรุง คะแนน
ผลงานกลุ่ม

๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑

ลงช่ือ.................................................... ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ๑๘ – ๒๐ ดีมาก
ให้ ๑ คะแนน
๑๔ – ๑๗ ดี

๑๐ – ๑๓ พอใช้

ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คาชีแ้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงค์ด้าน ๔๓๒ ๑
๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ
เพลงชาติ
กษตั ริย์
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามสิทธิและหนา้ ท่ขี องนกั เรียน
๒. ซ่ือสัตย์ สุจริต
๑.๓ ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทางานกบั สมาชิกในโรงเรียน
๓. มีวินัย รับผดิ ชอบ ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมท่ีสร้างความสามคั คี
๔. ใฝ่ เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชุมชน
๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของศาสนา

๑.๖ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมที่เกี่ยวกบั สถาบนั
พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรียนและชุมชนจดั ข้นึ

๒.๑ ใหข้ อ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ ง และเป็นจริง

๒.๒ ปฏิบตั ิในส่ิงท่ีถกู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลวั ท่ีจะทาความผดิ ทาตามสัญญา
ที่ตนใหไ้ วก้ บั เพอ่ื น พอ่ แม่ หรือผปู้ กครอง และครู

๒.๓ ปฏิบตั ิต่อผอู้ น่ื ดว้ ยความซ่ือตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง

๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของครอบครัว
และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจาวนั
และรับผดิ ชอบในการทางาน

๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ

๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ

๔.๓ สรุปความรู้ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล

๕.๑ ใชท้ รัพยส์ ินของตนเอง เช่น ส่ิงของ เครื่องใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั คมุ้ คา่
และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม

๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี
๕.๓ ปฏิบตั ิตนและตดั สินใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตผุ ล
๕.๔ ไม่เอาเปรียบผอู้ นื่ และไมท่ าใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อน พร้อมใหอ้ ภยั เมื่อผอู้ น่ื

กระทาผิดพลาด

คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อันพงึ ประสงค์ด้าน ๔๓๒ ๑
๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ ีวติ ประจาวนั บนพน้ื ฐานของ
๖. ม่งุ มน่ั ในการ ความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร
ทางาน
๕.๖ รู้เท่าทนั การเปล่ียนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับและ
๗. รักความเป็ นไทย ปรับตวั อยรู่ ่วมกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
๘. มีจติ สาธารณะ
๖.๑ มีความต้งั ใจและพยายามในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
๖.๒ มีความอดทนและไมท่ อ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพือ่ ให้งานสาเร็จ
๗.๑ มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย
๗.๒ เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย
๘.๑ รู้จกั ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน
๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบง่ ปันส่ิงของใหผ้ อู้ น่ื
๘.๓ ดูแล รักษาทรัพยส์ มบตั ขิ องหอ้ งเรียน โรงเรียน ชุมชน
๘.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน

ลงช่ือ.................................................... ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ๙๑ – ๑๐๐ ดีมาก
ให้ ๑ คะแนน
๗๓ – ๙๐ ดี

๕๔ – ๗๒ พอใช้

ต่ากว่า ๕๔ ปรับปรุง

แบบบันทึกหลงั หน่วยการเรียนรู้

ตอนที่ ๑ นกั เรียนมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ของหน่วยการเรียนรู้
ต่อไปน้ี ส ๔.๑ (ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓)

 ดา้ นความรู้

(จานวน คน คิดเป็นร้อยละ )

 ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน

 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

 ดา้ นอ่ืนๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมท่ีมีปัญหาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถา้ มี))

สรุปผลจากการประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจาหน่วยการเรียนรู้

 ระดบั คณุ ภาพดีมาก จานวน คน คิดเป็นร้อยละ

 ระดบั คุณภาพดี จานวน คน คิดเป็นร้อยละ

 ระดบั คุณภาพพอใช้ จานวน คน คดิ เป็นร้อยละ

 ระดบั คุณภาพปรับปรุง จานวน คน คดิ เป็นร้อยละ

 ปัญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ขอ้ เสนอแนะ ความเหน็ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ลงชื่อ
(นายสมาธิ พนิ ิจกิจ )

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นเมก็ ดา

ตอนที่ ๒ การตรวจสอบคณุ ภาพนักเรียนเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก ร้อยละ
ระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (ด้านคุณภาพผ้เู รียน)

มาตรฐานที่ ๑ ผ้เู รียนมีสุขภาวะทด่ี แี ละมสี ุนทรียภาพ

๑.๑ มสี ุขนิสยั ในการดูแลสุขภาพและออกกาลงั กายสม่าเสมอ
๑.๒ มีน้าหนกั ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน
๑.๓ ป้องกนั ตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลกี เลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เส่ียงต่อความรุนแรง โรค ภยั อุบตั ิเหตุ และปัญหาทางเพศ
๑.๔ เห็นคณุ ค่าในตนเอง มคี วามมนั่ ใจ กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม
๑.๕ มีมนุษยสมั พนั ธท์ ี่ดีและใหเ้ กียรติผอู้ ืน่
๑.๖ สร้างผลงานจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมดา้ นศลิ ปะ ดนตรี/นาฏศลิ ป์ กีฬา/นนั ทนาการตามจินตนาการ

มาตรฐานที่ ๒ ผ้เู รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์

๒.๑ มีคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตร
๒.๒ เอ้ืออาทรผอู้ ื่นและกตญั ญูกตเวทีต่อผมู้ ีพระคุณ
๒.๓ ยอมรับความคิดและวฒั นธรรมท่ีแตกตา่ ง
๒.๔ ตระหนกั รู้คณุ ค่า ร่วมอนุรักษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม

มาตรฐานท่ี ๓ ผู้เรียนมที กั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

๓.๑ มีนิสยั รักการอ่านและแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากห้องสมดุ แหล่งเรียนรู้ และส่ือตา่ งๆ รอบตวั
๓.๒ มที กั ษะในการอา่ น ฟัง ดู พดู เขียน และต้งั คาถามเพือ่ คน้ ควา้ หาความรู้เพม่ิ เติม
๓.๓ เรียนรู้ร่วมกนั เป็นกล่มุ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นเพ่ือการเรียนรู้ระหว่างกนั
๓.๔ ใชเ้ ทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน

มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ อย่างเป็ นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตดั สินใจแก้ปัญหา
ได้อย่างมีสติสมเหตุสมผล

๔.๑ สรุปความคดิ จากเร่ืองท่ีอ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพดู หรือเขยี นตามความคดิ ของตนเอง
๔.๒ นาเสนอวธิ ีคิด วธิ ีแกป้ ัญหาดว้ ยภาษาหรือวธิ ีการของตนเอง
๔.๓ กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตดั สินใจแกป้ ัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
๔.๔ มคี วามคดิ ริเริ่ม และสร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยความภาคภูมใิ จ

มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็ นตามหลกั สูตร

๕.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ียแตล่ ะกลมุ่ สาระเป็นไปตามเกณฑ์
๕.๒ ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ตามหลกั สูตรเป็นไปตามเกณฑ์
๕,๓ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นเป็นไปตามเกณฑ์
๕.๔ ผลการทดสอบระดบั ชาติเป็นไปตามเกณฑ์

มาตรฐานที่ ๖ ผ้เู รียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ และมีเจตคติทดี่ ี
ต่ออาชีพสุจริต

๖.๑ วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ
๖.๒ ทางานอย่างมีความสุข มงุ่ มน่ั พฒั นางาน และภมู ิใจในผลงานของตนเอง
๖.๓ ทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้
๖.๔ มีความรู้สึกที่ดีตอ่ อาชีพสุจริตและหาความรู้เก่ียวกบั อาชีพท่ีตนเองสนใจ


Click to View FlipBook Version