The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nakarin Kemthong, 2020-12-02 02:35:13

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping)

เล่มรายงานฯค้ามนุษย์ สสว.8 ฉบับสมบูรณ์

รายงานสถานการณ์การคา้ มนุษยร์ ายภูมภิ าคและการจัดระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอุตรดิตถ์)

41

การค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ี โดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย คือ สถานประกอบการ/สวนผลไม้ สถานบันเทิง และ
โรงแรม จากข้อมลู ผ้เู สยี หายจากการค้ามนษุ ยใ์ นปี 2562

จงั หวัดสุโขทัย

จังหวัดสุโขทัยเป็นจังหวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างจังหวัดตาก ลาปาง แพร่ พิษณุโลก และ
กาแพงเพชร ซ่ึงอาจเป็นทางผ่านของขบวนการค้ามนุษย์/แหล่งพักพิงของแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาโดยผิด
กฎหมาย ปัจจุบันยังไม่พบสถานการณ์การค้ามนุษย์ในพื้นที่ แต่อยู่ในระดับเฝ้าระวังปัญหาในกลุ่มเป้าหมายท่ี
เปน็ ผ้หู ญิง เดก็ และแรงงาน ทาให้จังหวัดมีสถานะเป็นทางผ่าน

จงั หวัดอตุ รดติ ถ์

จากการรวบรวมข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดอุตรดิตถ์ สถานการณ์การค้ามนุษย์
ยังไมร่ นุ แรง ถึงแม้วา่ จังหวดั อตุ รดติ ถ์จะมีพน้ื ท่ชี ายแดนติดต่อกบั สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมี
จุดผ่านแดนถาวรอยู่ที่อาเภอบ้านโคก และมีกลุ่มแรงงานจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเข้ามา
ทางานในจังหวัดอตุ รดิตถก์ ต็ าม

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดติ ถ์)

42

3. สถติ ทิ เี่ ก่ียวข้องกบั สถานการณก์ ารค้ามนุษย์

แผนภมู ทิ ่ี 2 แสดงจานวนแรงงานตา่ งดา้ วรายจงั หวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.8

กราฟแสดงจานวนคนต่างด้าวที่ได้รบั อนุญาตทางานคงเหลอื พ.ศ. 2560 - 2562

70,000

60,000

50,000

40,000

30,000

20,000

10,000

0 พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย อุตรดิตถ์
ตาก

2560 2561 2562

ตารางท่ี 9 แสดงจานวนคนต่างด้าวท่ีไดร้ ับอนญุ าตทางานคงเหลอื พ.ศ. 2560-2562

จังหวดั 2560 2561 (หนว่ ย:คน)

2562

ตาก 25,243 10,856 57,441
พษิ ณุโลก 3,387
เพชรบูรณ์ 7,125 2,638 6,148
สุโขทยั 862
อุตรดิตถ์ 522 6,242 9,829
37,139
รวม 591 1,206

613 691

20,940 75,315

ทมี่ า : กรมจัดหางาน สานกั บรหิ ารแรงงานตา่ งดา้ ว 2562

จากตารางที่ 9 แสดงจานวนคนตา่ งด้าวที่ไดร้ ับอนญุ าตทางานคงเหลอื พ.ศ.2560 - 2562 พบว่า ทง้ั 5
จงั หวัดมจี านวนแรงงานต่างด้าวเพ่ิมข้นึ โดยเฉพาะในปี 2562 คือ จงั หวัดตากมีจานวนแรงงานตา่ งด้าวเพม่ิ ขน้ึ
ถึง 5 เท่า ในขณะทีอ่ ีก 4 จงั หวัด คอื พษิ ณุโลก และสโุ ขทัย มจี านวนแรงงานต่างดา้ วเพมิ่ ขึ้น 3 เทา่ , 2 เท่า
ตามลาดบั และจังหวดั เพชรบรู ณก์ บั อุตรดิตถ์มจี านวนเพิม่ ข้ึนเล็กน้อย

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ์)

43

แผนภมู ิท่ี 3 แสดงจานวนโรงแรมรายจังหวัดในพน้ื ทเ่ี ขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8

กราฟแสดงจานวนโรงแรมในพน้ื ทร่ี ายจังหวัด พ.ศ. 2557 - 2561

600

500

400

300

200

100

0 พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั อตุ รดติ ถ์
ตาก

2560 2561 2562

ตารางท่ี 10 แสดงจานวนโรงแรมพืน้ ทจี่ ังหวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2557 - 2561

(หนว่ ย แห่ง)

จงั หวัด 2557 2559 2561

ตาก 72 86 169

พษิ ณโุ ลก 98 105 260

เพชรบูรณ์ 121 233 539

สโุ ขทัย 76 79 200

อตุ รดิตถ์ 41 43 117

รวม 408 546 1,285

ที่มา : สามะโนอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2557-2561 (ขอ้ มูลพ้ืนฐาน) สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม

จากตารางท่ี 10 แสดงจานวนโรงแรมพื้นที่จังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2557 – 2561
พบว่า ท้ัง 5 จังหวัดมีจานวนโรงแรมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยจังหวัดท่ีมีจานวนโรงแรมในพ้ืนที่มากที่สุด
3 อันดับแรก คือ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ รองลงมา คอื พษิ ณุโลก และสุโขทยั ตามลาดบั

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภมู ภิ าคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ)์

44

จานวนสถานบรกิ ารรายจังหวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.8

แผนภูมทิ ่ี 4 แสดงจานวนสถานประกอบกิจการท่ีขออนุญาตตามพระราชบญั ญัตภิ าพยนตรแ์ ละวดี ทิ ัศน์
พ.ศ.2551 ประจาปี 2562 รายจังหวดั

กราแสดงจานวนสถานประกอบกิจการท่ขี ออนญุ าตฯ ประจาปี 2562 รายจังหวัด

250
200

150 พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั อุตรดิตถ์

100

50

0
ตาก

เกมการเล่น คาราโอเกะ เชา่ /แลกเปล่ียน โรงภาพยนตร์

ตารางที่ 11 แสดงจานวนสถานประกอบกิจการท่ีขออนญุ าตตามพระราชบัญญัตภิ าพยนตร์และวดี ิทัศน์

พ.ศ.2551 ประจาปี 2562 รายจงั หวัด

จงั หวดั ประเภทสถานประกอบกิจการ (หน่วย แห่ง)
เกมการเล่น คาราโอเกะ เชา่ /แลกเปลีย่ น โรงภาพยนตร์
สถานทีอ่ ื่นๆ

ตาก 121 29 42 9-

พษิ ณโุ ลก 120 100 87 6-

เพชรบรู ณ์ 223 93 80 5-

สโุ ขทัย 170 47 45 2-

อุตรดติ ถ์ 97 53 47 7-

รวม 731 322 301 29 -

ท่ีมา : สานักงานวัฒนธรรม 5 จังหวัด ข้อมูล ณ วนั ท่ี 18 มีนาคม 2563

จากตารางท่ี 11 แสดงจานวนสถานประกอบกิจการท่ีขออนุญาตตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และ
วดี ทิ ัศน์ พ.ศ.2551 พบวา่ ประเภทสถานประกอบกจิ การจากมากไปหาน้อย ดังนี้

- ประเภทเกมการเล่น 3 อันดับแรก คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีจานวน 223 แห่ง รองลงมา คือ ตาก มี
จานวน 121 แหง่ และพิษณโุ ลก มีจานวน 120 แหง่

- ประเภทคาราโอเกะ 3 อันดับแรก คือ จังหวัดพิษณุโลก มีจานวน 100 แห่ง รองลงมา คือ เพชรบูรณ์ มี
จานวน 93 แห่ง และอุตรดิตถ์ มจี านวน 53 แห่ง

- ประเภทร้านเช่า/แลกเปลี่ยน 3 อันดับแรก คือ จังหวัดพิษณุโลก มีจานวน 87 แห่ง รองลงมา คือ
เพชรบูรณ์ มีจานวน 80 แห่ง และอุตรดิตถ์ มจี านวน 47 แหง่

- ประเภทโรงภาพยนตร์ 3 อันดับแรก คือ จังหวัดตาก มีจานวน 9 แห่ง รองลงมา คือ อุตรดิตถ์ มี
จานวน 7 แหง่ และพษิ ณุโลก มีจานวน 6 แหง่

รายงานสถานการณ์การคา้ มนุษย์รายภมู ภิ าคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ)์

45

แผนภูมิท่ี 5 แสดงจานวนร้านนวดแผนไทย/บรกิ ารสุขภาพ รายจงั หวัด ประจาปี 2562

กราฟแสดงจานวนร้านนวดแผนไทย/บรกิ ารสขุ ภาพ ในพ้นื ทร่ี ายจังหวัด
ประจาปี 2562

90 พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย อตุ รดติ ถ์
80
70
60
50
40
30
20
10
0

ตาก

ตารางที่ 12 แสดงจานวนรา้ นนวดแผนไทย/บริการสุขภาพ รายจังหวัดในเขตรับผดิ ชอบของ สสว.8
ประจาปี 2562

(หนว่ ย แห่ง)

จังหวดั ปี 2562

ตาก 24

พิษณุโลก 82

เพชรบรู ณ์ 78

สโุ ขทยั 34

อุตรดิตถ์ 33

รวม 251

ทม่ี า : กองสถานประกอบการเพอื่ สขุ ภาพ กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพขอ้ มูล ณ วันท่ี 18 มีนาคม 2563

จากตารางท่ี 12 แสดงจานวนร้านนวดแผนไทย/บริการสุขภาพ รายจังหวัด ในเขตรับผิดชอบของ
สสว.8 ประจาปี 2562 พบว่า จังหวัดท่ีมีจานวนร้านนวดแผนไทยในพ้ืนท่ีมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ อับดับ 1
จงั หวดั พิษณโุ ลก รองลงมาคือ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวดั สุโขทยั ตามลาดบั

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ์)

46

แผนภูมทิ ี่ 6 แสดงจานวนโรงงานรายจังหวดั ในพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบของ สสว.8

กราฟแสดงจานวนโรงงานรายจงั หวดั ในพน้ื ที่รับผดิ ชอบของ สสว.8
พ.ศ. 2560 - 2562

60

50

40

30

20

10

0 พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั อตุ รดติ ถ์
ตาก

2560 2561 2562

ตารางท่ี 13 แสดงจานวนโรงงานรายจังหวดั ในพืน้ ทีร่ ับผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562

(หน่วย แห่ง)

จงั หวดั 2560 2561 2562

ตาก 48 41 25

พิษณุโลก 36 36 20

เพชรบูรณ์ 32 52 45

สโุ ขทยั 10 8 19

อุตรดติ ถ์ 30 18 14

รวม 156 155 123

ท่ีมา : ศูนย์ขอ้ มูลธุรกจิ อตุ สาหกรรม ปี 2560 - 2562

จากตารางท่ี 13 แสดงจานวนโรงงานรายจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 – 2562
พบว่า จังหวัดท่ีมีจานวนโรงงานเพิ่มขึ้นในช่วง 3 ปี คือ จังหวัดเพชรบูรณ์และสุโขทัย และจังหวัดที่มีจานวน
โรงงานลดลง คือ จังหวัดตาก พิษณุโลก และอุตรดิตถ์ โดยจังหวัดท่ีมีจานวนโรงงานมากท่ีสุด คือ จังหวัด
เพชรบูรณ์ รองลงมา คอื ตาก และพษิ ณุโลก ตามลาดับ

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารคา้ มนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดติ ถ)์

47

แผนภูมิท่ี 7 แสดงจานวนการคดั แยกเหย่ือจากการคา้ มนุษย์รายจังหวัดในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8

แผนภมู ิแสดงจานวนผู้ท่ถี กู คัดแยกเหยอ่ื จากการค้ามนษุ ย์รายจังหวัด 3 ปี
ยอ้ นหลงั

20

15

10

5

0 พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั อตุ รดติ ถ์
ตาก

2560 2561 2563

ตารางท่ี 14 แสดงจานวนการคัดแยกเหยื่อจากการค้ามนุษยร์ ายจงั หวดั พ.ศ. 2560 - 2562

(หน่วย คร้ัง)

จงั หวัด 2560 2561 2562 รวมข้อมูล 3 ปี

ตาก ไม่มีข้อมลู 10 9 19

พษิ ณโุ ลก ไมม่ ีขอ้ มลู 2 3 5

เพชรบูรณ์ 2 3 0 5

สโุ ขทยั 0 0 0 0

อุตรดติ ถ์ 3 4 15 22

รวม 5 19 27 51

ที่มา : สานักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ 5 จงั หวดั ขอ้ มูล ณ วันที่ 18 ม.ี ค. 63

จากตารางท่ี 14 แสดงจานวนผู้ท่ีถูกคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์รายจังหวัด พ.ศ.2560-2562
พบว่า จังหวัดท่ีมีผู้ท่ีถูกคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 อันดับแรกจากมากไปหาน้อย คือ จังหวัด
อตุ รดติ ถ์ รองลงมาคือ ตาก เพชรบูรณ์ และพิษณโุ ลก ตามลาดับ

รายงานสถานการณ์การคา้ มนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ์)

48

แผนภมู ทิ ่ี 8 แสดงจานวนผู้ที่ถูกคดั แยกเหยื่อจากการคา้ มนุษย์รายจังหวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8

แผนภมู ิแสดงจานวนผทู้ ถ่ี ูกคัดแยกเหยอ่ื จากการค้ามนษุ ย์รายจังหวัด
พ.ศ. 2560 - 2562

350

300

250

200

150

100

50

0 พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั อตุ รดิตถ์
ตาก

2560 2561 2562

ตารางที่ 15 แสดงจานวนผทู้ ี่ถกู คดั แยกเหยื่อจากการคา้ มนษุ ย์รายจังหวดั ในเขต สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562

(หน่วย คน)

จังหวดั 2560 2561 2562 รวมข้อมูล 3 ปี

ตาก ไม่มีขอ้ มลู ไม่มีขอ้ มูล 98 98

พิษณุโลก ไม่มีข้อมูล 2 22 24

เพชรบรู ณ์ 5 9 0 14

สุโขทยั 0 0 0 0

อุตรดติ ถ์ 5 5 333 343

รวม 10 16 453 479

ที่มา : สานกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ 5 จังหวดั ขอ้ มลู ณ วันท่ี 18 ม.ี ค. 63

จากตารางท่ี 15 แสดงจานวนผู้ที่ถูกคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์รายจังหวัด พ.ศ.2560-2562
พบว่า จังหวัดท่ีมีผู้ที่ถูกคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 อันดับแรกจากมากไปหาน้อย คือ จังหวัด
อุตรดติ ถ์ รองลงมาคือ ตาก และพิษณุโลก ตามลาดับ

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดติ ถ์)

49

จานวนผ้เู สยี หายจากการค้ามนษุ ยร์ ายจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.8

ข้อมูลสถิติที่ได้จากข้อมูลของพ้ืนที่และระบบฐานข้อมูลของประเทศไทยด้านการดาเนินคดีและการ
ช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ (E-AHT) ซึ่งเป็นหน่วยงานในการรวบรวมสถิติการค้ามนุษย์
ระดับประเทศ ไม่สอดคล้องกัน เนื่องจากระบบฐานข้อมูล E-AHT ใช้ข้อมูลเลขคดีในชั้นสอบสวน ในขณะท่ี
ระบบข้อมูลพ้ืนท่ี ใช้ข้อเท็จจริงที่มีการเกิดคดีการค้ามนุษย์ในพื้นที่ซึ่งมีการดาเนินคดีจากส่วนกลาง จึงได้
เปรยี บเทียบขอ้ มูลจากทง้ั 2 แหลง่ ขอ้ มลู ให้ทราบ ดังน้ี

ตารางท่ี 16 แสดงจานวนคดีการค้ามนุษยร์ ายจงั หวัดในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562

(หน่วย:คดี)

2560 2561 2562 รวมข้อมูล 3 ปี

จังหวัด ข้อมูล E-AHT ขอ้ มูล E-AHT ข้อมูล E-AHT ขอ้ มูล E-AHT
พน้ื ที่ พืน้ ที่ พื้นที่ พื้นท่ี

ตาก 2 1 4 6 1 3 7 10

พิษณโุ ลก 3 4 2 1 6 10 11 15

เพชรบรู ณ์ 1 25500 6 7

สโุ ขทัย 0 00000 0 0

อตุ รดิตถ์ 1 14300 5 4

รวม 7 8 15 15 7 13 29 36

ทม่ี า : สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ 5 จงั หวัด และ
กองต่อต้านการคา้ มนษุ ยก์ ระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ณ วนั ที่ 18 ม.ี ค. 63

จากตารางที่ 16 แสดงจานวนคดีการค้ามนุษย์รายจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.8
พ.ศ. 2560 - 2562 พบว่า ข้อมูลของพ้ืนท่ีและระบบฐานข้อมูลของประเทศไทยด้านการดาเนินคดีและ
การช่วยเหลือ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ (E-AHT) ไม่สอดคล้องกัน เห็นได้ชัดเจนในข้อมูลของจังหวัด
พิษณุโลก ในปี พ.ศ.2562 ซึ่งพบคดีการค้ามนุษย์ จานวน 6 คดี แต่จานวนคดีในระบบฐานข้อมูล E-AHT
มีจานวน 10 คดี เนื่องจากข้อมูล E-AHT ใช้ข้อมูลเลขคดีในช้ันสอบสวน ในขณะที่ข้อมูลพื้นที่ใช้ข้อเท็จจริงท่ีมี
การเกดิ คดกี ารค้ามนษุ ยใ์ นพื้นท่ี

จากข้อมูล พบว่า จังหวัดท่ีมีสถิติคดีการค้ามนุษย์มากท่ีสุดคือ จังหวัดพิษณุโลก รองลงมา คือ
ตาก และเพชรบรู ณ์ ตามลาดบั

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ์)

50

ตารางท่ี 17 แสดงจานวนผู้ต้องหาจากการคา้ มนุษย์รายจังหวัดในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562

(หนว่ ย:คน)

2560 2561 2562 รวมข้อมูล 3 ปี

จังหวดั ขอ้ มูล E-AHT ข้อมูล E-AHT ขอ้ มูล E-AHT ขอ้ มูล E-AHT
พืน้ ท่ี พ้นื ท่ี พนื้ ท่ี พน้ื ท่ี

ตาก 1 1 4 10 1 7 6 18

พิษณโุ ลก 1 8 6 2 14 16 21 26

เพชรบูรณ์ 2 7 7 10 0 0 9 17

สุโขทัย 0 0 0 0 0 0 0 0

อตุ รดติ ถ์ 1 1 5 6 0 0 6 7

รวม 5 17 22 28 15 23 42 68

ทมี่ า : สานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 5 จงั หวัด และ
กองตอ่ ตา้ นการค้ามนุษย์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ณ วนั ท่ี 18 มี.ค. 63

จากตารางที่ 17 แสดงจานวนผู้ต้องหาจากการค้ามนุษย์รายจังหวัด ในเขตรับผิดชอบของ สสว.8
พ.ศ. 2560 - 2562 พบว่า จังหวัดท่ีมีสถิติจานวนผู้ต้องหาจากการค้ามนุษย์มากที่สุด คือ จังหวัดพิษณุโลก
รองลงมา คอื ตาก และเพชรบูรณ์ ตามลาดับ

ตารางที่ 18 แสดงจานวนผ้เู สียหายจากการค้ามนุษยร์ ายจังหวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ.2560 - 2562

(หน่วย:คน)

2560 2561 2562 รวมข้อมูล 3 ปี

จงั หวดั ขอ้ มูล E-AHT ข้อมูล E-AHT ขอ้ มูล E-AHT ข้อมูล E-AHT
พื้นที่ พ้นื ท่ี พนื้ ที่ พื้นที่

ตาก 2 2 5 7 17 19 24 28

พษิ ณุโลก 1 4 5 3 27 29 34 36

เพชรบูรณ์ 5 5 9 9 0 0 14 14

สุโขทัย 00000000
อุตรดติ ถ์
11540065
รวม
9 12 24 23 45 48 78 83

ทมี่ า : สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ 5 จังหวดั และ
กองตอ่ ต้านการคา้ มนุษยก์ ระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ณ วนั ท่ี 18 ม.ี ค. 63

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษย์รายภมู ภิ าคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดติ ถ์)

51

จากตารางท่ี 18 แสดงจานวนผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์รายจังหวัด พ.ศ. 2560 - 2562 พบว่า
จงั หวดั พิษณโุ ลก มจี านวนผู้เสียหายจากการคา้ มนษุ ย์ มากทสี่ ดุ รองลงมาคือ ตาก และเพชรบรู ณ์ ตามลาดบั

สถิตผิ เู้ สยี หายคดคี ้ามนุษย์แยกตามสญั ชาติ
ตารางท่ี 19 แสดงสถิติผู้เสยี หายคดีคา้ มนุษยแ์ ยกตามสัญชาตริ ายจงั หวดั ปี 2560

(หน่วย:คน)

ักมพูชา
ีจน
บาห์เรน
มาเลเซีย
ยู ักนดา
ลาว
เกาห ีลใต้
เคนยา
เ ีมยนมา
เวียดนาม
แทนนซาเนีย
ไทย
ไ ่มทรา ัสญชาติ
ไร้ ัสญชาติ/
โรง ิฮงญา
รวม
จังหวดั

ตาก - - - - - - - - - - - - - 2 2
พิษณโุ ลก - - - - - - - - - - - 1 - - 1
เพชรบรู ณ์ - - - - - 4 - - - - - 1 - - 5
สโุ ขทยั - - - - - - - - - - - - - - 0
อตุ รดิตถ์ - - - - - - - - - - - 1 - - 1

รวม - - - - - 4 - - 2 - - 3 - - 9

ท่ีมา : สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ 5 จังหวัด

ตารางที่ 20 แสดงสถติ ิผู้เสียหายคดีค้ามนุษยแ์ ยกตามสัญชาติรายจังหวัด ปี 2561

(หน่วย:คน)

จงั หวัด กัมพูชา
จีน
บา ์หเรน
มาเลเซีย
ยู ักนดา
ลาว
เกาหลีใต้
เคนยา
เมียนมา
เ ีวยดนาม
แทนนซาเนีย
ไทย
ไ ่มทราบ ัสญชา ิต
ไ ้รสัญชาติ/
โรงฮิงญา
รวม

ตาก - - - - - - - - 3 - - 2 - -5
พษิ ณุโลก - - - - - - - - - - - 5 - -5
เพชรบรู ณ์ - - - - - 4 - - - - - 5 - -9
สโุ ขทยั - - - - - - - - - - - - - -0
อตุ รดิตถ์ - - - - - - - - - - - 5 - -5
รวม - - - - - 4 - - 3 - - 17 - - 29

ทีม่ า : สานักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ 5 จังหวดั

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมภิ าคและการจัดระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ)์

52

ตารางที่ 21 แสดงสถติ ผิ ู้เสยี หายคดคี า้ มนุษยแ์ ยกตามสัญชาตริ ายจงั หวดั ปี 2562

(หนว่ ย:คน)

จังหวัด ักมพูชา
ีจน
บาห์เรน
มาเลเซีย
ยูกันดา
ลาว
เกาห ีลใ ้ต
เคนยา
เ ีมยนมา
เวียดนาม
แทนนซาเนีย
ไทย
ไ ่มทราบ ัสญชา ิต
ไร้ ัสญชาติ/
โรง ิฮงญา
รวม

ตาก - - - - - - - - 17 - - - - - 17
พษิ ณโุ ลก - - - - - - - - - - - 28 - - 28
เพชรบรู ณ์ - - - - - - - - - - - - - -0
สุโขทยั - - - - - - - - - - - - - -0
อุตรดติ ถ์ - - - - - - - - - - - - - -0
รวม - - - - - - - - 17 - - 28 - - 45

ทม่ี า : สานักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ 5 จงั หวัด

จากตารางท่ี 19 - 21 แสดงสถิติผู้เสียหายคดีค้ามนุษย์แยกตามสัญชาติรายจังหวัด แสดงจานวนคดี
การค้ามนษุ ย์รายจงั หวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562 เม่ือเปรียบเทียบข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง
พบว่า ผู้เสียหายจากคดีการค้ามนุษย์สัญชาติไทยมีจานวนมากท่ีสุด สาหรับปี 2562 ผู้เสียหายมีสัญชาติไทย
มากทีส่ ุด รองลงมาคอื สญั ชาติเมยี นมา และจังหวัดทม่ี ผี เู้ สยี หายคดคี ้ามนุษย์ในพนื้ ที่มากทีส่ ุด 3 อันดับแรก คือ
จังหวดั พษิ ณโุ ลก รองลงมาคือ ตาก และเพชรบรู ณ์ ตามลาดับ

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ์)

53

ส่วนที่ 3

บทวิเคราะห์
การจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนุษย์

1 การวิเคราะหส์ ถานการณ์การคา้ มนุษยร์ ะดบั จงั หวดั และภูมภิ าค

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 ทาการศึกษาจากนโยบายยุทธศาสตร์ด้านการปูองกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศ ระดับชาติ ระดับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ระดับจงั หวัด สถิติข้อมูลสถานการณ์การค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนล่าง 1 จานวน 5 จังหวัด (ตาก พิษณุโลก
เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์) สถิติจากกองต่อต้านการค้ามนุษย์ สถิติข้อมูลที่เกี่ยวข้องยังอาจเป็นปัจจัยเสริม
ที่ทาให้เกิดสถานการณ์การค้ามนุษย์ จากข้อมูลสถิติในบทท่ี 2 ท่ีรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์
การค้ามนุษย์รายจังหวัดในพื้นท่ีภาคเหนือตอนล่าง 1 และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทารายงาน
สถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) ในพ้ืนที่ 5
จังหวัด ซึ่งผู้เข้าร่วมประกอบด้วยคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด
และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่ ได้ร่วมกันวิเคราะห์ ในประเด็นสถานการณ์การค้ามนุษย์ในระดับจังหวัด
รูปแบบการค้ามนุษย์ที่เกิดข้ึนในพ้ืนที่และเส้นทางการค้ามนุษย์ ปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ ปัจจัย
ความสาเร็จในการขับเคล่ือนงานระดบั จังหวัด ปัญหา/อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ สรปุ ไดด้ ังนี้

จังหวัด สถานะและเส้นทางของการค้ามนษุ ย์รายจงั หวัด

ตาก ต้นทาง ทางผา่ น ปลายทาง
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์  
สุโขทัย
อุตรดติ ถ์  

- 

- -

 

1.1 สถานะการคา้ มนุษย์ระดับจงั หวัด สรุปไดด้ ังนี้

 จงั หวัดตาก มี 3 สถานะ คอื

1) เป็นต้นทาง เน่ืองจากเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และมี
จุดผ่านแดนและจดุ ผ่อนปรนทางธรรมชาติท่ีเป็นช่องทางสัญจรระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพ
เมยี นมา ซ่ึงทาให้มปี ระชากรแฝงในพนื้ ทีจ่ ังหวัดตากถูกนาไปสู่กระบวนการการค้ามนุษย์

2) เป็นทางผ่าน คือ ชาวต่างด้าวท่ีเดินทางเข้ามาทางานในจังหวัดตาก หรือลักลอบเข้าไปทางานท่ี
จงั หวัดอืน่ ๆ เช่น กรงุ เทพฯ จงั หวดั สมุทรปราการ และจงั หวัดสมุทรสาคร หรือจังหวัดใหญ่ๆ ในแตล่ ะภมู ิภาค

3) เป็นปลายทาง คือ เป็นจังหวัดท่ีมีอาณาเขตติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เป็นพ้ืนท่ี
เสยี่ งทมี่ ีการชกั จงู หลอกลวงเด็กและผู้หญิงเข้าสู่กระบวนการค้ามนุษย์

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภมู ภิ าคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ์)

54

 จงั หวัดพิษณุโลก มี 3 สถานะ คือ

1) เป็นต้นทาง คือ มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาขนาดเล็กและขนาดใหญ่จานวนมาก ทาให้มี
ประชากรกลมุ่ เด็กและเยาวชนมโี อกาสเข้าสกู่ ระบวนการคา้ มนุษย์ในรูปแบบต่างๆ ทั้งเต็มใจและถกู ล่อลวง

2) เป็นทางผ่าน เน่ืองจากจังหวัดพิษณุโลกเป็นศูนย์กลางด้านการคมนาคมขนส่ง มีเส้นทางที่
สามารถเดนิ ทางไปยังภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศได้ ทาใหข้ บวนการคา้ มนุษย์นาแรงงานหรือเหยื่อเดินทางต่อไป
ยังจังหวัดอื่น เช่น กรุงเทพฯ ชลบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ และประเทศท่ีสาม เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์
เปน็ ต้น

3) เป็นปลายทาง คือ มีสถานประกอบการ เช่น โรงแรมและหอพักกระจายอยู่ในจังหวัดจานวน
มาก จึงทาให้มีการจ้างแรงงานต่างด้าวเพ่ิมขึ้น และมีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาขนาดเล็กและขนาดใหญ่
จานวนมาก ทาให้มีประชากรกลุ่มเด็กและเยาวชนเคล่ือนย้ายเข้ามาในพื้นที่จานวนมาก ซึ่งมีโอกาสเข้าสู่
กระบวนการคา้ มนุษยใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ทั้งเต็มใจและถกู ล่อลวง

 จังหวัดเพชรบูรณ์ มี 2 สถานะ คือ

1) เป็นต้นทาง เน่ืองจากประชาชนในพ้ืนที่ถูกล่อลวงผ่านนายหน้าไปค้าแรงงานต่างประเทศ
ในสถานประกอบการ/สวนผลไม้ หรือค้าบรกิ ารทางเพศ

2) เป็นปลายทาง คือ มีการชักชวนและล่อลวงผู้ไม่มีงานทา การศึกษาน้อย ว่างงานจาก
ชนบทเข้ามาแสวงหาโอกาสและรายได้ในพ้ืนทเี่ มอื งของจังหวัดเพชรบูรณ์ มีการนาเด็ก ผู้หญิง คนสูงอายุเข้ามา
ค้ามนุษย์หรอื แสวงหาประโยชน์

 จงั หวัดสุโขทยั มี 1 สถานะ คือ

1) เป็นทางผ่าน คือ เป็นเส้นทางพักพิงในการนาแรงงานหรือเหยื่อในขบวนการค้ามนุษย์ เพ่ือ
เดนิ ทางตอ่ ไปยงั จงั หวดั อ่นื เช่น กรุงเทพฯ ชลบุรี สมทุ รสาคร สมุทรปราการ และประเทศที่สาม เช่น มาเลเซีย
สิงคโปร์

 จังหวดั อตุ รดิตถ์ มี 3 สถานะ คือ

1) เป็นต้นทาง เนื่องจากประชาชนในพ้ืนที่ถูกล่อลวงโดยเฉพาะเด็กและสตรี ถูกหลอกลวงผ่าน
นายหน้าไปคา้ แรงงานในสถานประกอบการ หรือคา้ บรกิ ารทางเพศ

2) เป็นทางผา่ น คอื ชาวลาวทเ่ี ดนิ ทางเข้ามาทางานในจังหวดั อุตรดิตถ์ และเดนิ ทางต่อไปทางาน
ทจ่ี งั หวดั อืน่ ๆ เชน่ กรงุ เทพฯ จงั หวัดใหญๆ่ ในแตล่ ะภูมิภาค

3) เป็นปลายทาง คือ มีการชักชวนและหลอกลวงผู้ไม่มีงานทา การศึกษาน้อย ว่างงานจาก
สปป.ลาว หรือคนในชนบท เข้ามาแสวงหาโอกาสและรายได้ในพ้ืนที่เมืองของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีการนาเด็ก
ผู้หญงิ คนสงู อายุเข้ามาค้ามนษุ ย์หรอื แสวงหาประโยชน์

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ)์

55

1.2 สถานการณค์ ้ามนษุ ย์ระดับภมู ิภาค

สถานะการค้ามนุษย์แบ่งเป็น 3 สถานะ คือ ต้นทาง, ทางผ่าน, และปลายทาง โดยเป็นจังหวัดต้นทาง
หมายถงึ จังหวดั ตน้ ทางที่มีประชาชนในพื้นท่ีถูกล่อลวงและตกเป็นเหยื่อขบวนการค้ามนุษย์ เช่น การหลอกลวงไป
บังคับใช้แรงงานและค้าประเวณีต่างประเทศ จังหวัดทางผ่าน หมายถึง ขบวนการค้ามนุษย์ใช้เป็นทางผ่านพาคน
จากจังหวัดใกล้เคียงไปยังจังหวัดอื่น ๆ และเป็นจังหวัดปลายทาง หมายถึง การนาคนจากที่อื่นเข้ามาพักและ
แสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณีแอบแฝงในสถานบริการ/สถานประกอบการ ซึ่งสถานการณ์การค้ามนุษย์
ระดับภูมภิ าค พบว่า จังหวัดในเขตรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 จังหวัดท่ีมี 3 สถานะ
(ต้นทาง, ทางผา่ น, และปลายทาง) ได้แก่ จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดที่มี 2 สถานะ
ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นต้นทางและปลายทาง และจังหวัดท่ีมี 1 สถานะ คือ จังหวัดสุโขทัยเป็นทางผ่าน
ท้ังน้ี เน่ืองจากส่วนใหญ่เป็นจังหวัดท่ีเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ ด้านเกษตรกรรม ด้านการศึกษา ด้านคมนาคม
ขนส่ง และด้านการท่องเที่ยว จึงทาให้มีการเคลื่อนย้ายของประชากรเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่เป็นจานวนมาก โดยเฉพาะ
กลุ่มเด็ก เยาวชน และวัยแรงงาน จึงทาให้เกิดกระบวนการหลอกลวงประชาชนเพ่ือเข้าสู่กระบวนการค้ามนุษย์ใน
พืน้ ที่จังหวดั และส่งตอ่ ไปยังจังหวัดอ่ืน ๆ หรอื ตา่ งประเทศ

1.3 รปู แบบและปัจจยั ทผ่ี ลกั ดันใหเ้ กิดปญั หาการค้ามนษุ ยร์ ายจงั หวัด

จงั หวัด รปู แบบการคา้ มนุษย์ ปัจจัยท่ีผลกั ดนั ให้เกดิ ปัญหาการคา้ มนษุ ย์
ตาก 1. ปัญหาความยากจน
1. การแสวงหาผลประโยชน์จากการคา้ ประเวณี 2. การเคลื่อนยา้ ยแรงงานตา่ งด้าว
พิษณุโลก 2. การบังคบั ใช้แรงงาน 3. ปัญหาครอบครวั
3. การนาคนมาขอทาน 4. คา่ นิยม/ทศั นคติ
4. การแสวงหาผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น
(การขายเด็ก โดยแม่ขายลกู ให้กบั นายหน้า) 1. ปญั หาความยากจน
1. การแสวงหาผลประโยชน์จากการคา้ ประเวณี 2. การรเู้ ท่าไม่ถงึ การณ์
2. การผลติ หรอื เผยแพรว่ ตั ถุหรือส่อื ลามก 3. พื้นฐานครอบครัว
3. การแสวงหาผลประโยชนใ์ นรปู แบบอนื่ 4. การใชเ้ ทคโนโลยใี นทางทีผ่ ิด
(ผา่ นระบบออนไลน์ เช่น LINE) 5. คา่ นิยม/ทศั นคติ
6. การเคลอ่ื นย้ายแรงงานต่างด้าว
เพชรบรู ณ์ 1. การนาคนมาขอทาน 1. ปญั หาความยากจน
2. การแสวงหาผลประโยชน์จากการค้าประเวณี 2. การศกึ ษา
สโุ ขทยั 3. การบงั คับใชแ้ รงงาน (เด็ก) 3. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี
อุตรดิตถ์ 4. การแสวงหาผลประโยชน์ในรปู แบบอน่ื
(การอุ้มบญุ ) -
1. ปญั หาความยากจน
- 2. ปญั หาครอบครวั
3. การเคลือ่ นย้ายแรงงานตา่ งดา้ วเขา้ มา
1. การแสวงหาผลประโยชน์จากการคา้ ประเวณี ในประเทศไทย
2. การบงั คบั ใช้แรงงาน

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมภิ าคและการจัดระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ)์

56

รูปแบบและปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ของทั้ง 5 จังหวัด ในเขตรับผิดชอบของ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 มีรูปแบบการค้ามนุษย์ที่สาคัญ 5 รูปแบบ คือ 1) การแสวงหา
ประโยชน์จากการค้าประเวณี 2) การผลิตหรอื เผยแพรว่ ัตถหุ รอื สือ่ ลามก 3) การบังคับใช้แรงงาน 4) การนาคน
มาขอทาน และ 5) การแสวงหาผลประโยชน์ในรูปแบบอื่น ตามลาดับ และปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการค้ามนุษย์
ได้แก่ ปญั หาความยากจน การใชเ้ ทคโนโลยีในทางที่ผิด การศึกษา ทัศนคติและค่านิยมในวตั ถุนยิ ม

2 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพระดบั จงั หวดั และภมู ิภาค (ปัจจัยความสาเร็จ จุดแขง็ จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค)

 จงั หวัดตาก

ปัจจัยความสาเรจ็ โอกาสและจดุ แขง็
1. มอี นุสัญญาต่างๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การปูองกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ยร์ ะหว่างประเทศ
2. มเี ครอื ข่ายท่ีเข้มแข็งในจังหวัดเกดิ การบูรณาการดาเนินงาน
3. มี NGO ในพนื้ ที่ ท่ดี าเนนิ งานดา้ นการปอู งกันและปราบปรามการค้ามนุษยร์ ะหวา่ งประเทศ
4. มเี ครอื ขา่ ยที่ทางานดา้ นการปูองกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ประจาอาเภอแมส่ อด ซึ่งมี

การทางานรว่ มกันอย่างตอ่ เนื่อง
5. มกี ารออกตรวจพืน้ ท่เี ส่ียงในการค้ามนุษยโ์ ดยตรง
6. มีศูนยเ์ รียนร้ดู ้านเดก็ และเยาวชนในพนื้ ท่ีอาเภอแม่สอด ในการให้ความรู้ในการปูองกันปัญหา

การค้ามนุษย์ โดยมกี ลมุ่ เปาู หมายเปน็ เด็กต่างชาติ

ปัญหา อุปสรรค และจุดอ่อน
1. ขาดล่ามภาษาทม่ี ีองค์ความรู้ด้านการคา้ มนุษย์
2. ทมี สหวิชาชพี ยงั ขาดทักษะและความเข้าใจในเร่ืององค์ประกอบท่ีเข้าข่ายการคา้ มนุษย์
3. ความแตกต่างระหวา่ งศาสนาและความเช่ือ
4. คาจากัดความในข้อกฎหมายของแตล่ ะหน่วยงานมีความแตกต่างกนั เช่น ช่วงอายขุ อง “เด็ก”

หรือ “เยาวชน” เปน็ ตน้
5. การปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยงาน ในการทางานด้านการปูองกันและปราบปราม

การคา้ มนษุ ย์ ทาให้การประสานงานไม่ต่อเนอ่ื ง และไม่มีขอ้ มูลในการดาเนนิ งานเทา่ ท่ีควร
 จงั หวัดพิษณโุ ลก

ปัจจัยความสาเร็จ โอกาสและจุดแขง็
1. ผูบ้ ริหารระดับจงั หวัดให้ความรว่ มมือในการดาเนินงานตามนโยบายของรฐั บาล
2. ทมี จัดระเบยี บสังคม มีการบูรณาการในการทางานรว่ มกนั อย่างตอ่ เน่ือง
3. มที มี สหวิชาชพี ท่ีเข้มแข็ง มีการดาเนนิ งานตามกระบวนการปอู งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

อยา่ งต่อเนือ่ ง

ปญั หา อปุ สรรค และจุดอ่อน
1. หน่วยงานอ่นื ท่เี ก่ียวขอ้ งไม่ให้ความสาคญั ในการของบจากกองทุนค้ามนุษย์
2. การของบจากกองทุนค้ามนุษย์มีความยุ่งยาก
3. การสรา้ งหุ้นส่วนการทางานปูองกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์กับภาคประชาชนไม่ตอ่ เนือ่ งและ

ไมส่ มา่ เสมอ
4. การรณรงค์/การประชาสัมพนั ธ/์ การส่ือสาร ยังไม่ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปูาหมาย

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์)

57

 จังหวัดเพชรบรู ณ์

ปจั จัยความสาเรจ็ โอกาสและจดุ แขง็
1. ผบู้ ริหารระดับจงั หวดั ให้ความร่วมมือในการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล
2. การทา MOU ด้านการปอู งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยก์ บั หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง
3. ไดร้ ับความมือจากหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องเป็นอย่างดี ตามบทบาทภารกิจของแต่ละหน่วยงาน

ที่ได้รบั มอบหมาย
4. มที ีมสหวิชาชพี ในพ้นื ทีร่ ะดบั อาเภอ
5. การให้ความรู้กบั กลุ่มเปูาหมายท่หี ลากหลาย เช่น สอื่ มวลชน

ปญั หา อุปสรรค และจดุ อ่อน
1. เจ้าหนา้ ทผ่ี ู้ปฏิบัติงานขาดทักษะและความเชยี่ วชาญเกยี่ วกับพรบ.ค้ามนุษย์
2. พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีมีไม่เพียงพอในการปฏิบตั ิงาน เช่น พนกั งานสอบสวนหญิง เปน็ ต้น
3. องค์ความรูก้ ารคา้ มนุษย์ยงั ไม่ครอบคลุมและทัว่ ถึงผ้นู าท้องท่ีทอ้ งถิ่น

 จงั หวัดสุโขทยั

ปจั จัยความสาเร็จ โอกาสและจดุ แขง็
1. มเี ครือขา่ ยทเี่ ข้มแข็ง และมีการประสานงานอย่างต่อเนอ่ื ง เพอื่ ร่วมบรู ณาการเฝูาระวังปัญหา

การค้ามนุษย์ สง่ ผลให้คดีของการค้ามนุษย์ไมเ่ กดิ ข้ึนในพ้นื ที่
2. มกี ารสอดแทรกให้ความรู้การปูองกันปัญหาการค้ามนุษย์อยใู่ นทกุ กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ ใน

หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง
3. เปน็ เมืองวัฒนธรรมมรดกโลก
4. มีการจัด Zoning แหล่งทอ่ งเทย่ี ว ใหอ้ ยูใ่ นเขตเดยี วกนั
5. มีการออกตรวจจัดระเบียบสังคมอย่างตอ่ เน่ือง
6. จงั หวัดสโุ ขทัยมีทมี ฝาุ ยปกครองท่ีเขม้ แขง็
7. มีสถานบรกิ าร/สถานบนั เทงิ จานวนน้อย และสามารถควบคุมให้ดาเนินการตามกฏหมาย

ปัญหา อุปสรรค และจดุ อ่อน
1. แหล่งพกั พงิ ของขบวนการค้ามนุษย์มีการปรบั เปลย่ี นตลอดเวลา
2. การปรบั เปลยี่ นเจา้ หน้าทแี่ ตล่ ะหน่วยงาน ในการทางานด้านการปอู งกันและปราบปราม

การค้ามนุษย์ ทาให้การประสานงานไมต่ ่อเน่ือง

 จงั หวัดอุตรดิตถ์

ปจั จยั ความสาเรจ็ โอกาสและจดุ แข็ง

1. ทีมสหวิชาชพี มีความเข้มแข็ง
2. สานกั งานแรงงานจังหวัดมีล่ามภาษาที่น่าเชื่อถือให้ความเชื่อม่ันในการสอื่ สาร

3. หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องมีบทบาท ภารกจิ ในการดาเนนิ การจัดระเบียบอย่างชดั เจน มีการประสาน
สง่ ต่ออยา่ งเป็นระบบ

4. โรงพยาบาลจงั หวัดอุตรดติ ถ์ มีทีมแพทย์ทีส่ ามารถระบุอัตลกั ษณบ์ ุคคล เช่นแพทย์นติ เิ วช ตรวจ
มวลกระดูก /แผนกทันตกรรม ตรวจฟัน

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจัดระดับสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ์)

58

5. มีการทางานรว่ มกันท้ังเป็นทางการ และไมเ่ ป็นทางการ
6. มีมาตรการการปูองกนั และปราบปรามการคา้ มนุษยท์ ีบ่ ังคบั ใชอ้ ย่างชัดเจน
7. ไม่มโี รงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญใ่ นพื้นที่

ปัญหา อุปสรรค และจดุ อ่อน
1. ฐานข้อมลู กลุ่มเส่ียงยังไมค่ รอบคลมุ ทกุ กลุ่มเปาู หมาย
2. พน้ื ท่ีอยหู่ า่ งไกลทาให้ไมส่ ามารถเข้าไปดาเนินการไดท้ ันต่อสถานการณ์
3. การตดิ ตามพฤตกิ รรมของเด็กและเยาวชนทเ่ี ป็นกลมุ่ เสยี่ งไม่ต่อเนื่อง
4. มชี อ่ งทางผา่ นแดนทางธรรมชาตทิ ี่สามารถเข้า-ออกได้ง่าย
5. การเสนอโครงการของบประมาณ ไมไ่ ด้รับการจัดสรรเนื่องจากถูกตคี วามว่าเป็นงานประจา
6. การปรบั เปลย่ี นบุคคลากรในหน่วยงาน ไมใ่ ชบ่ ุคคลเดิม ทาใหท้ างานไม่ต่อเน่ือง หรอื การ

ประสานงานไมต่ ่อเน่ือง
7. ลา่ มภาษามนี ้อย และต้องไดร้ ับความยนิ ยอมจากนายจ้างให้เข้ามาทาหนา้ ท่ี

3. การวเิ คราะหน์ โยบายจังหวดั ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ 5P

P1 Policy ด้านการพฒั นากลไกเชิงนโยบายและการขับเคลื่อน พบว่า ในพ้ืนท่ี 5 จังหวัด ภาคเหนือ
ตอนล่าง 1 ใช้กลไกคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดเป็นหลัก
ในการติดตามและกากับการดาเนินงาน รวมถึงการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ท้ังน้ี ใช้กลไกคณะ
อนุกรรมด้านอ่ืนของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เช่น คณะอนุกรรมการควบคุมการ
ขอทานจงั หวดั และคณะอนุกรรมการของกระทรวงที่เกี่ยวข้องเป็นกลไกเสริมกระบวนการทางานของจงั หวดั

P2 Prosecution ดา้ นดาเนนิ คดี พบวา่ ในพ้นื ท่ี 5 จงั หวัดภาคเหนอื ตอนล่าง 1 เนน้ การบังคับการใช้
กฎหมายตามภารกิจและอานาจหน้าที่ทีไ่ ด้รับจากกฎหมายของแต่ละหน่วยงาน มีการตรวจตราสถานท่ีเสี่ยงต่อ
การค้ามนุษย์ทั้งสถานบนั เทิง และสถานประกอบการตา่ ง

P3 Protection ด้านการคุ้มครองช่วยเหลือ พบว่า ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 เน้น
กระบวนการให้การช่วยเหลือคุ้มครองตามกฎหมาย มีแผนงานในการติดตามดาเนินคดี และการประเมิน
ครอบครวั และการพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั ิงาน

P4 Prevention ดา้ นการปอ้ งกัน พบวา่ ในพืน้ ที่ 5 จงั หวัดภาคเหนอื ตอนล่าง 1 มีแผนงาน โครงการ
ดา้ นการปอู งกันมากทสี่ ุด โดยให้ความรแู้ ก่กลุม่ เปูาหมายเด็กและเยาวชน อาสาสมัคร แรงงานต่างด้าว เจ้าของ
สถานประกอบการ การตรวจสอบสถานที่เสี่ยงต่างๆ โดยท้ัง 5 จังหวัดได้รับงบประมาณจากกองต่อต้านการค้า
มนษุ ย์ในหลายกิจกรรม

P5 Partnership ด้านการพฒั นาความร่วมมือกับภาคเี ครอื ขา่ ย พบวา่ ในพ้ืนที่ 5 จงั หวัดภาคเหนอื
ตอนล่าง 1 จงั หวดั ตาก มกี ารประชมุ ทวิภาคีไทย–เมียนมา (ตาก – เมียวด)ี สร้างความร่วมมือระดับทวิภาคีกบั
ประเทศเพ่ือนบ้าน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ การทา MOU หนว่ ยงานทาให้เกดิ การบรู ณาการในการดาเนนิ งานร่วมกนั ทง้ั
เป็นทางการ และไมเ่ ปน็ ทางการ

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ายภมู ิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดติ ถ)์

59

บทสรปุ ผูบ้ ริหารระดับสูงของจังหวัดทั้ง 5 จังหวัด มีนโยบายเน้นย้าและให้ความสาคัญในการปูองกัน
และแก้ไขปญั หาการค้ามนษุ ย์ โดยมกี ารประกาศนโยบายด้านการปูองกันปราบปรามการค้ามนุษย์ และจัดเป็น
วาระเร่งด่วนของจังหวัด ทั้งน้ี ทุกจังหวัดได้จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและปราบการค้ามนุษย์ประจาปี
เพ่ือการขับเคลื่อนให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์และมาตรการในการปูองกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 – 2564 มีการรวบรวมแผนงาน โครงการของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใน
จังหวัดประกอบในแผนปฏิบัติการฯ เพื่อให้มีความครอบคลุมตามรูปแบบการค้ามนุษย์ที่ปรากฏในแต่ละพื้นท่ี
โดยมขี อ้ สงั เกต แผนงานโครงการดาเนินการตามกรอบภารกิจของหน่วยงาน จังหวัดควรมีแผนงานโครงการใน
ลักษณะทาร่วมกันแบบบูรณาการโดยสามารถของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพื่อการปูองกันและ
ปราบปราม การค้ามนุษย์เพ่ือให้การดาเนินงานสอดคล้องกับบริบทพื้นท่ีและสถานการณ์ความเส่ียงท่ีอาจเกิด
การคา้ มนุษย์

4. การจดั ระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจังหวัด (Grouping)

การจัดระดบั ไม่ใช่การจดั อนั ดับของระดบั สถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวดั ต่างๆเนื่องจากบริบท
ของพื้นทท่ี ี่แตกตา่ งกนั และจานวนคดีที่มากอาจไม่ได้หมายความว่าจังหวดั มคี วามรุนแรงของสถานการณ์
มากกวา่ กนั เนอื่ งจากหนว่ ยงานตา่ งๆมีการจดั เก็บขอ้ มูลจานวนมากและกระจดั กระจายเช่นจานวนแรงงานต่าง
ด้าวจานวนโรงแรมจานวนสถานบรกิ ารจานวนโรงงานจานวนชอ่ งทางการคา้ มนุษย์อัตราว่างงานรายไดข้ อง
ประชากรเป็นตน้ ทาใหแ้ ต่ละจังหวัดมรี ปู แบบของข้อมลู ที่แตกต่างกนั

กรอบแนวคิดของการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์มาจากปัจจัยหลักและปัจจัยแวดล้อมที่
ก่อใหเ้ กดิ คดโี ดยการวดั จากขอ้ มลู จานวนคดีจานวนผู้ต้องหาและจานวนผู้เสียหายจากกองต่อต้านการค้ามนุษย์
นาไปหาอัตราส่วนของคดีต่อพ้ืนท่ีหม่ืนตารางกิโลเมตร อัตราส่วนผู้ต้องหาต่อประชากรล้านคนอัตราส่วน
ผู้เสียหายต่อประชากรล้านคนและให้ค่าน้าหนักของจานวนคดี 30% จานวนผู้ต้องหา 30% และจานวน
ผู้เสยี หาย 40 เปอร์เซ็นต์และนาอัตราส่วนท่ีได้ไปตรวจสอบลักษณะของข้อมูลด้วยสถิติพรรณนามีนัยยะสาคัญ
ทางสถติ ิที่ระดับ 0.01 ทาใหส้ ามารถกาหนดชว่ งชั้นของระดบั สถานการณเ์ ป็น 4 ระดบั

กรอบแนวคิดและข้อมูลทใ่ี ช้ในการจัดระดับสถานการณ์

จานวนแรงงานตา่ งด้าว คดีคา้ มนุษย์ 30% ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษยจ์ ังหวัด
จานวนโรงงาน ผู้ต้องหา
จานวนโรงแรม ผเู้ สียหาย (Grouping)
จานวนสถานบรกิ าร 30% ระดับที่ 1 ปกติ
รายได้เฉลี่ยต่อ
ครวั เรอื น 40% ระดับที่ 2 เล็กนอ้ ย
จานวนเรือ ระดบั ที่ 3 เฝูาระวัง
คา่ ใช้จ่ายครัวเรือน
หนส้ี ินตอ่ ครวั เรอื น ระดับที่ 4 เฝูาระวงั เปน็ พเิ ศษ
GDP ตอ่ หัว
จานวนคนจน
จังหวัดต้นทาง
จังหวดั ทางผ่าน
จงั หวดั ปลายทาง

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ์)

60

เกณฑ์การจัดระดับสถานการณก์ ารค้ามนุษย์จังหวัด (Grouping) โดยใชข้ ้อมูลสถิตปิ ี พ.ศ. 2560-2562

สถิติพรรณนา จานวนคดี ตัวช้วี ดั จานวนผู้เสยี หาย
3.8743 จานวนผูต้ ้องหา 18.7259
คา่ คะแนนเฉลยี่ 11.2389 28.8512
สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.3300 7.9740 2.3333
95.3300 21.8330 189.0000
คา่ มธั ยฐาน 1.3300 2.6667 2.3330
ค่าพสิ ยั 3.1650 183.3300 11.8330
Percentiles 50 6.9070 2.6667 28.5830
Percentiles 75 >6.9070 7.0000 >28.5830
Extreme Value 16.0000
Outlier value >16.0000

กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังน้ี

P1 P50 P75 extreme outlier

ค่าคะแนน  

อัตราส่วนจานวนคดี 0 1.3300 3.1650 6.9070
อัตราส่วนจานวนผ้ตู ้องหา 0 5.6925 12.6401 20.0725
อัตราส่วนจานวนผู้เสียหาย 0 6. 1400 15.4032 20.6688

เกณฑ์การจัดระดับสถานการณค์ ้ามนษุ ย์ มี 4 ระดับ ดงั นี้

ระดบั ที่ 1 = 0.0000 – 1.0000 หมายถึง ปกติ
ระดับท่ี 2 = 1.0001 – 2.0000 หมายถงึ เลก็ น้อย
ระดับที่ 3 = 2.0001 – 3.0000 หมายถึง เฝาู ระวงั
ระดบั ที่ 4 = 3.0001 – 4.0000 หมายถงึ เฝาู ระวงั เปน็ พิเศษ

5. ผลการจดั ระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั ประจาปี 2562

จากการนาเข้าข้อมูล จานวนคดี จานวนผู้ต้องหา และจานวนผู้เสียหาย ในปี พ.ศ. 2562
ระดับประเทศจากกองต่อต้านการค้ามนุษย์ (ตารางสถิติสาคัญด้านการค้ามนุษย์ในภาคผนวก) เพื่อหา
อัตราส่วนของคดีต่อพ้ืนท่ีหม่ืนตารางกิโลเมตร อัตราส่วนผู้ต้องหาต่อประชากรล้านคน อัตราส่วนผู้เสียหายต่อ
ประชากรล้านคน โดยให้ค่าน้าหนักของจานวนคดี 30% จานวนผู้ต้องหา 30% และจานวนผู้เสียหาย 40%
และนาอัตราส่วนท่ีได้ไปตรวจสอบลักษณะของข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01
พบว่า จังหวัดท่ีมีระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ปกติ (สีเขียว) มี 40 จังหวัด ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์
เล็กน้อย (สีเหลือง) 14 จังหวัด ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์เฝูาระวัง (สีส้ม) 17 จังหวัด ระดับสถานการณ์
การคา้ มนษุ ย์เฝาู ระวังเปน็ พเิ ศษ (สแี ดง) 6 จงั หวดั ดงั แผนภาพท่ี 3

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ)์

61

แผนภาพท่ี 3 แผนทีก่ ารจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ะดบั ประเทศ ประจาปี 2562

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ์)

62

การจัดระดับสถานการณ์การค้ามนษุ ยโ์ ดยใช้ขอ้ มูลจานวนสถิตจิ านวนผู้ต้องหาและจานวนผู้เสียหายใน
ปี พ.ศ. 2562 ในพื้นที่ 5 จังหวัด (ตารางที่ 16 – 18) สาหรับข้อมูลประจาปี 2562 โดยการใช้ค่าสถิติในการ
วิเคราะห์ประมวลผลในการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ พบว่า อยู่ในเกณฑ์เฝูาระวัง (สีส้ม) 2 จังหวัด
ได้แก่ จังหวัดตาก และพิษณุโลก กล่าวคือ เกิดการกระทาความผิดฐานค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ีปานกลาง และอยู่ใน
เกณฑป์ กติ (สเี ขยี ว) 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์ กล่าวคือ เกิดการกระทาความผิด
ฐานค้ามนุษย์น้อย ทั้งน้ี จากการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ประจาปี 2562 ของจังหวัดในเขตพื้นท่ี
รบั ผิดชอบของสานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 8 ซง่ึ อย่ใู นเกณฑ์ท่ีเกิดการกระทาความผิดฐานค้ามนุษย์
ในพน้ื ทปี่ านกลาง - น้อยมาก จะเห็นได้ว่าเป็นผลจากการดาเนินงานสาคัญ 3 ปีย้อนหลังพ.ศ. 2560 ถึง 2562
ตามรายงานฉบับนีใ้ นส่วนที่ 1 ซง่ึ แตล่ ะจงั หวัดมีการดาเนินงานท่ีเข้มงวด มีกลไกการขับเคล่ือนในระดับจังหวัด
คือ มศี ูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารปูองกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์จังหวดั ทม่ี ีผู้วา่ ราชการจังหวดั เป็นประธาน คอยกากับ
ติดตามผลการดาเนินงานด้านการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ี และมีเครือข่ายท้ังภาครัฐ
ภาคเอกชนท่ีมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในพ้ืนท่ี ทาให้คดีค้ามนุษย์ท่ีเกิดข้ึนในภาพรวมของภูมิภาคใน
เขตรับผิดชอบของสานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 8 มแี นวโนม้ ลดลง (ตามตารางท่ี 16) จาก 15 คดีใน
ปี 2561 เหลือ 13 คดี ในปี 2562 โดยมี 3 จังหวัดที่ไม่มีคดีค้ามนุษย์ในพื้นที่ จานวน 3 จังหวัด คือ จังหวัด
เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ์

แผนภาพที่ 4 แผนทีก่ ารจัดระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ยจ์ งั หวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของสสว.8
ประจาปี 2562

อตุ รดติ ถ์

ตาก สโุ ขทยั พษิ ณโุ ลก

เพชรบรู ณ์

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจัดระดับสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์

63

ส่วนท่ี 4
บทสรุปและข้อเสนอแนะ

โครงการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและจัดระดับสถานการณ์การ
ค้ามนุษย์ ของจังหวัด (Grouping) ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์
สถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค และจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) ตามเขต
พื้นทีร่ ับผิดชอบของ สสว.8 โดยในส่วนท่ี 4 ได้ระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เป็นทีมสหวิชาชีพของจังหวัด
ในพื้นท่ีภาคเหนือตอนล่าง 1 วิเคราะห์ SWOT สถานการณ์การค้ามนุษย์และปัญหาและอุปสรรคในการ
ปฏิบตั ิงาน สรุปไดด้ งั น้ี

1. การวเิ คราะห์ SWOT ภาคเหนือตอนลา่ ง 1

จุดแข็ง จดุ อ่อน

- ผู้บริหารระดับจังหวัดให้ความสาคัญและความ - ทีมสหวิชาชีพยังขาดทักษะและความเข้าใจในเร่ือง
ร่วมมอื ในการดาเนนิ งานตามนโยบายของรัฐบาล องคป์ ระกอบท่เี ข้าข่ายการค้ามนุษย์/พรบ.ค้ามนุษย์
- มที มี สหวิชาชีพและเครือข่ายในระดับพ้ืนท่ีท่ีเข้มแข็ง - พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีไม่เพียงพอในการปฏิบัติงาน
เกดิ การบรู ณาการในการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ เช่น พนักงานสอบสวนหญงิ
- มี NGO ในพ้ืนที่ ที่ดาเนินงานด้านการปูองกันและ - การปรับเปล่ียนเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยงาน ในการ
ปราบปรามการคา้ มนุษยร์ ะหวา่ งประเทศ ทางานด้านการปูองกันและปราบปรามการค้า
- มีการออกตรวจพ้นื ทเี่ ส่ยี งในการค้ามนุษย์โดยตรง มนุษย์ ทาให้การประสานงานไม่ต่อเนื่อง และไม่
- ทีมจดั ระเบียบสังคม มีการบูรณาการในการทางาน ข้อมูลในการดาเนนิ งานเทา่ ที่ควร
รว่ มกนั อย่างเข้มแข็ง และมกี ารประชุมอย่างต่อเนื่อง - การสร้างหุ้นสว่ นการทางานปอู งกันและปราบปราม
- มีเครือข่ายท่ีทางานด้านการปูองกันและปราบปราม การค้ามนุษย์กับภาคประชาชนไม่ต่อเนื่องและไม่
การค้ามนุษย์ประจาอาเภอแม่สอด ซ่ึงมีการทางาน สมา่ เสมอ
รว่ มกนั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง - การรณรงค์/การประชาสัมพันธ์/การสื่อสาร ยังไม่
- มีศูนย์เรียนรู้ด้านเด็กและเยาวชนในพื้นท่ีอาเภอ ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย
แม่สอด ในการให้ความรู้ในการปูองกันปัญหา - ฐานขอ้ มูลกล่มุ เสีย่ งยังไม่ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปูาหมาย
การคา้ มนษุ ย์ โดยมีกลุ่มเปูาหมายเปน็ เดก็ ตา่ งชาติ - การติดตามพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนท่ีเป็น
- มีทีมแพทย์ที่สามารถระบุอัตลักษณ์บุคคล เช่น กลุม่ เสย่ี งไมม่ ีความตอ่ เน่ือง
แพทย์นติ ิเวช ตรวจมวลกระดกู /แผนกทนั ตกรรม - การเสนอโครงการเพอ่ื ขอสนบั สนุนงบประมาณจาก
- สานักงานแรงงานจังหวัดอุตรดิตถ์มีล่ามภาษา กองทุนค้ามนุษย์ไม่ได้รับการจัดสรรเน่ืองจากถูก
ทน่ี ่าเชือ่ ถอื ในการส่ือสาร ตีความว่าเปน็ งานประจา
- การใหค้ วามรูก้ ับกล่มุ เปูาหมายท่ีหลากหลาย เชน่
สอ่ื มวลชน เป็นต้น
- มีสถานบรกิ าร/สถานบันเทงิ จานวนนอ้ ยและ
สามารถควบคุมใหด้ าเนินการตามกฏหมาย
- ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญใ่ นพ้นื ที่

รายงานสถานการณ์การคา้ มนุษย์รายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ์)

64

โอกาส อปุ สรรค

- มีอนสุ ัญญาตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้องกับการปูองกนั และ - องค์ความรู้การค้ามนุษย์ยังไม่ครอบคลุมและท่ัวถึง

ปราบปรามการค้ามนุษยร์ ะหวา่ งประเทศ ผู้นาท้องทที่ ้องถ่ิน

- การทา MOU ด้านการปูองกันและปราบปราม - แหล่งพักพิงของขบวนการคา้ มนษุ ย์มีการปรบั เปลยี่ น

การคา้ มนุษยก์ ับหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตลอดเวลา

- มีการประชุมทวิภาคีไทย–เมียนมา (ตาก – เมียวดี) - ขาดลา่ มภาษาท่ีมีองค์ความร้ดู ้านการค้ามนุษย์

สร้างความร่วมมอื ระดับทวภิ าคกี ับประเทศเพื่อนบ้าน - ลา่ มภาษามนี ้อย และต้องได้รบั ความยินยอมจากนายจ้าง

- ไดร้ บั ความมือจากหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องเปน็ อยา่ งดี ให้เข้ามาทาหน้าที่

ตามบทบาทภารกจิ ของแต่ละหนว่ ยงานทีไ่ ด้รับ - ความแตกตา่ งระหวา่ งศาสนาและความเชื่อ

มอบหมาย - คาจากัดความในข้อกฎหมายของแตล่ ะหนว่ ยงานมี

- มีการสอดแทรกให้ความรู้การปอู งกนั ปัญหาการค้า ความแตกต่างกนั เช่น ชว่ งอายุของ “เดก็ ” หรือ

มนษุ ยใ์ นทุกกิจกรรมทีด่ าเนินการหน่วยงานที่ “เยาวชน”

เก่ียวขอ้ ง - การตีความแตล่ ะหน่วยงานในประเดน็ การคา้ มนุษย์

- เปน็ เมืองวัฒนธรรมมรดกโลก ทต่ี ่างกัน

- มกี ารจัด Zoning แหล่งท่องเท่ยี ว ให้อยู่ในเขตเดียวกัน - พน้ื ท่ีอยูห่ ่างไกลทาให้ไมส่ ามารถเขา้ ไปดาเนนิ การ

- สามารถการทางานรว่ มกนั ท้ังแบบเปน็ ทางการ และ ได้ทันต่อสถานการณ์

ไมเ่ ปน็ ทางการ - มชี ่องทางผ่านแดนทางธรรมชาตทิ ่สี ามารถข้ามแดน

- มมี าตรการการปูองกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ เข้า-ออกไดง้ ่าย

ทบ่ี ังคบั ใช้อย่างชัดเจน - หนว่ ยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องไมใ่ ห้ความสาคัญในการ

- มกี ารจัดกิจกรรมเพื่อการให้ความรู้กบั กลุ่มเปาู หมาย ของบจากกองทนุ คา้ มนุษย์ เน่อื งจากการของบจาก

ทห่ี ลากหลาย กองทุนคา้ มนุษย์มีความยุ่งยาก

2. ขอ้ เสนอแนะเชงิ งบประมาณและเชิงนโยบาย

2.1 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ

1) การเก็บข้อมูล การจัดระดับสถานการณ์ค้ามนุษย์ของจังหวัดในภาคเหนือตอนล่าง 1
แสดงให้เห็นถึงความรุนแรงของสถานการณ์การค้ามนุษย์ซ่ึงมีผลต่อการจัดสรรงบประมาณ และการกาหนด
รูปแบบการทางานผ่านการจดั ทาแผนปฏิบัติการ โดยในการปฏิบัติงานท่ีผ่านมาประสบปัญหาจากการรวบรวม
และจดั เก็บทาขอ้ มูล ซง่ึ ถือเป็นสว่ นทีส่ าคญั ในการช้ีเปาู สถานการณ์การค้ามนุษย์ให้ตรงกับบริบทพื้นที่เพื่อใช้ใน
การจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ทัง้ น้ี จากปญั หาการสับเปลี่ยนเจ้าหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายในการจัดเก็บข้อมูล ทาให้
รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแตกต่างกันในแต่ละปี ข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่งผลให้ไม่สามารถนาข้อมูลแต่ละปีมา
เปรียบเทียบกันได้ เน่ืองจากการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปี จะทาให้เห็นระดับสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลง
อัตราการเพิ่ม ลดลงของคดี ผู้เสียหาย ผู้กระทาผิด ฯลฯ ดังนั้นการดาเนินการด้านข้อมูลจะต้องมีรูปแบบ
ท่ีตรงกันเหมือนกัน และรวบรวมไว้เป็นระยะเวลาหลายปีต่อเนื่องกัน จึงจะเห็นแนวโน้มและอัตราเพิ่ม - ลด
การออกแบบรูปแบบการจัดเก็บข้อมูล จึงควรมีหน่วยงานราชการ องค์กรท่ีเกี่ยวข้อง การขอความร่วมมือจาก
สถาบันการศกึ ษา หรือหนว่ ยงานวชิ าการ รว่ มกันออกแบบให้เป็นองค์รวม ทั้งนี้ รูปแบบการรวบรวมข้อมูลท่ีไม่
เป็นหน่ึงเดียว ทาให้ข้อมูลคดีในบางพื้นท่ีไม่ตรงกับข้อมูลของส่วนกลาง การดาเนินคดีและรวบรวมข้อมูลคดี

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์)

65

จงึ ควรเป็นไปตามเขตรบั ผดิ ชอบ หากไมส่ ามารถผสานข้อมูลให้เป็นรูปแบบเดียวกันได้ การจัดทารายงานต้องมี
การจดั ทาข้อมูลครอบคลุมทกุ ระดับของข้อมูล โดยอ้างอิงที่มาของข้อมูลหรือมีการจัดทารายงานสถานการณ์ใน
ระดับจงั หวดั โดยความร่วมมอื จากหนว่ ยงานระดบั จงั หวัด

2) บคุ ลากร เปน็ ปัจจัยสาคัญที่สง่ เสริมการปฏิบตั งิ านของศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปราม
การค้ามนษุ ย์ประจาจังหวดั ประสบความสาเร็จตามเปูาหมายทตี่ ั้งไว้ โดยมีข้อเสนอ ดังนี้

2.1) ควรมีการเพิ่มจานวนบุคลากรและบรรจุตาแหน่งข้าราชการ หรือพนักงานราชการ หรือ
ตาแหน่งท่ีมีความมั่นคงให้แก่บุคลากรประจาศูนย์ฯ เนื่องจาก มีเจ้าหน้าท่ีไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
จึงจาเป็นต้องขอความร่วมมือบุคลากรด้านอ่ืน ๆ เข้าร่วมปฏิบัติงาน ซ่ึงมีทักษะในการปฏิบัติงานปูองกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ไม่เพียงพอ เช่น ด้านภาษา ด้านการสังเกตพฤติกรรม ด้านการสืบค้นหรือการซักถาม
และบุคลากรท่ีประจาศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เป็นอัตราจ้างเหมาซ่ึงไม่มีความมั่นคง
โดยมีนักสังคมสงเคราะห์ หรือนักพัฒนาสังคม เป็นผู้กากับดูแล ทาให้ตาแหน่งบุคลากรประจาศูนย์ฯมีการ
เปลี่ยนแปลงบ่อย เกิดปัญหาการจัดเก็บข้อมูลที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์การค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ี และผลการ
ดาเนินงานของศูนย์ฯ ในช่วงท่ีผา่ นมาไมม่ ีความต่อเน่ือง

2.2) ควรมีการพัฒนาทกั ษะ ความรคู้ วามสามารถในการส่ือสารด้านภาษา เช่น ภาษาเมียนมา
กัมพูชา เป็นต้น และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานให้แก่บุลากรของศูนย์ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้อง
เป็นประจาทุกปีอย่างต่อเน่ือง รวมถึงการพัฒนารูปแบบการเชื่อมข้อมูลหรือการส่งต่อข้อมูลที่ทันต่อสถานการณ์
ปัจจุบัน โดยเฉพาะประเด็นการบังคับใช้แรงงาน ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษกว่ารูปแบบการค้ามนุษย์แบบอื่น ควรมีการ
สร้างความเข้าใจเก่ยี วกับองคค์ วามรู้และองค์ประกอบของการค้ามนุษย์ที่ชัดเจนตรงกันในทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
โดยเฉพาะการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน หรือการฝึกปฏิบัติจาลองเหตุการณ์ เพื่อเพิ่มทักษะการคัดแยกผู้เสียหายจาก
การค้ามนุษย์และวางระบบการจัดการกระบวนการคัดแยกผู้เสียหาย รวมถึงการเพ่ิมช่องทางติดต่อการขอ
คาแนะนาปรึกษาข้อกฎหมายกรณีเร่งด่วน เนื่องจากรูปแบบการค้ามนุษย์ที่เปล่ียนไปตามยุคสมัย มีการใช้
เทคโนโลยีและการคมนาคมที่รวดเร็ว ทาให้การค้ามนุษย์มีรูปแบบการแสวงหาประโยชน์ที่หลากหลายและมี
ช่องทางมากขนึ้

3) การปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการบางจังหวัดยังคงแยกกันปฏิบัติงานตามแผนงาน
การบูรณาการมบี างกจิ กรรมเทา่ นั้น เช่น การออกตรวจสถานประกอบการ เป็นต้น

4) การพัฒนาองค์ความรแู้ ละสร้างความเข้าใจในกระบวนการคัดแยกและช่วยเหลือผู้เสียหาย
จากการค้ามนุษย์ให้แก่เครือข่ายที่ปฏิบัติงานด้านการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ี เช่น
ผนู้ าท้องท่ที ้องถนิ่ อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ เปน็ ตน้

2.2 ข้อเสนอแนะเชิงงบประมาณ

การจดั สรรงบประมาณ แตล่ ะจังหวัดไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์และบริบทพ้ืนที่ ในบางพ้ืนท่ี
สุ่มเสี่ยงต่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี การจัดสรรงบประมาณควรคานึงถึงข้อมูลท้ัง
จาก สว่ นกลางและข้อมลู ระดับพื้นท่ี ทั้งน้คี วรปรบั เปล่ียนเง่ือนไขการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ ให้ทันสมัยครอบคลุม
กับการปฏิบัติงานในสถานการณ์ปัจจุบัน ควรสนับสนุนงบประมาณในการดูแลผู้เสียหายฯ เช่น
คา่ รกั ษาพยาบาล (ในกรณที ่ีไม่สามารถใช้สิทธใ์ิ ดในการรักษาพยาบาลได)้ หรือค่าเครอื่ งอุปโภคบริโภค เปน็ ตน้

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอุตรดติ ถ์)

66

2.3 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย

แผนปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด จัดทาข้ึนตามข้อมูลภารกิจของแต่
ละหน่วยงาน ตามกรอบแผนงานนโยบาย ยุทธศาสตร์และมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 – 2564 ซึ่งเกิดจากการนาแผนงานเรียงต่อกัน บางโครงการหรือกิจกรรมจะคล้ายกัน และ
แบ่งแยกการปฏิบัติงาน การนาแผนทุกหน่วยงานมาบูรณาการแบบองค์รวมจะส่งผลให้ลดการทางานท่ีซ้าซ้อน
และสามารถนางบประมาณแต่ละหนว่ ยงานจัดสรรได้ครอบคลุมพ้ืนที่มากข้ึนหรือมีความถ่ีของการปฏิบัติที่มากขน้ึ

3. สถานการณ์การคา้ มนษุ ย์และแนวโน้มในอนาคตในพนื้ ท่ภี าคเหนอื ตอนล่าง 1

สถานการณก์ ารค้ามนุษย์

จากสถิติต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 พบว่า จากข้อมูล ศป.คม.จังหวัดในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ
ตอนล่าง 1 ในปี พ.ศ. 2560 - 2562 มีการจับกุมและดาเนินคดี จานวน 29 คดี อันดับ 1 คือ คดีการแสวงหา
ประโยชน์ทางเพศ ซ่งึ กลุ่มผู้เสียหายเปน็ เพศหญิงและมีอายตุ ่ากว่า 18 ปี รองลงมาคือ คดีการผลิตหรือเผยแพร่
วัตถุหรือสื่อลามก คดีการแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอ่ืน คดีการบังคับใช้แรงงาน และคดีคดีการ
บังคับให้ขอทาน ตามลาดับ มีการคัดแยกผู้เสียหายเบ้ืองต้นจากการค้ามนุษย์ จานวน 51 ครั้ง ส่วนใหญ่เป็น
กลุม่ แรงงานตา่ งด้าว สัญชาติเมียนมา

ท้ังน้ี การดาเนินการด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของจังหวัดได้ให้ความสาคัญในการ
จดั ทาแผนปฏิบัติการและการบูรณากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์และ
มาตรการในการปอู งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 - 2564 ดงั นี้

1. การใช้กลไกคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด โดยมี
ผ้วู า่ ราชการจังหวัด เป็นประธานในการขับเคลื่อนนโยบายการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ การกากับ ติดตามผล
การดาเนินงานของหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง และมีการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารของทกุ ปี

2. การตรวจตราพื้นที่เส่ียงของจังหวัด ในสถานที่ที่อาจมีการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ การบังคับใช้
แรงงาน และการบังคบั ให้ขอทาน โดยดาเนนิ การตามบทบาทภารกิจของแต่ละหน่วยงานท่ี รับผิดชอบในจงั หวัด

3. การสร้างเครือข่ายในการทางานเพื่อการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ มีการเสริมสร้าง
เครอื ขา่ ยในระดับพ้ืนที่เพ่ือเฝูาระวังปัญหา สาหรับจังหวัดที่มีชายแดนติดกับประเทศเพ่ือนบ้านได้พัฒนาความ
ร่วมมือระหว่างประเทศ ในระดับทวิภาคี โดยร่วมมือกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เพ่ือการปูองกัน
การค้ามนุษย์ และการปกปูองคุ้มครองเด็กตามแนวชายแดนไทย – เมียนมา รวมถึงมีการทางานกับภาคี
เครือข่ายทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น จังหวัดตาก มีการทางานร่วมกับองค์กรเครือข่าย ในระดับพ้ืนที่
"เครือข่ายการต่อต้านการค้ามนุษย์แม่สอด" เป็นความร่วมมือระหว่าง ตม. พมจ. และ NGOs ในพ้ืนท่ี ได้แก่
IOM. ROY. CPPCR. FED. BLC. AWO. MDC. NCCM. ANLU. YCOWA เปน็ ตน้

4. การสร้างความตระหนักแก่ประชาชนและกลุ่มเปูาหมายเร่ืองปัญหาการค้ามนุษย์ในพ้ืนท่ี
จังหวัด จัดให้มีการอบรมให้ความรู้กลุ่มเปูาหมายทุกระดับ ดาเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
การสง่ เสริมให้สภาเด็กและเยาวชนทกุ จงั หวดั มีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหาการค้ามนษุ ย์

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดิตถ)์

67

แนวโนม้ ปัญหาการค้ามนษุ ย์

จังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีการขับเคลื่อนงานปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อย่าง
ตอ่ เน่ือง เนือ่ งจากเปน็ นโยบายทส่ี าคญั ของรฐั บาล ดาเนนิ การโดยใช้กลไกระดบั ระหว่างประเทศ ระดับประเทศ
และระดับจังหวัดในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ การปรับปรุงกฎหมายของรัฐบาล ได้รองรับการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าท่ีและกระบวนการให้การคุ้มครองช่วยเหลือตามหลักสากล ซ่ึงจากสถานการณ์การค้ามนุษย์ใน
พื้นท่ีภาคเหนือตอนล่าง 1 พบว่า จานวนคดีมีแนวโน้มท่ีลดลง คดีท่ีพบมากที่สุดคือ คดีการแสวงหาประโยชน์
ทางเพศ ซึ่งกลุ่มผู้เสียหายเป็นเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี คดีค้ามนุษย์ในพื้นท่ีภาคเหนือตอนล่าง 1 ที่เกิดมากท่ีสุด
คือ จังหวัดพิษณุโลก อาจเนื่องจากจังหวัดพิษณุโลกเป็นเมืองศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง
และการศึกษา ซ่ึงทาให้มีคนไทยและคนต่างประเทศจานวนมาก เดินทางมาท่องเที่ยวหรือทาธุรกิจต่างๆ
ท้งั และมีแหล่งสถานบนั เทงิ สถานบรกิ ารจานวนมาก ทาให้มีรูปแบบการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศมากกว่า
การแสวงหาผลประโยชน์รูปแบบอ่ืน แม้ว่ามีการบูรณาการของหน่วยงานต่างๆในการตรวจสอบเป็นประจา
แต่การใช้เทคโนโลยีของผู้กระทาผิดในปัจจุบันทาให้ยากต่อการตรวจสอบจับกุมเพื่อดาเนินคดีค้ามนุษย์ เม่ือ
พิจารณาจานวนผู้เสียหาย จากฐานข้อมูลกองต่อต้านการค้ามนุษย์ พบว่า ปี 2561 มีจานวน 23 คน ปี 2562
จานวน 48 คน ซ่ึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ท้ังน้ี ในกระบวนการคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ปี 2560 - 2562
ในพื้นที่ 5 จังหวัด พบว่า ทีมสหวชิ าชพี ในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ได้ดาเนินการคัดแยก พบว่า ผู้เสียหาย
จากรูปแบบการบังคับใช้แรงงาน ซึ่งเป็นกลุ่มแรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมาเป็นส่วนใหญ่ อาจเน่ืองมาจาก
สภาพบรบิ ทพื้นทจ่ี ังหวดั ตากมีพ้นื ที่ ติดกบั สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมา มจี ุดผา่ นแดนและชอ่ งทางธรรมชาติ
ทาให้ภาคเหนือตอนล่าง 1 มีสถานะเป็นทางผ่านของขบวนการค้ามนุษย์ ซึ่งนาผู้เสียหายเดินทางเข้ามาใน
ประเทศไทย

ในปี 2562 ทีผ่ า่ นมา ในพน้ื ทภ่ี าคเหนือตอนลา่ ง 1 ยังคงเส่ยี งถูกใช้จังหวัดต้นทาง จังหวัดทางผ่านและ
จังหวัดปลายทาง สืบเน่ืองจากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 กาหนดยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์กลางด้าน
เศรษฐกิจและการคมนาคมขนส่งของภูมิภาค ทาให้มีการเติบโตทางเศรษฐกิจ การเกษตร และการท่องเที่ยว
มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน ท้ังไทยและต่างประเทศเข้ามาทางานและท่องเที่ยว โดยเฉพาะแรงงานเพ่ือนบ้านท่ี
เข้ามาโดยช่องทางธรรมชาติ ทั้งน้ี ด้านแรงงานเป็นการชักชวนจากญาติพี่น้องในประเทศสาธารณรัฐแห่ง
สหภาพเมียนมาและประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ไปทางานจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย
มักจะพบแรงงานลักลอบเข้าเมืองแบบไม่ได้รับอนุญาตทางาน หรือใช้วีซ่าท่องเที่ยวเข้ามาทางานในพื้นที่
ซ่ึงเป็นกลุ่มเส่ียงที่อาจตกเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ทาให้สถานการณ์การค้ามนุษย์ในกลุ่มจังหวัด
ภาคเหนอื ตอนล่าง 1 มีแนวโนม้ ในรูปแบบการแสวงหาประโยชน์ที่หลากหลายขึ้น โดยยังมีรูปแบบการแสวงหา
ประโยชน์ทางเพศมากท่ีสุด และมีกลุ่มเส่ียงอาจตกเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ เป็นกลุ่มเด็ก เยาวชน และ
วยั ทางาน ท่มี โี อกาสจะเกดิ เพมิ่ ขึ้น

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์

68

บรรณานุกรม

กรมจดั หางาน สานกั บริหารแรงงานต่างด้าว 2562 (https://www.doe.go.th/alien)
กล่มุ วิจัยและวเิ คราะห์สถติ ิการประมง กองนโยบายและยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการประมง กรมประมง
2562 (https://www.fisheries.go.th/strategy-stat/)
กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน/ สานักงานสถติ ิแหง่ ชาตขิ ้อมลู สถิติแรงงาน ปี 2560 - 2562
(http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/02.aspx)
ระบบฐานข้อมลู ของประเทศไทยด้านการดาเนินคดีและการช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนษุ ย์
(E-AHT) กองต่อตา้ นการคา้ มนษุ ยก์ ระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (http://olap-
eaht.com)
ผลิตภัณฑ์ภาคและจงั หวัด แบบปรมิ าณลูกโซ่ ฉบบั พ.ศ. 2560 สานักงานคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (https://www.nesdc.go.th/)
ระบบสารสนเทศ กองสถานประกอบการเพือ่ สุขภาพ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ รายงานจานวน
สถานประกอบการในพื้นที่ (http://spa.hss.moph.go.th/report_spa/report_shop.php)
ระบบสถิติทางทะเบียน ข้อมูลทางการปกครอง กรมการปกครอง, กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน ณ ธันวาคม 2562 (http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php)
ศูนย์ขอ้ มูลธรุ กจิ อุตสาหกรรม ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร กรมโรงงานอุตสาหกรรม ปี
2561 (https://www.diw.go.th/hawk/content.php?mode=spss62)
สานกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ 5 จงั หวัดตะวันออก ไดแ้ ก่ ตาก พิษณโุ ลก
เพชรบรู ณ์ สุโขทยั อุตรดติ ถ์ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 18 มีนาคม 2563
สานกั งานพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด : www.pad.moi.go.th ข้อมลู ณ ธันวาคม 2562
สานกั งานวัฒนธรรม 5 จงั หวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ได้แก่ ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์
ข้อมลู ณ วันท่ี 18 มีนาคม 2563
สามะโนอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2560 (ข้อมลู พนื้ ฐาน) สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ กระทรวงดจิ ทิ ัลเพือ่
เศรษฐกจิ และสังคม (http://www.nso.go.th/)
พระราชบัญญตั ิปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ. 2551
Trafficking in Person Report June 2019, Department of State, U.S.

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอุตรดิตถ)์

ภาคผนวก ก

1. โครงการจัดทารายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมภิ าค และการจดั ระดับสถานการณ์
การค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

1.1 หลักการและเหตผุ ล
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้อนุมัติให้กองต่อต้านการค้ามนุษย์ ดาเนินการ

โครงการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์
ของจังหวัด (Grouping) โดยมอบหมายสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11 ดาเนินการขับเคล่ือน
งานด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ใน 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1. การจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์
ในรายจงั หวัดและภูมภิ าค และ 2. การจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนุษยจ์ งั หวัด (Grouping)

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 เป็นหน่วยงานส่วนกลางท่ีตั้งอยู่ในภูมิภาค มีพื้นที่
รับผิดชอบ 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์ มีบทบาทภารกิจในการส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ ให้กับหน่วยงาน พม. และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง นิเทศติดตามงานในพ้ืนที่ และ
วิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคม เพ่ือจัดทายุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาค จึงได้มีการจัดทา
รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค และการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ระดับจังหวัด
ในเขตพื้นท่ีเขตตรวจราชการที่ 17 (กลุ่มภาคเหนือตอนล่าง 1) เพื่อให้การจัดทารายงานและการจัดระดับ
สถานการณ์การค้ามนุษย์ดังกล่าว สาเร็จเป็นรูปธรรม และสามารถนาไปประกอบการจัดทานโยบาย
ยทุ ธศาสตร์ และแผนปฏบิ ัติการระดบั ชาติ รวมถึงการจัดสรรงบประมาณประจาปีให้แก่สานักงาน พมจ.เป็นไป
อย่างเหมาะสมกบั สถานการณใ์ นแต่ละพ้นื ทต่ี ่อไป

1.2.วัตถุประสงค์
1) เพ่ือศึกษา และวิเคราะห์สถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค ตามเขตพื้นท่ีความรับผิดชอบของ

สานกั งานงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดสุโขทัย
จงั หวดั อตุ รดิตถ)์ รวมถงึ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์จังหวัดให้มีความสมบูรณ์
ครบถว้ นมากข้ึน

2) เพ่ือศึกษาเกณฑ์การจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) และดาเนินการจัด
ระดับสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยใ์ นเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบ

1.3 วิธกี ารดาเนินงาน
1) วางแผนการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค เขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงาน

ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 และวางแผนในการดาเนินการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด
(Grouping)

2) ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์ ย้อนหลงั 3 ปี ในพื้นที่จังหวัดตาก จังหวัด
พิษณโุ ลก จังหวดั เพชรบรู ณ์ จังหวดั สุโขทัย และจงั หวดั อุตรดติ ถ์

3) ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค ในพื้นที่จังหวัดตาก
จังหวัดพิษณุโลก จงั หวดั เพชรบูรณ์ จงั หวดั สโุ ขทัย และจงั หวดั อตุ รดติ ถ์

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดิตถ)์

4) จัดทารูปเล่มรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค เขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 และวางแผนในการดาเนินการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด
(Grouping)

5) ส่งรายงานรูปเล่มรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคฯ ให้แก่ หน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคีเครือข่าย และกลุ่มองค์กรที่ดาเนินงานด้านการปูองกันและแก้ปัญหาการค้ามนุษย์
เพ่ือนาไปใช้ประโยชนใ์ นการแก้ไขปญั หาการค้ามนุษย์ในพืน้ ทต่ี อ่ ไป

1.4. กลุม่ เป้าหมาย
1) คณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบตั กิ ารปอู งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวดั ตาก จังหวดั พษิ ณโุ ลก

จงั หวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสโุ ขทัย และจังหวดั อุตรดติ ถ์
2) เจ้าหน้าที่ของสานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จงั หวดั ตาก จังหวดั พิษณโุ ลก

จงั หวัดเพชรบรู ณ์ จงั หวัดสุโขทัย และจังหวดั อุตรดิตถ์ท่ปี ฏิบตั ิงานด้านการปูองกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์
3) บุคลากรท่ีเก่ียวข้องของสานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 8
4) หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ท่ีดาเนนิ งานด้านการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

1.5 พ้นื ท่ดี าเนนิ การ
กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนล่าง 1 เขตตรวจราชการที่ 17 จังหวัดตาก จังหวดั พิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์

จังหวัดสุโขทยั และจงั หวดั อตุ รดิตถ์

1.6. ระยะเวลาดาเนินการ
ดาเนนิ การในไตรมาส 2 – ไตรมาส 4 (ระหวา่ งเดือนมกราคม – กันยายน 2563)

1.7 ผลที่คาดวา่ จะได้รับ
1) รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค ตามเขตพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม

และสนบั สนุนวชิ าการ 8
2) เกณฑ์การจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) เขตพื้นที่รับผิดชอบของ

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 เพ่ือเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณในการดาเนินงานการปูองกัน
และปราบปรามการคา้ มนษุ ยป์ ระจาปี ใหแ้ ก่สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ให้เป็นไป
อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ในแต่ละพื้นท่ี

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์)

2. กรอบแนวคดิ การจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ยจ์ งั หวดั (Grouping)

2.1 กรอบแนวคดิ

จานวนแรงงานต่างด้าว คดีค้ามนุษย์ 30% ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์จังหวัด
จานวนโรงงาน ผู้ต้องหา
จานวนโรงแรม ผเู้ สยี หาย (Grouping)
จานวนสถานบรกิ าร 30% ระดบั ท่ี 1 ปกติ
รายได้เฉลี่ยต่อ
ครวั เรือน 40% ระดับท่ี 2 เลก็ นอ้ ย
จานวนเรอื ระดบั ที่ 3 เฝูาระวัง
คา่ ใชจ้ า่ ยครวั เรือน
หนี้สินต่อครวั เรอื น ระดบั ที่ 4 เฝูาระวงั เปน็ พเิ ศษ
GDP ต่อหัว
จานวนคนจน
จงั หวัดตน้ ทาง
จงั หวัดทางผา่ น
จังหวดั ปลายทาง

2.2 เกณฑ์การจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษย์จังหวัด (Grouping) โดยใชข้ ้อมูลสถติ ิปี พ.ศ. 2560-2562

สถติ ิพรรณนา จานวนคดี ตัวชี้วดั จานวนผเู้ สยี หาย
3.8743 จานวนผู้ต้องหา 18.7259
คา่ คะแนนเฉลีย่ 11.2389 28.8512
สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.3300 7.9740 2.3333
95.3300 21.8330 189.0000
ค่ามัธยฐาน 1.3300 2.6667 2.3330
ค่าพสิ ยั 3.1650 183.3300 11.8330
Percentiles 50 6.9070 2.6667 28.5830
Percentiles 75 >6.9070 7.0000 >28.5830
Extreme Value 16.0000
Outlier value >16.0000

กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดงั น้ี

P1 P50 P75 extreme outlier

คา่ คะแนน  

อตั ราสว่ นจานวนคดี 0 1.3300 3.1650 6.9070
อัตราส่วนจานวนผูต้ ้องหา 0 5.6925 12.6401 20.0725
อัตราสว่ นจานวนผูเ้ สยี หาย 0 6. 1400 15.4032 20.6688

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ์)

3. ผลการจดั ระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยจ์ ังหวดั (Grouping)

3.1 เกณฑก์ ารจัดระดบั สถานการณ์ค้ามนษุ ย์ มี 4 ระดบั ดังน้ี

ระดบั ท่ี 1 = 0.0000 – 1.0000 หมายถึง ปกติ
เลก็ น้อย
ระดับที่ 2 = 1.0001 – 2.0000 หมายถึง เฝูาระวงั
เฝูาระวงั เป็นพิเศษ
ระดบั ที่ 3 = 2.0001 – 3.0000 หมายถึง

ระดบั ท่ี 4 = 3.0001 – 4.0000 หมายถึง

3.2 ผลการจดั ระดับสถานการณค์ า้ มนษุ ย์ ปี พ.ศ. 2562

จงั หวัด คะแนนคดี คะแนนผูต้ ้องหา คะแนนผูเ้ สียหาย ผลรวมคะแนน ผลการจัดระดับ

กระบ่ี 0.6669 0.4615 0.4702 1.5986 เล็กนอ้ ย
กรงุ เทพมหานคร 1.2000 1.2000 1.6000 4.0000 เฝาู ระวงั เปน็ พเิ ศษ
0.4095 0.1125 0.5965 1.1185
กาญจนบรุ ี 0.4095 0.2250 0.3429 0.9774 เลก็ นอ้ ย
กาฬสินธ์ุ 0.2256 0.6632 0.3429 1.2316 ปกติ
กาแพงเพชร 1.2000 0.5308 0.5123 2.2431 เล็กน้อย
ขอนแกน่ 0.2256 0.5308 1.6000 2.3563 เฝูาระวัง
จนั ทรบุรี 0.2256 0.2250 0.1714 0.6220 เฝาู ระวงั
ฉะเชงิ เทรา 1.2000 1.2000 0.9234 3.3234 ปกติ
ชลบรุ ี 0.2256 0.1125 0.1714 0.5095 เฝูาระวงั
ชยั นาท 0.2256 0.1125 0.1714 0.5095 ปกติ
ชัยภูมิ 0.6669 1.2000 1.6000 3.4669 ปกติ
ชุมพร 1.2000 1.2000 1.6000 4.0000 เฝูาระวัง
เชยี งราย 1.2000 1.2000 1.6000 4.0000 เฝาู ระวงั เป็นพิเศษ
เชียงใหม่ 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 เฝาู ระวังเป็นพิเศษ
0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ตรงั 0.5730 0.6000 0.9711 2.1442 ปกติ
ตราด 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 เฝูาระวัง
ตาก 0.4095 1.2000 1.1622 2.7717 ปกติ
นครนายก 0.6669 0.5308 0.7228 1.9205 เฝาู ระวงั
นครปฐม 1.2000 0.7896 0.8279 2.8174 เลก็ นอ้ ย
นครพนม 0.4095 0.5308 0.8995 1.8398 เฝูาระวงั
นครราชสีมา 0.4095 0.7896 0.8756 2.0747 เล็กน้อย
นครศรีธรรมราช 0.2256 0.2250 0.3429 0.7934 เฝูาระวัง
นครสวรรค์ 0.7471 0.5308 1.6000 2.8779 ปกติ
นนทบรุ ี 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 เฝูาระวัง
นราธิวาส 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
นา่ น ปกติ
บงึ กาฬ

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอุตรดติ ถ)์

จงั หวัด คะแนนคดี คะแนนผู้ต้องหา คะแนนผู้เสยี หาย ผลรวมคะแนน ผลการจดั ระดับ

บุรีรมั ย์ 1.2000 0.6000 0.5965 2.3965 เฝูาระวัง
ปทุมธานี 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ประจวบครี ขี นั ธ์ 0.5730 1.2000 1.6000 3.3730 เฝาู ระวัง
ปราจนี บรุ ี 0.2256 0.2250 0.4281 0.8786 ปกติ
ปตั ตานี 0.6669 0.8528 1.1383 2.6580 เฝาู ระวัง
พระนครศรอี ยธุ ยา 0.4095 0.2250 0.1714 0.8060 ปกติ
พะเยา 0.2256 1.2000 0.9711 2.3967 เฝูาระวงั
พงั งา 0.5730 0.6316 0.5544 1.7590 เล็กน้อย
พัทลงุ 0.2256 0.1125 0.5544 0.8924 ปกติ
พิจิตร 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
พิษณโุ ลก 1.2000 0.8844 1.6000 3.6844 เฝาู ระวัง
เพชรบรุ ี 0.2256 0.6000 0.1714 0.9970 ปกติ
เพชรบรู ณ์ 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
1.2000 1.2000 1.6000 4.0000 เฝูาระวงั เป็นพิเศษ
แพร่ 0.2256 0.3923 0.4702 1.0880 เลก็ น้อย
ภเู กต็ 0.4095 0.2250 0.4281 1.0626 เลก็ น้อย
มหาสารคราม 0.2256 0.1125 0.1714 0.5095 ปกติ
มุกดาหาร 0.5730 0.3231 0.4281 1.3242 เล็กนอ้ ย
แม่ฮ่องสอน 0.2256 0.2250 0.1714 0.6220 ปกติ
ยโสธร 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ยะลา 0.5730 0.3231 0.4281 1.3242 เลก็ นอ้ ย
ร้อยเอ็ด 1.2000 1.2000 1.6000 4.0000 เฝาู ระวังเปน็ พเิ ศษ
ระนอง 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ระยอง 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ราชบรุ ี 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ลพบรุ ี 0.2256 0.2250 0.8517 1.3023 เลก็ น้อย
ลาปาง 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
ลาพูน 0.2256 0.2250 0.1714 0.6220 ปกติ
เลย 0.2256 0.1125 0.1714 0.5095 ปกติ
ศรสี ะเกษ 0.4095 0.3231 0.3429 1.0755 เล็กนอ้ ย
สกลนคร 1.2000 1.2000 1.6000 4.0000 เฝาู ระวงั เปน็ พิเศษ
สงขลา 0.2256 0.6316 1.6000 2.4572 เฝูาระวงั
สตลู 0.5730 0.4615 0.4281 1.4626 เลก็ น้อย
สมทุ รปราการ 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
สมุทรสงคราม 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
สมทุ รสาคร 0.2256 0.2250 0.3429 0.7934 ปกติ
สระแกว้

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณก์ ารค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดิตถ์)

จงั หวัด คะแนนคดี คะแนนผตู้ ้องหา คะแนนผู้เสยี หาย ผลรวมคะแนน ผลการจดั ระดบั
สระบรุ ี ปกติ
สิงห์บุรี 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 ปกติ
สโุ ขทัย ปกติ
สพุ รรณบรุ ี 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000
สุราษฎร์ธานี เฝาู ระวัง
สรุ นิ ทร์ 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 เฝาู ระวัง
หนองคาย เลก็ น้อย
หนองบัวลาภู 0.8273 0.6948 0.5965 2.1185 ปกติ
อ่างทอง ปกติ
อานาจเจริญ 0.5730 1.2000 1.6000 3.3730 ปกติ
อุดรดติ ถ์ ปกติ
อดุ รธานี 0.5730 0.3231 0.4281 1.3242 ปกติ
อทุ ัยธานี ปกติ
อุบลราชธานี 0.2256 0.1125 0.1714 0.5095 ปกติ
ปกติ
0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

0.4095 0.0000 0.0000 0.4095

0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ย์รายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ์)

ภาคผนวก ข

1. สถิตทิ สี่ าคัญดา้ นการค้ามนษุ ย์ ปี พ.ศ. 2560-2562

จงั หวดั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

กระบ่ี คดี ผูต้ ้องหา ผเู้ สียหาย คดี ผู้ต้องหา ผูเ้ สียหาย คดี ผตู้ ้องหา ผูเ้ สียหาย
กรงุ เทพมหานคร
00 0 00 0 45 4
กาญจนบุรี
กาฬสนิ ธุ์ 98 187 162 113 249 166 75 114 134
กาแพงเพชร
ขอนแกน่ 00 0 00 0 21 7
จนั ทบรุ ี
ฉะเชิงเทรา 00 0 11 1 22 2
ชลบรุ ี
ชยั นาท 00 0 00 0 1 9 2
ชยั ภมู ิ
ชุมพร 23 4 69 6 8 6 5
เชียงราย
เชยี งใหม่ 12 1 00 0 1 6 44

ตรัง 00 0 13 1 1 2 1
ตราด
ตาก 22 31 26 14 34 23 12 25 17
นครนายก
นครปฐม 00 0 11 2 11 1
นครพนม
นครราชสีมา 00 0 23 3 1 1 1
นครศรีธรรมราช
นครสวรรค์ 11 1 00 0 4 67 86
นนทบุรี
นราธิวาส 10 10 18 8 13 19 7 25 90
นา่ น
บึงกาฬ 27 35 27 20 32 38 20 52 104
บรุ รี ัมย์
ปทมุ ธานี 00 0 34 3 00 0
ประจวบครี ขี ันธ์
ปราจนี บุรี 00 0 00 0 0 0 0
ปัตตานี
พระนครศรีอยุธยา 11 2 6 10 7 3 7 19
พะเยา
พงั งา 00 0 00 0 0 0 0
พทั ลงุ
พจิ ติ ร 44 5 3 5 14 2 17 27

12 2 00 0 4 6 10

16 17 26 13 13 18 11 13 13

00 0 5 20 24 2 6 16

5 13 7 18 21 56 2 13 15

11 1 3 10 10 12 2

1 1 16 11 2 5 6 93

00 0 00 0 0 0 0

00 0 00 0 0 0 0

4 5 10 33 3 77 7

22 3 11 1 0 0 0

12 2 00 0 3 27 72

23 5 11 2 1 2 3

4 15 9 2 7 30 4 15 26

23 2 44 4 22 1

00 0 11 1 1 22 19

00 0 00 0 3 8 6

00 0 2 14 22 11 6

23 2 00 0 00 0

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภมู ภิ าคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์)

จังหวัด ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

พิษณุโลก คดี ผู้ต้องหา ผูเ้ สยี หาย คดี ผูต้ อ้ งหา ผเู้ สียหาย คดี ผตู้ ้องหา ผู้เสียหาย
เพชรบรุ ี
เพชรบรู ณ์ 48 412 3 10 16 29
แพร่
ภูเก็ต 00 000 0 1 7 1
มหาสารคราม
มุกดาหาร 27 5 5 10 9 00 0
แมฮ่ อ่ งสอน
ยโสธร 13 200 0 12 23 38
ยะลา
ร้อยเอ็ด 2 3 10 2 7 8 1 4 4
ระนอง
ระยอง 11 333 3 22 3
ราชบุรี
ลพบุรี 00 000 0 1 1 1
ลาปาง
ลาพนู 31 37 32 0 0 0 3 3 3

เลย 00 011 1 12 1
ศรสี ะเกษ
สกลนคร 11 100 0 0 0 0
สงขลา
11 133 3 33 3
สตูล
สมุทรปราการ 00 011 2 7 51 142
สมุทรสงคราม
สมทุ รสาคร 22 200 0 0 0 0

สระแกว้ 13 111 1 0 0 0
สระบรุ ี
สิงห์บุรี 13 246 5 0 0 0
สุโขทยั
สพุ รรณบรุ ี 12 15 13 1 1 1 1 2 14
สรุ าษฎรธ์ านี
สุรนิ ทร์ 00 000 0 00 0
หนองคาย
หนองบัวลาภู 25 500 0 1 2 1
อา่ งทอง
อานาจเจรญิ 22 223 2 1 1 1
อดุ รธานี
อุดรดิตถ์ 24 459 6 2 3 2
อทุ ยั ธานี
อุบลราชธานี 2 5 26 4 18 62 31 108 479

00 011 1 1 8 65

45 6 7 9 12 3 5 3

11 135 3 0 0 0

46 400 0 0 0 0

00 000 0 1 2 2

14 1 11 24 15 0 0 0

00 000 0 00 0

00 000 0 0 0 0

11 112 1 6 10 7

00 0 9 25 32 3 22 57

33 5 5 5 10 3 3 3

00 000 0 1 1 1

00 011 1 0 0 0

00 000 0 20 0

12 224 3 0 0 0

11 223 2 00 0

11 136 4 0 0 0

00 000 0 00 0

5 15 513 2 0 0 0

ที่มา :ระบบฐานข้อมลู ของประเทศไทยด้านการดาเนนิ คดีและการชว่ ยเหลือผเู้ สยี หายจากการคา้ มนุษย์ ณ 19 กุมภาพนั ธ์ 2563

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ์)

2. ข้อมูลสถานการณ์คา้ มนุษย์

จงั หวดั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
ทางผา่ น ปลายทาง
ต้นทาง ทางผา่ น ปลายทาง ตน้ ทาง ตน้ ทาง ทางผ่าน ปลายทาง
-
กระบี่ -  - - -- 

กรงุ เทพมหานคร     -   
-- -
กาญจนบรุ ี -  - - -
 - 
กาฬสินธุ์ - - - - -

กาแพงเพชร        

ขอนแก่น  -      
- -  -
จนั ทบรุ ี     --

ฉะเชิงเทรา      -  

ชลบุรี -  - -  - 
- - -
ชยั นาท - - - -

ชัยภมู ิ -   - -- -  
-  -
ชมุ พร       -
-- 
เชยี งราย  -   -

เชยี งใหม่        

ตรัง - - - -  -- -
-  - -
ตราด     -

ตาก - - - -  -- -
-
นครนายก - -  - -  -

นครปฐม       

นครพนม     -   
- -
นครราชสมี า -  - - -
  -
นครศรีธรรมราช -  - - -
-
นครสวรรค์       

นนทบรุ ี -  - - --  
-  
นราธวิ าส     

นา่ น        
--
บงึ กาฬ  -   --   
- -
บุรรี ัมย์ -  - - 

ปทมุ ธานี -   -    
-  -
ประจวบครี ีขนั ธ์  -   -  
- 
ปราจีนบรุ ี - -  - 
-
ปัตตานี  - - 

พระนครศรอี ยธุ ยา - - - -  

พะเยา -   - -  
 - 
พงั งา -   -
- -
พัทลุง  - -  - -

พจิ ติ ร  - - 

พษิ ณุโลก       

เพชรบรุ ี       
- -
เพชรบูรณ์ -  - -

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ)์

จังหวัด ต้นทาง ปี 2560 ต้นทาง ต้นทาง ปี 2561 ปี 2562
ทางผ่าน ทางผ่าน ปลายทาง ต้นทาง ทางผ่าน ปลายทาง
แพร่   
ภเู กต็ -   -    
มหาสารคราม  -  - - 
มุกดาหาร     
แมฮ่ อ่ งสอน  -   --  
ยโสธร - - -
ยะลา        
รอ้ ยเอด็  - 
ระนอง -  - -    
ระยอง -  - - - -
ราชบรุ ี     - - - -
ลพบุรี  -   --
ลาปาง  -   --  
ลาพนู - - - - - - -
เลย  -  
ศรสี ะเกษ     -  
สกลนคร    
สงขลา       
สตลู    
สมุทรปราการ -  -    
สมุทรสงคราม     --
สมุทรสาคร - -  - -   
สระแกว้  -   -- -
สระบรุ ี    
สงิ หบ์ รุ ี -  - -   
สุโขทยั    
สุพรรณบุรี       
สุราษฎรธ์ านี - - - 
สรุ นิ ทร์       
หนองคาย    
หนองบัวลาภู       
อ่างทอง - - - 
อานาจเจรญิ     -   
อดุ รธานี  - - 
อดุ รดติ ถ์       
อุทัยธานี -  - -  -
อบุ ลราชธานี     -  
 - - 
- -- 
- -

   
 - -
 --
-   

   
 - -

   
 --
-   
 -  -
 -- - -
-
   
 --
- -  
- - - -
- -
 -


ท่มี า : สานกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัด

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภูมภิ าคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ)์

3. จานวนสถานทีเ่ สย่ี ง

จังหวัด แรงงานต่างดา้ ว โรงงาน โรงแรม สถานบรกิ าร จานวน
(คน) (แห่ง) (แห่ง) (แหง่ ) เรอื ประมง
9
กระบี่ 14,090 532 890 364 116
16283 1,226 17 1
กรุงเทพมหานคร 682,458 1704 15 0
2207 519 6 0
กาญจนบรุ ี 29,329 199 30 0
726 149 22 0
กาฬสนิ ธุ์ 1,042 4500 343 6
545 343 943 129
กาแพงเพชร 7,571 2270 85 3 43
5418 1,063 8 499
ขอนแก่น 8,439 470 76 29 0
1279 215 26 0
จันทรบรุ ี 48,898 906 341 45 877
2079 637 10 0
ฉะเชงิ เทรา 49,950 2572 1,480 11 0
756 241 11 220
ชลบุรี 164,542 480 442 19 773
741 169 18 0
ชัยนาท 1,805 283 224 8 0
3650 66 45 0
ชยั ภมู ิ 1,858 465 198 45 0
7533 795 7 0
ชมุ พร 36,553 1682 462 30 855
1610 200 17 0
เชยี งราย 20,095 1995 82 1 0
427 79 0 43
เชียงใหม่ 120,588 435 234 11 0
236 135 23 0
ตรัง 14,744 1692 230 8 0
3843 90 8 0
ตราด 22,106 745 949 5 611
987 155 16 0
ตาก 56,856 917 41 2 1001
2617 128 7 0
นครนายก 12,747 479 129 6 0
419 308 15 470
นครปฐม 209,264 770 158 16 0
700 102 16 0
นครพนม 2,501 1242 260 12 0
795 428 587
นครราชสมี า 32,361 1201 539 0

นครศรีธรรมราช 21,834

นครสวรรค์ 8,039

นนทบุรี 158,240

นราธิวาส 2,400

นา่ น 922

บงึ กาฬ 1,360

บุรรี มั ย์ 2,585

ปทุมธานี 159,071

ประจวบครี ขี นั ธ์ 30,481

ปราจีนบุรี 25,477

ปัตตานี 10,750

พระนครศรีอยุธยา 31,811

พะเยา 1,451

พังงา 23,329

พทั ลงุ 1,137

พจิ ติ ร 1,805

พษิ ณโุ ลก 6,120

เพชรบรุ ี 19,283

เพชรบูรณ์ 9,830

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์)

จงั หวดั แรงงานต่างด้าว โรงงาน โรงแรม สถานบรกิ าร จานวน
(คน) (แห่ง) (แหง่ ) (แห่ง) เรอื ประมง
แพร่ 1,501 6
ภูเกต็ 80,364 1902 104 100 0
มหาสารคราม 817 467 1,486 8 354
มุกดาหาร 1,358 2539 17
แมฮ่ อ่ งสอน 4,683 424 199 8 0
ยโสธร 436 129 147 13 0
ยะลา 2,257 855 344 22 0
รอ้ ยเอด็ 787 328 92 12 0
ระนอง 26,269 3553 59 13 0
ระยอง 91,152 321 174 17 0
ราชบรุ ี 50,489 3057 226 9 381
ลพบุรี 12,698 1933 435 9 848
ลาปาง 5,641 903 285 8 0
ลาพูน 14,417 1618 122 1 0
เลย 5,131 952 135 9 0
ศรสี ะเกษ 1,297 1060 60 7 0
สกลนคร 2,009 2088 470 26 0
สงขลา 54,985 2381 119 93 0
สตลู 3,113 2013 252 17 0
สมุทรปราการ 166,326 356 623 58 519
สมุทรสงคราม 12,103 7829 247 1 375
สมทุ รสาคร 247,915 332 65 8 408
สระแก้ว 17,463 6780 295 2 532
สระบรุ ี 27,429 774 45 10 469
สงิ ห์บรุ ี 1,871 1858 188 2 0
สโุ ขทยั 1,156 258 138 11 0
สุพรรณบรุ ี 17,432 581 52 25 0
สุราษฎร์ธานี 107,797 1002 200 42 0
สรุ ินทร์ 3,278 1216 143 17 0
หนองคาย 2,921 1179 1,628 25 419
หนองบวั ลาภู 834 857 189 1 0
อา่ งทอง 2,828 1245 200 2 0
อานาจเจรญิ 758 444 97 3 0
อดุ รดติ ถ์ 3,688 364 21 35 0
อุดรธานี 772 4178 94 10 0
อุทยั ธานี 1,319 440 402 11 0
อบุ ลราชธานี 3,685 300 117 14 0
4100 101 0
427 0

จานวนคนต่างดา้ วทไ่ี ด้รบั อนญุ าตทางานคงเหลอื ทว่ั ราชอาณาจกั ร : กรมการจดั หางาน พฤศจกิ ายน 2562
โรงแรม พ.ศ. 2561 : สานักงานสถติ ิแห่งชาติ
โรงงาน 2562 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม
สถิติเรือประมงไทย ปี 2562 : กรมประมง

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ)์

4. ดา้ นเศรษฐกจิ

จงั หวัด รายได้เฉล่ยี คา่ ใชจ้ า่ ย หน้ีสิน รายได้ตอ่ หัว จานวน อตั ราการ
(ครวั เรือน) (GDP) คนจน วา่ งงาน
(เดือน/ครวั เรอื น) (เดอื น/ครัวเรือน) 289,237.36 239,309 31900
202,699.85 573907 123600 3,649
กระบ่ี 34,052.87 24,326.12 157,164.45 121,570 121000 32,313
134,001.77 61,084 251500 1,885
กรุงเทพมหานคร 45,707.31 34,127.44 210,409.54 142,660 54100
117,560 106400 322
กาญจนบุรี 20,564.74 20,738.75 90,786.53 254582 29900 5,843
186,071.96 427409 23000 15,235
กาฬสินธ์ุ 14,263.81 11,857.86 80,062.22 581475 1,505
170,022.64 101282 5700 1,489
กาแพงเพชร 18,770.80 16,147.13 286,887.83 63,010 87400 3,337
194,195.09 161,626 81400 1,902
ขอนแก่น 19,848.04 17,589.11 157,728.32 91,308 26000 2,003
30,607.56 135,991 129500
จันทรบุรี 32,893.60 20,922.15 115,219.73 116,394 149900 766
177,206.64 171189 79400 2,714
ฉะเชิงเทรา 26,061.85 19,070.81 193,674.99 94,902 41200 6,274
127,988.45 96589 145000 2,323
ชลบรุ ี 27,665.39 25,322.87 112,919.58 308167 31900
75,904.34 76,000 24600 517
ชยั นาท 26,385.66 17,187.28 192,867.55 110,301 98400 1,662
223,238.94 99,899 375200
ชยั ภมู ิ 25,543.60 15,591.56 152,743.44 109,977 186000 161
211,665.90 204404 106900 4,320
ชมุ พร 28,758.67 20,692.85 288,940.49 61,765 11800 3,695
60,282.75 71,121 209000 26,165
เชยี งราย 11,808.93 11,213.48 201,991.50 78,022 76400 12,564
212,781.39 67,621 41400 5,755
เชียงใหม่ 18,970.11 15,468.58 131,638.13 254627 261100 7,715
294,901.20 198,434 23600 20,864
ตรงั 21,813.89 18,648.61 160,756.74 486601 34600
135,499.30 88,442 26600 824
ตราด 27,796.68 20,198.98 137,591.84 465972 248400 2,236
234,446.06 87,858 86200 4,026
ตาก 16,508.97 12,527.72 150,059.13 265,768 47200 15,238
131,646.20 71,298 16200
นครนายก 25,119.93 19,152.88 183,717.82 83,504 128500 658
176,992.30 104,175 18600 4,934
นครปฐม 32,760.69 24,962.41 273,212.39 143,460 78900 6,192
226,174.50 84,058 32800 10,212
นครพนม 15,834.42 14,416.97 161,800.29 73200
287
นครราชสมี า 24,428.92 18,195.67 2,295
2,508
นครศรธี รรมราช 26,239.27 21,135.24 2,028
12,379
นครสวรรค์ 21,002.53 14,794.13 2,168
5,755
นนทบุรี 40,860.88 33,808.98

นราธิวาส 17,179.61 15,630.54

น่าน 19,591.20 15,176.17

บงึ กาฬ 22,668.18 18,347.12

บุรรี มั ย์ 15,381.62 14,580.11

ปทมุ ธานี 41,483.71 43,300.51

ประจวบครี ขี ันธ์ 28,466.60 23,513.15

ปราจนี บรุ ี 22,952.89 20,782.66

ปตั ตานี 19,495.51 15,705.85

พระนครศรีอยธุ ยา 28,777.58 22,790.08

พะเยา 14,593.62 12,751.80

พงั งา 24,631.91 20,703.32

พัทลงุ 20,508.68 15,947.09

พจิ ติ ร 19,412.03 16,601.52

พษิ ณโุ ลก 20,348.05 18,048.53

เพชรบรุ ี 27,232.09 20,207.39

เพชรบูรณ์ 21,350.44 17,528.49

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ายภมู ิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์)

จังหวัด รายได้เฉลีย่ ค่าใชจ้ ่าย หนี้สนิ รายได้ต่อหวั จานวน อตั ราการ
(ครวั เรือน) (GDP) คนจน วา่ งงาน
แพร่ (เดอื น/ครัวเรือน) (เดือน/ครวั เรือน) 158,584.69 67,057 59200
ภูเกต็ 239,551.96 388,559 22900 3,160
มหาสารคราม 19,850.21 14,843.86 248,623.18 67,784 98400 4,519
มุกดาหาร 171,992.18 74,729 40500 1,871
แม่ฮอ่ งสอน 39,593.56 30,992.50 122,601.91 65,448 97000
ยโสธร 121,376.78 54,183 60800 474
ยะลา 20,137.94 17,286.87 96,867 104600 659
ร้อยเอด็ 28,437.84 68,751 81300
ระนอง 20,439.56 15,761.48 182,395.82 104,517 58500 0
ระยอง 156,195.34 1095667 39700 1,815
ราชบุรี 15,617.49 11,536.21 124,478.28 214,742 91500 3,063
ลพบุรี 255,929.54 144041 122500 1,373
ลาปาง 16,752.27 12,748.09 69,611.48 92,749 132700 4,048
ลาพนู 197,835.52 191,568 18900 6,985
เลย 18,018.21 13,301.01 228,038.63 97,903 6,073
ศรีสะเกษ 148,123.99 67,362 1500 3,496
สกลนคร 19,026.86 15,685.74 189,527.94 68,887 225500
สงขลา 197,077.86 156,245 107500 795
สตูล 23,832.60 17,130.73 174,405.21 129,565 128900 1,188
สมทุ รปราการ 166,360.94 343215 35600 2,605
สมุทรสงคราม 27,797.79 19,409.81 179,803.61 114,990
สมุทรสาคร 130,743.39 411326 7000 580
สระแกว้ 33,622.28 22,833.63 104,677.28 72555 13800 30,363
สระบรุ ี 169,875.58 330750 52000 1,758
สิงห์บรุ ี 19,795.67 17,016.83 286,459.92 129095 168800 13,941
สโุ ขทยั 187,918.48 73,251 50500
สุพรรณบรุ ี 21,034.46 16,645.81 230,997.89 100,595 38600 593
สรุ าษฎรธ์ านี 45,861.04 200,471 99000 2,961
สุรินทร์ 24,467.87 18,604.05 240,461.85 65,810 149500 5,456
หนองคาย 251,796.15 89,913 51000 5,107
หนองบวั ลาภู 21,076.99 21,055.18 98,462.62 53,416 193500 2,136
อ่างทอง 187,626.14 107129 18200 5,484
อานาจเจรญิ 17,484.66 13,798.05 117,941.63 63,860 88700
อุดรดิตถ์ 226,032.61 88,673 60800 759
อดุ รธานี 17,819.56 15,130.25 171,114.39 87,982 64800 4,007
อทุ ยั ธานี 156,686.24 97,948 130500 5,380
อุบลราชธานี 26,702.74 21,127.92 263,755.35 70,551 75300 1,472
195,122.11 27100 5,257
22,614.49 19,335.78 141400 1,943

28,711.77 23,231.71 259
945
30,182.85 18,755.08 1,328
227
25,446.01 20,573.08 2,675

22,115.02 17,543.55

35,378.49 27,581.38

26,865.56 19,773.04

21,227.47 14,548.42

20,440.57 14,244.50

38,025.69 25,212.15

18,188.90 18,208.86

21,175.28 18,129.21

22,647.58 17,295.58

26,484.17 17,294.67

18,230.69 14,612.97

20,718.24 18,696.16

20,857.49 14,666.28

21,165.96 15,746.55

24,380.10 14,769.70

รายได้เฉลย่ี ตอ่ เดอื นต่อครัวเรือน 2560 : สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ
ค่าใชจ้ ่ายโดยเฉลีย่ ตอ่ เดือนต่อครวั เรือน 2561 : สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ
หนสี้ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื น 2560 : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ
รายไดเ้ ฉล่ยี ตอ่ หัวของประชากร 2560 และจานวนคนจน 2561: สานักงานสถิติแหง่ ชาติ

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์)

คณะผ้จู ดั ทา
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 8 จังหวดั อตุ รดิตถ์

นายภาณพุ งศ์ พนมวนั ที่ปรึกษา

นกั วิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คณะผู้จัดทา

นางสาวบงกช สัจจานติ ย์ ผู้อานวยการสานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 8

นางสาวณฏั ฐธนนั นพฐติ ิกาญจน์ นักพฒั นาสงั คมชานาญการพเิ ศษ

นายนครินทร์ เข็มทอง นกั พฒั นาสังคมชานาญการพิเศษ

นางสาวรัชนี สงั ขพร นักพฒั นาสังคมชานาญการ

นายบรรจง อนั สนธิ์ นกั พัฒนาสังคมชานาญการ

นายมงคล ดาศรี นกั พฒั นาสังคมชานาญการ

นางสาวกุสุมา ธกิ าพันธว์ รรณา เจา้ พนักงานพฒั นาสังคมชานาญงาน

นายคณัสชนม์ บารุงกลุ นักพัฒนาสังคม

นางสาววาสนา วารีนลิ พนักงานบริการ

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)


Click to View FlipBook Version