The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nakarin Kemthong, 2020-12-02 02:35:13

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping)

เล่มรายงานฯค้ามนุษย์ สสว.8 ฉบับสมบูรณ์

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภมู ภิ าคและการจดั ระดับสถานการณ์การค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ)์



คานา

การค้ามนุษย์เป็นการทาลายซึ่งศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และละเมิดสิทธิมนุษยชน
อย่างร้ายแรง ประเทศไทยจึงได้ประกาศให้การปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เป็นวาระแห่งชาติ
และมอบหมายให้ทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมกันบูรณาการการทางานเพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อย่าง
จริงจัง ซ่ึงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นหน่วยงานหลักท่ีรับผิดชอบในการ
แก้ไขปัญหาน้ี โดยได้จัดทาแผนปฏิบัติการด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2561 – 2580
และจัดทาระบบฐานข้อมูลการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศไทย ซึ่งรายงานข้อมูล
ในรูปแบบต่าง ๆ โดยยังคงยึดหลักความปลอดภัยของข้อมูลผู้ต้องหา/จาเลย และผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
เป็นสาคญั

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11 (สสว.1 - 11) สานักงานปลัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้รับการสนับสนุนจากกองต่อต้านการค้ามนุษย์ ปลัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ดาเนินการโครงการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์
รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) โดยทาการรวบรวมข้อมูล
ศึกษา และวิเคราะห์สถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค นาข้อมูลไปใช้ในการจัดระดับสถานการณ์
การค้ามนุษย์ของจังหวัดและระดับประเทศ เพื่อศึกษาแนวโน้มของสถานการณ์การค้ามนุษย์และผลกระทบ
ที่จะเกิดข้ึน พร้อมท้ังเป็นข้อมูลบ่งชี้สถานการณ์ให้สามารถเตรียมรับมือและวางแผนดาเนินการปูองกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ในระดับพ้นื ท่ี

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ดาเนินการจัดทารายงาน
ดังกล่าว ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 5 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย
และอุตรดิตถ์ โดยมีภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนด้านข้อมูล
สถานการณ์ ข้อมูลเชิงสถิติ เช่น จานวนแรงงาน จานวนสถานประกอบการ จานวนช่องทางการค้ามนุษย์
จานวนคดี รูปแบบการค้ามนุษย์ และการดาเนินการของหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมท้ังข้อเสนอแนะและแนวทาง
ในการดาเนินงานด้านการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ทั้งน้ี คณะผู้จัดทาได้ร่วมแลกเปล่ียนข้อมูล
เกี่ยวกับการดาเนินการในพื้นท่ีกับอนุกรรมการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด เพื่อนาประเด็น
ปัญหาในระดับพ้ืนท่ีและข้อเสนอแนะต่าง ๆ รวบรวมเสนอผู้บริหารเพ่ือเป็นแนวทางในการกาหนดนโยบาย
ด้านการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ต่อไป อน่ึง คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานสถานการณ์
การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัดเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ
หน่วยงานและผู้สนใจทั่วไป สามารถนาข้อมูลไปประกอบการวิเคราะห์และเฝูาระวังปัญหาการค้ามนุษย์
เพื่อร่วมกันปูองกันและแก้ไขสถานการณ์การค้ามนุษย์ ทาให้ประเทศไทยเป็นสังคมปลอดจากการค้ามนุษย์ได้
โดยแทจ้ รงิ

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 8
มนี าคม 2563

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภมู ภิ าคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดติ ถ)์



สารบญั หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สารบญั แผนภูมิ ง
สารบัญภาพ จ
บทสรปุ ผู้บรหิ าร ฉ
ส่วนที่ 1 บทนา 1
2
1. นโยบายระหว่างประเทศ ข้อเสนอ TIP Report 3
2. นโยบายระดับชาติ 5
3. นโยบายระดับกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ 8
4. นโยบายระดับจงั หวดั 35
สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พื้นฐานในพ้ืนท่ี จังหวัดในเขตรับผดิ ชอบของ สสว.8 35
1. ขอ้ มูลบรบิ ทพ้ืนท่ี 40
2. สถานะการค้ามนุษย์รายจังหวัด 42
3. สถิติทเ่ี ก่ยี วข้องกับสถานการณ์การค้ามนุษย์ 53
สว่ นที่ 3 บทวิเคราะหก์ ารจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษย์ 53
1. การวิเคราะหส์ ถานการณ์การคา้ มนุษย์รายจังหวัดและภูมิภาค 56
2. การวเิ คราะหศ์ ักยภาพระดับจังหวดั และภมู ิภาค 58
3. การวเิ คราะหน์ โยบายจงั หวดั ภายใต้ยุทธศาสตร์ 5P 59
4. การจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping) 60
5. ผลการจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษย์ของจังหวัด ประจาปี 2562 63
ส่วนที่ 4 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 63
1. การวิเคราะห์ SWOT ภาคเหนือตอนล่าง 64
2. ขอ้ เสนอแนะเชงิ งบประมาณและเชิงนโยบาย 66
3. สถานการณ์การคา้ มนุษย์และแนวโนม้ ในอนาคตในพืน้ ท่ีภาคเหนือตอนลา่ ง 1 68
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ความเปน็ มาของโครงการ
กรอบแนวคิดการจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ยจ์ งั หวัด (Grouping)
สถติ ิสาคัญด้านการค้ามนุษย์ 76 จงั หวัด (ปี 2560 – 2562)

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ย์รายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดิตถ)์



สารบัญตาราง

หนา้

ตารางที่ 1 พนื้ ท่ี 5 จงั หวดั ในเขตพื้นทรี่ บั ผิดชอบของ สสว.8 35

ตารางที่ 2 แสดงจานวนเขตการปกครองรายจังหวดั ในเขตพน้ื ที่รับผดิ ชอบของ สสว.8 37

ตารางที่ 3 แสดงจานวนประชากรจาแนกตามเพศ รายจงั หวัดในเขตพ้ืนท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว.8 37

ตารางท่ี 4 จานวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จาแนกตามเพศ 38

ตารางท่ี 5 ภาวะการทางานของประชากรรายจังหวดั ในเขตพ้นื ท่รี บั ผิดชอบของ สสว.8 38

ตารางที่ 6 การขยายตวั ของผลติ ภัณฑ์มวลรวม กลุ่มจงั หวัดในเขตพื้นทรี่ ับผดิ ชอบของ สสว.8 39

ตารางท่ี 7 ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวัดตอ่ หวั (GPP per capita) ปี 2561 39

ตารางท่ี 8 สถานะการคา้ มนุษยร์ ายจงั หวัดในเขตพ้นื ทรี่ บั ผดิ ชอบของ สสว.8 ปี 2562 40

ตารางที่ 9 แสดงจานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนญุ าตทางานคงเหลอื พ.ศ.2560-2562 42

ตารางที่ 10 แสดงจานวนโรงแรมพ้นื ท่จี ังหวัดในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของ สสว.8 43

ตารางท่ี 11 แสดงจานวนสถานประกอบกจิ การท่ขี ออนุญาตตามพระราชบัญญตั ิภาพยนตรแ์ ละวดี ิทัศน์ 44

พ.ศ.2551 ประจาปี 2562 รายจงั หวดั

ตารางท่ี 12 แสดงจานวนร้านนวดแผนไทย/บรกิ ารสุขภาพ รายจงั หวดั ประจาปี 2562 45

ตารางที่ 13 แสดงจานวนโรงงานรายจงั หวัดในพนื้ ท่รี ับผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562 46

ตารางท่ี 14 แสดงจานวนการคดั แยกเหยื่อจากการค้ามนษุ ยร์ ายจังหวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8 47

ตารางท่ี 15 แสดงจานวนผูท้ ี่ถกู คดั แยกเหย่ือจากการคา้ มนุษย์รายจงั หวัดในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8 48

ตารางท่ี 16 แสดงจานวนคดีการค้ามนุษย์รายจังหวัดในเขตรับผดิ ชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 – 2562 49

ตารางที่ 17 แสดงจานวนผตู้ ้องหาจากการค้ามนุษย์รายจงั หวัดในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.8 50

พ.ศ. 2560 – 2562

ตารางที่ 18 แสดงจานวนผูเ้ สยี หายจากการค้ามนษุ ย์รายจงั หวดั ในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.8 50

พ.ศ. 2560 – 2562

ตารางท่ี 19 แสดงสถติ ผิ ู้เสียหายคดคี า้ มนษุ ยแ์ ยกตามสญั ชาติรายจังหวัด ปี 2560 51

ตารางที่ 20 แสดงสถติ ผิ เู้ สยี หายคดีค้ามนุษยแ์ ยกตามสัญชาติรายจงั หวัด ปี 2561 51

ตารางท่ี 21 แสดงสถิตผิ ู้เสียหายคดีค้ามนุษย์แยกตามสัญชาตริ ายจงั หวัด ปี 2562 52

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)



สารบัญแผนภูมิ

หนา้

แผนภูมิที่ 1 สดั ส่วนประชากรหญิง – ชาย 38

แผนภูมิที่ 2 แสดงจานวนแรงงานตา่ งด้าวรายจงั หวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.8 42

แผนภูมทิ ่ี 3 แสดงจานวนโรงแรมพ้นื ทจ่ี ังหวัดในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.8 43

แผนภมู ทิ ี่ 4 แสดงจานวนสถานประกอบกจิ การที่ขออนญุ าตตามพระราชบญั ญัติภาพยนตร์และวดี ิทัศน์ 44

พ.ศ.2551 ประจาปี 2562 รายจังหวัด

แผนภูมิท่ี 5 แสดงจานวนร้านนวดแผนไทย/บรกิ ารสุขภาพ รายจงั หวัด ประจาปี 2562 45

แผนภมู ิท่ี 6 แสดงจานวนโรงงานรายจังหวดั ในพ้ืนทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.8 พ.ศ. 2560 - 2562 46

แผนภูมทิ ่ี 7 แสดงจานวนการคัดแยกเหย่ือจากการค้ามนษุ ยร์ ายจังหวัดในเขตรับผดิ ชอบของ สสว.8 47

แผนภูมิท่ี 8 แสดงจานวนผทู้ ี่ถกู คดั แยกเหยื่อจากการค้ามนุษยร์ ายจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.8 48

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอุตรดติ ถ)์



.

สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 แผนทก่ี ารจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ภมู ิภาคเอเชียแปซิฟิก หน้า
ภาพที่ 2 แผนทแี่ สดงอาณาเขตของกลุม่ จงั หวดั ในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบของ สสว.8 1
ภาพท่ี 3 แผนที่การจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ยร์ ะดับประเทศ ประจาปี 2562 35
ภาพท่ี 4 แผนทก่ี ารจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนุษยจ์ ังหวัดในเขตรบั ผิดชอบของ สสว.8 61
62
ประจาปี 2562

รายงานสถานการณ์การคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์



บทสรุปผู้บริหาร

การจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณ์
การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) โดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 จังหวัดอุตรดิตถ์
สานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ดาเนินการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 5 จังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง 1 ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์ เพื่อรวบรวม ข้อมูล
ศึกษา และวิเคราะห์สถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาค พร้อมนาข้อมูลไปใช้ในการจัดระดับสถานการณ์
การค้ามนุษย์ของจังหวัดและระดับประเทศ เพ่ือศึกษาแนวโน้มของสถานการณ์การค้ามนุษย์และผลกระทบที่
จะเกิดข้ึน นาไปสู่การเตรียมความพร้อมในการรับมือต่อสถานการณ์การค้ามนุษย์ รวมถึง การวางแผน
ดาเนนิ งานดา้ นการปอู งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยใ์ นระดบั พ้ืนท่ี

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของ
จังหวัด (Grouping) ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) บทนา 2) ข้อมูลพ้ืนฐานในพ้ืนที่ 5 จังหวัด กลุ่มจังหวัด
ภาคเหนอื ตอนล่าง 1 3) บทวิเคราะห์การจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ และ 4) บทสรุปและข้อเสนอแนะ
โดยสรปุ ผลได้ดังนี้

จากรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ หรือ Trafficking in Persons Report ประจาปี 2562
(TIP Report 2019) พบว่า ประเทศไทยได้รับการจัดให้อยู่ในระดับ 2 (Tier 2) เน่ืองจากได้กาหนดแนวทาง
ดาเนินการในการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อย่างต่อเน่ืองและจริงจัง โดยผลักดันให้นโยบาย
การปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์เป็นวาระสาคัญของชาติ และมีการขับเคลื่อนการทางานแบบ
บูรณาการกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังน้ี ประเทศไทยได้กาหนดแนวทางการดาเนินงานด้านการปูองกัน
และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับจังหวัด อาทิ การพัฒนาศักยภาพ
ผู้บังคับใช้กฎหมาย การสอบสวนและดาเนินคดีในเชิงรุก การตัดสินและลงโทษผู้กระทาผิดด้วยบทลงโทษท่ี
เด็ดขาด การสร้างความเช่ือมั่นในสถานคุ้มครองของรัฐและองค์การนอก การเยียวยาสภาพจิตใจ การเพ่ิม
ความสามารถของผ้เู สียหาย การเข้าถึงเครอ่ื งมือสอื่ สารไดโ้ ดยอสิ ระ การประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วน
การจัดบริการให้กับผู้เสียหาย การจัดหาเงินชดเชย และสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย การจัดหาเจ้าหน้าที่ล่าม
การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการรายงานอาชญากรรมการค้ามนุษย์ การบังคับใช้กฎหมายเพ่ือให้มี
การจ่ายค่าแรง มีข้อกาหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการจัดหางานให้กับแรงงานต่างด้าว และเคารพ
สทิ ธิของลูกจา้ งใน การครอบครองเอกสารประจาตัวและเอกสารทางการเงินของตนเอง

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) ในฐานะหน่วยงานประสานงาน
หลักด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ได้กาหนดนโยบายเพื่อนาไปสู่การปฏิบัติในระดับภูมิภาค
โดยยึดมาตรการ 5P ประกอบด้วย 1) Policyด้านการพัฒนากลไกเชิงนโยบายและการขับเคลื่อน
2) Prosecution ด้านดาเนินคดี 3) Protection ด้านการคุ้มครองช่วยเหลือ 4) Prevention ด้านการปูองกัน
และ 5) Partnership ดา้ นการพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ซ่ึงทุกจังหวัดได้กาหนดกิจกรรม/โครงการ
ให้สอดรบั กับทุกมาตรการในการปูองกนั และแก้ไขปญั หาการค้ามนุษย์

จากการศึกษา กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.8 ประกอบด้วย 5 จังหวัด คือ
จังหวดั ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์ โดยอาณาเขตทางทิศตะวันตก คือ จังหวัดตาก มีพื้นท่ี
บางส่วนติดกับประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และทางทิศตะวันออก มีพ้ืนที่บางส่วนของจังหวัด

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ์)



พิษณุโลก และอุตรดิตถ์ ติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยแบ่งเขตการปกครอง
ออกเป็น 47 อาเภอ 426 ตาบล 4,505 หมู่บา้ น ในสว่ นการปกครองท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วน
จังหวัด 5 แห่ง เทศบาลนคร 2 แห่ง (จังหวัดตาก 1 แห่ง และจังหวัดพิษณุโลก 1 แห่ง) เทศบาลเมือง 9 แห่ง
เทศบาลตาบล 106 แห่ง และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล 349 แห่ง ประกอบด้วยประชากร จานวน 3,571,493
คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.37 ของประเทศ เป็นชาย จานวน 1,761,432 คน (ร้อยละ 49.32) เป็นหญิง
จานวน 1,810,061 คน (ร้อยละ 50.68) โดยในภาคเศรษฐกจิ ของกลุม่ จงั หวัด นับวา่ มแี นวโน้มการขยายตัวของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมเพม่ิ ขึ้น

ผลการศกึ ษาแสดงให้เห็นวา่ สถานะการค้ามนษุ ยร์ ายจังหวัดในภาคเหนือตอนล่าง 1 แบ่งเป็น
3 กลุ่ม ดังนี้ 1) จังหวัดท่ีมีสถานะเป็นต้นทาง ทางผ่าน และปลายทาง ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก และ
อุตรดิตถ์ 2) จังหวัดที่มีสถานะเป็นต้นทางและปลายทาง ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3) จังหวัดท่ีมีสถานะเป็น
เฉพาะทางผา่ น ไดแ้ ก่ จังหวัดสุโขทัย โดยจังหวัดที่มีสถานะทางผ่าน กล่าวคือ เป็นจังหวัดท่ีมีคนเคล่ือนย้ายจาก
เขตชายแดนหรือจังหวัดใกล้เคียงผ่านจังหวัดตนเองเพื่อไปยังจังหวัดอ่ืนในประเทศ และเป็นจังหวัดที่มีจุดผ่าน
แดนและช่องทางธรรมชาติท่ีไม่สามารถตรวจสอบการเข้า-ออกของกลุ่มแรงงานเพ่ือนบ้าน จึงเป็นข้อสังเกตว่า
กลุ่มคนที่เขา้ มาชอ่ งทางธรรมชาตทิ ง้ั แรงงานเด็กที่ติดตามมากับครอบครัวแรงงาน อาจเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการถูก
แสวงหาประโยชน์การค้ามนุษย์ นอกจากนี้ จังหวัดที่มีสถานะปลายทาง มีคนจากจังหวัดอ่ืนมาเป็นผู้เสียหาย
จากการค้ามนุษย์ในพื้นที่ของตนเอง มักเป็นจังหวัดท่ีมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของภาค
เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม จานวนสถานศึกษา และการส่งเสริมการท่องเที่ยว การเกิดอัตราการเคลื่อนย้าย
ประชากรเข้ามาทางานมาในจังหวัด อาจสง่ ผลใหเ้ ป็นจังหวดั ปลายทางทีเ่ กดิ การค้ามนษุ ย์ในพ้นื ทดี่ งั กลา่ ว

ผลจากจากการวิเคราะห์สถานการณ์การค้ามนุษย์รายจังหวัด ระหว่างปีพ.ศ. 2560 – 2562
พบว่า จากข้อมูล ศป.คม.จังหวัดในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ในปี พ.ศ. 2560 - 2562 มีการจับกุม
และดาเนินคดี จานวน 29 คดี อันดับ 1 คือ คดีการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ ซึ่งกลุ่มผู้เสียหายเป็นเพศหญิง
และมีอายุต่ากว่า 18 ปี รองลงมาคือ คดีการผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสื่อลามก คดีการแสวงหาประโยชน์
ทางเพศในรปู แบบอ่นื คดีการบงั คบั ใชแ้ รงงาน และคดกี ารบังคับให้ขอทาน ตามลาดบั

ในสว่ นของกระบวนการคัดแยกผู้เสียหาย ระหว่างปี พ.ศ. 2560 - 2562 พบว่า มีการคัดแยก
ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ในพื้นท่ี 5 จังหวัด จานวน 51 ครั้ง เป็นผู้เสียหายฯ จานวน 83 คน ไม่เข้าข่ายเป็น
ผู้เสียหายฯ จานวน 396 คน โดยจังหวัดท่ีมีการคัดแยกผู้เสียหายมากที่สุดคือ จังหวัดอุตรดิตถ์ ตาก และ
พิษณุโลก ตามลาดับ สัญชาติที่พบจากการคัดแยกผู้เสียหายมากท่ีสุดคือ สัญชาติเมียนมา ทั้งน้ี กระบวนการ
คัดแยกผู้เสียหายยังคงมีข้อจากัดบางประการ ได้แก่ การมีล่ามแปลภาษาท่ีมีองค์ความรู้ด้านการค้ามนุษย์
ไมเ่ พยี งพอ การกาหนดสถานทใ่ี นการคัดแยกผูเ้ สียหายในทางปฏิบตั ิจงั หวัดอาจจะไม่สามารถดาเนินการได้ตาม
แผนการบูรณาการฯ เน่ืองจากหลายเหตุปัจจัย เช่น ช่วงเวลาท่ีได้รับการประสานเป็นเวลานอกราชการ
สถานท่ีได้รับแจ้งห่างไกลจากสถานที่ซ่ึงจังหวัดกาหนดให้เป็นสถานท่ีสัมภาษณ์คัดแยกผู้เสียหายเบ้ืองต้น
เป็นต้น ดังนั้น ในการปฏิบัติงานของทีมสหวิชาชีพในการคัดแยกผู้เสียหายนอกจากทักษะ ความรู้ความเข้าใจ
เร่ืองการค้ามนุษย์ จาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากการจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอ ควรมีทีมด้านกฎหมาย
และทีมล่ามแปลภาษาที่มีความเช่ียวชาญในด้านการค้ามนุษย์โดยเฉพาะ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการคัดแยก
ผ้เู สยี หายจากการค้ามนษุ ย์

การศึกษาสถานการณ์การค้ามนุษย์ แสดงให้เห็นว่า สถานการณ์การค้ามนุษย์ในกลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนลา่ ง 1 มปี จั จยั เสย่ี งและปัจจัยเสริมหลายประการ เชน่ แรงงานต่างด้าว โรงแรม ร้านคาราโอเกะ
สถานประกอบการ โรงภาพยนตร์ รา้ นนวดแผนไทย โรงงาน เป็นต้น โดยจังหวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก และตาก
มีสถิติข้อมูล อยู่ใน 3 อันดับแรกจากมากไปน้อย อาจเน่ืองมาจากเป็นจังหวัดท่ีมีประชากรจานวนมาก มีความ

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ)์



เติบโตทางเศรษฐกิจในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคการท่องเที่ยว รวมถึงการเป็นศูนย์กลาง
ด้านการคมนาคมขนส่งของภูมิภาค ซึ่งทาให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดการค้ามนุษย์มากกว่าจังหวัดอื่นในกลุ่ม
จงั หวัดภาคเหนอื ตอนล่าง 1 ท้ังน้ี มีข้อสังเกตว่า การจัดเก็บข้อมูลควรมีการออกแบบรูปแบบการจัดเก็บข้อมูล
ที่เหมือนกันในทุกพ้ืนที่ และรวบรวมไว้เป็นระยะเวลาหลายปีต่อเนื่องกัน โดยอ้างอิงที่มาของข้อมูลหรือมีการ
จดั ทารายงานสถานการณ์ในระดับจังหวัดโดยความร่วมมือจากหน่วยงานระดับจังหวัด นอกจากนี้ ปัจจัยสาคัญ
ท่ีส่งเสริมการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ประจาจังหวัด ประสบ
ความสาเร็จและมีความต่อเนื่อง ควรมีการเพิ่มจานวนบุคลากร และบรรจุตาแหน่งข้าราชการ หรือพนักงาน
ราชการ หรอื ตาแหนง่ ทีม่ ีความมั่นคงให้แกบ่ ุคลากรประจาศูนย์ฯ และควรมีการพัฒนาทักษะ ความรู้ความสามารถ
ในการส่ือสารด้านภาษา เช่น ภาษาเมียนมา กัมพูชา เป็นต้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน ให้แก่
บุลากรของศูนย์ฯ และเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องเป็นประจาทุกปีอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการพัฒนารูปแบบการเช่ือม
ขอ้ มูลหรือการส่งต่อข้อมูลทท่ี ันต่อสถานการณ์

ผลจากการศึกษา พบวา่ ผบู้ รหิ ารระดับสูงของจังหวัดทั้ง 5 จังหวัด เน้นย้าและให้ความสาคัญ
ในการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ โดยมีการประกาศนโยบายด้านการปูองกันปราบปราม
การค้ามนุษย์ และจัดเป็นวาระเร่งด่วนของจังหวัด ท้ังน้ี ทุกจังหวัดได้จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและปราบ
การค้ามนุษย์ประจาปี เพื่อการขับเคลื่อนให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์และมาตรการในการ
ปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 – 2564 จึงมีข้อสังเกตว่า จังหวัดควรมีแผนงาน
หรือโครงการแบบบูรณาการ รว่ มกัน โดยอาจใชง้ บประมาณสนบั สนนุ จากกองทนุ การคา้ มนษุ ย์ เพ่ือการปูองกัน
และปราบปรามการค้ามนุษยใ์ หส้ อดคล้องกบั บริบทพ้นื ทแี่ ละสถานการณค์ วามเสย่ี งทีอ่ าจเกดิ การค้ามนุษย์

ผลจากการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ โดยใช้เกณฑ์ของกองต่อต้านการค้ามนุษย์
กาหนดช่วงคะแนนเป็น 4 ชั้น ประกอบด้วย 1) เกณฑ์เฝูาระวังเป็นพิเศษ (สีแดง) 2) เกณฑ์เฝูาระวัง (สีส้ม)
3) เกณฑ์เล็กน้อย (สีเหลือง) และ 4) เกณฑ์ปกติ (สีเขียว) พบว่า ในพื้นท่ี 5 จังหวัด อยู่ในเกณฑ์ดังต่อไปน้ี
1) เกณฑ์เฝูาระวัง (สีส้ม) จานวน 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก และจังหวัดพิษณุโลก กล่าวคือ เกิดการกระทา
ความผิดฐานค้ามนุษย์ในพื้นท่ีปานกลาง 2) เกณฑ์ปกติ (สีเขียว) จานวน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์
จังหวดั สโุ ขทยั และจังหวัดอุตรดติ ถ์ กลา่ วคือ เกิดการกระทาความผิดฐานค้ามนุษย์น้อย ท้ังน้ี จากการจัดระดับ
สถานการณก์ ารค้ามนุษยป์ ระจาปี 2562 ของจังหวัดในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วชิ าการ 8 ซึ่งอยู่ในเกณฑท์ เี่ กิดการกระทาความผิดฐานค้ามนษุ ย์ในพ้ืนที่ปานกลาง - น้อยมาก จะเห็นได้ว่าเป็น
ผลจากการดาเนินงานสาคัญ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2560 – 2562) ซ่ึงแต่ละจังหวัดมีการดาเนินงานที่เข้มงวด
มีกลไกการขับเคลื่อนในระดับจังหวัด คือ มีศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดท่ีมี
ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน คอยกากับ ติดตามผลการดาเนินงานด้านการปูองกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ในพื้นท่ี และมีเครือข่ายท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนท่ีมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ ทาให้
คดีค้ามนุษย์ที่เกิดขึ้นในภาพรวมของภูมิภาคนี้ มีแนวโน้มลดลง จาก 15 คดีในปี 2561 เหลือ 13 คดี ในปี
2562 โดยมี 3 จงั หวัดทีไ่ ม่มคี ดีคา้ มนษุ ย์ในพืน้ ท่ี จานวน 3 จงั หวดั คือ จังหวดั เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอุตรดิตถ์

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์)

1

ส่วนที่ 1

บทนา

ประเทศไทยได้ดาเนินการในการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อย่างต่อเน่ืองและจริงจัง
โดยรัฐบาลมีความตระหนักถึงภัยของการค้ามนุษย์ เพราะถือได้ว่าเป็นการทาลายซ่ึงศักดิ์ศรีของความ
เป็นมนุษย์ เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง จึงได้ผลักดันให้นโยบายการปูองกันและแก้ไขปัญหา
การค้ามนุษย์เป็นวาระสาคัญของชาติ มีการขับเคลื่อนการทางานแบบบูรณาการกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
ได้รับการจัดระดับการดาเนินการเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ที่ดีขึ้น เป็นระดับ 2 (Tier 2) ปรากฏ
ในรายงานการค้ามนุษย์หรือ Trafficking in Persons Report ประจาปี 2562 (TIP Report 2019) และ
สหภาพยุโรปได้ประกาศปลดสถานะใบเหลืองของภาคประมงไทยเพ่ือแสดงการยอมรับต่อความพยายามของ
ประเทศไทยในการแก้ไขปัญหาการทาประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU : Illegal
Unreported and Unregulated Fishing) และแม้ว่าประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก จะได้พยายาม
และร่วมมือกันต่อต้านการค้ามนุษย์ ยังคงพบว่า ขบวนการค้ามนุษย์ได้มีวิธีการหลอกลวงในรูปแบบใหม่อยู่
ตลอดเวลา โดยไม่เกรงกลัวต่อกฎหมายแต่อย่างใด อาทิ การนาเด็กไปแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศ
ผา่ นส่ือออนไลน์ มีการปลอมแปลงอายุของเดก็ และเยาวชนใหเ้ ปน็ ผใู้ หญ่ เพอ่ื เลยี่ งการถกู ดาเนินคดี เป็นต้น

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ หรือ Trafficking in Persons Report ประจาปี 2562
(TIP Report 2019) ซ่ึงเผยแพร่โดยกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ประเทศไทยได้รับการจัด
ให้อยู่ในระดับ 2 (Tier 2) เช่นเดียวกับปี 2561 สะท้อนว่า สหรัฐอเมริกาตระหนักถึงความมุ่งมั่นพยายาม
ของประเทศไทยในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ทุกรูปแบบในปีท่ีผ่านมา ทั้งการบังคับใช้กฎหมาย
และการดาเนนิ คดกี บั ผกู้ ระทาผิด การคมุ้ ครองดูแลผู้เสยี หาย การปูองกันการตกเปน็ เหยือ่ การคา้ มนุษย์

ภาพที่ 1 แผนท่ีการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษย์ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกิ

ทีม่ า : TIP Report 2019

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ์)

2

1. นโยบายระหว่างประเทศ และขอ้ เสนอแนะของ TIP Report

นโยบายโดยคณะกรรมการระดับชาติ และการดาเนินความร่วมมือในประเด็นการปูองกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและระดับพหุภาคี ซึ่งการดาเนินงานระดับ
ระหวา่ งประเทศทส่ี าคัญ มดี ังนี้

 ระดบั ทวิภาคี
1. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการขจัดการค้าเด็กและสตรีและการช่วยเหลือเหยื่อของการค้ามนุษย์

(MOU on Bilateral Cooperation for Eliminating Trafficking in Children and Women and
Assisting Victims of Trafficking) ซ่ึงไทยได้มีความตกลงกับกัมพูชา (ปี 2546) ลาว (ปี 2548) เวียดนาม
(ปี 2551) และเมยี นมา (ปี 2552)

2. การจัดทาบันทึกความร่วมมือระหว่างไทยกับญี่ปุนว่าด้วยการแลกเปลี่ยนข่าวสารสาหรับการ
ปูองกันและต่อต้านการค้ามนุษย์ (Memorandum of Cooperation between the Government of
Japan and Thailand concerning the Exchange of Information for the Purpose of Preventing
and Combating Trafficking in Persons) เพ่ือประโยชน์ในการสืบสวนสอบสวนผู้ต้องสงสัยในคดีค้ามนุษย์
ขยายผลการจับกุม และดาเนินคดีผู้กระทาความผิดทั้งในไทยและญี่ปุนอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุน
ความรว่ มมอื ทางกฎหมายระหว่างไทยกบั ญป่ี ุน

3. การจดั ทาบันทกึ ความเข้าใจระหวา่ งรัฐบาลวา่ ด้วยความร่วมมือด้านการจ้างแรงงาน ซ่ึงเป็นการ
ลดความเส่ียงของการค้ามนุษย์ในภาคแรงงาน โดยเฝูาระวังการแสวงผลประโยชน์โดยมิชอบจากการผลักดัน
แรงงานอพยพไปทางานในประเทศปลายทาง ซึ่งในปัจจุบันไทยมีความตกลงในลักษณะน้ีกับอิสราเอล
และกาลังอยู่พิจารณารา่ งความตกลงกับบังกลาเทศ

 ระดับภมู ภิ าค และระหว่างประเทศ
กระบวนการบาหลี (Regional Ministerial Conference on People Smuggling, Trafficking in

Persons and Related Transnational Crime - Bali Process) เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเก่ียวกับการลักลอบขนคนเข้าเมือง การค้ามนุษย์ และอาชญากรรมข้ามชาติ
ที่เกย่ี วขอ้ ง ประกอบด้วยสมาชิก 46 ประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ และประเทศผู้สังเกตการณ์ 19 ประเทศ
มี Steering Group ซึ่งไทยเป็นสมาชิก สนับสนุนการทางานของออสเตรเลียและอินโดนีเซียในฐานะประธานร่วม
โดยได้จัดตั้ง สนง.สนับสนุนระดับภูมิภาค (Regional Support Office – RSO) ท่ีกรุงเทพฯ เพ่ืออนุวัติกรอบ
ความร่วมมือระดับภูมิภาค (Regional Co-operation Framework – RCF) ซ่ึงเปิดทาการเม่ือเดือนกันยายน
2555 ทั้งน้ี ประเทศไทยได้มีส่วนร่วมในกระบวนการบาหลี ดังน้ี (1) มีผู้แทนไทย (ดร.ชัชชม อรรฆภิญญ์ สานักงาน
อัยการสูงสุด) เป็นผู้ประสานงานคณะทางานนโยบาย กรอบกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย (Coordinator of
Bali Process activities on Policy and Law Enforcement Response) (2) ให้เงินอุดหนุนการดาเนินงานของ
RSO และกระบวนการบาหลีระหว่างปี 2555 - 2557 เป็นจานวนเงิน 30,000 ดอลลาร์สหรัฐ (3) ริเริ่มกิจกรรมใน
กรอบกระบวนการบาลี เช่น ร่วมกับออสเตรเลียเพื่อจัดประชุมปฏิบัติการในหัวข้อการให้สัตยาบันและการ
ดาเนินงานตามพันธกรณีของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติท่ีจัดต้ังในลักษณะ
องคก์ ร (UNTOC) เม่อื ปลายปี 2555 ซ่งึ จะไดม้ กี ารต่อยอดกิจกรรมดังกลา่ วในช่วงปี 2557

 ระดบั อาเซียน

1. กลไกในกรอบอาเซียนเกี่ยวกับการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ไทยเป็นภาคี
ได้แก่ ASEAN Declaration Against Trafficking in Persons Particularly Women and Children

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์

3

ปี 2547 ซ่ึงเน้นการบังคับใช้กฎหมาย การคัดแยกเหยื่อออกจากผู้กระทาผิด และการกาหนดบทลงโทษ
ท่ีรุนแรงแก่ผู้กระทาผิดฐานค้ามนุษย์ และสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในเรื่องทางอาญา
ของภูมิภาคอาเซียน (The Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters among Like-Minded
ASEAN Member Countries) ไทยได้ให้สัตยาบันสนธิสัญญาฯ เมื่อ 31 มกราคม 2556 ซึ่งจะทาให้สามารถเพิ่ม
ประสิทธภิ าพความร่วมมือในการดาเนินคดคี ้ามนุษย์ในอาเซียนได้อกี ทางหนงึ่

2. กลไกหลักในกรอบอาเซียนที่กาลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาจัดทา ได้แก่ Regional Plan of
Action to Combat Trafficking in Persons ซงึ่ ไทยและสงิ คโปร์ไดเ้ ร่มิ ผลักดันในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส
อาเซยี นด้านอาชญากรรมข้ามชาติ (SOMTC) คร้ังท่ี 12 ในเดือนกันยายน 2555 ที่กรุงเทพฯ ให้สอดคล้องและ
สะท้อนความพยายามระดับภูมิภาคเพื่อสนับสนุนแผนระดับโลก UN Global Plan of Action to Combat
Trafficking in Persons และการจัดทาอนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการค้ามนุษย์ (ASEAN Convention
on Trafficking in Persons) ซ่ึงในระหว่างการประชุม AMMTC เม่ือเดือนกันยายน 2556 ยังอยู่ในระหว่าง
การพจิ ารณาปรับแก้ร่างเอกสารทงั้ สองฉบับ ทง้ั นี้ โดยเป็นการเสริมความร่วมมือที่มีอยู่ในกรอบ Coordinated
Mekong Ministerial Initiative against Trafficking (COMMIT)

ขอ้ เสนอแนะของ TIP Report ประจาปี 2562

กระทรวงการตา่ งประเทศสหรัฐอเมริกา มีข้อแนะนาที่สาคัญต่อการดาเนินงานของประเทศไทย ได้แก่
พัฒนาศักยภาพผู้บังคับใช้กฎหมาย สอบสวนและดาเนินคดีในเชิงรุกกับเจ้าหน้าที่รัฐที่พัวพันกับการค้ามนุษย์
ตัดสินและลงโทษผู้กระทาผิดด้วยบทลงโทษท่ีเด็ดขาด สร้างความเชื่อมั่นในสถานคุ้มครองของรัฐและ
องค์การนอกภาครัฐจะดูแลผู้เสียหายโดยคานึงถึงผลกระทบจากบาดแผลทางจิตใจอย่างเหมาะสม รวมถึงการ
ให้ความช่วยเหลือดา้ นกฎหมาย การเยียวยาสภาพจิตใจ เพ่ิมความสามารถของผู้เสียหาย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ใหญ่
การเข้าถึงเครื่องมือสื่อสารได้โดยอิสระ สนับสนุนให้ผู้พิพากษาคดีค้ามนุษย์ใช้แนวทางที่ยึดผู้เสียหายเป็น
ศูนย์กลาง และคานึงถึงบาดแผลทางจิตใจ เพ่ิมการประสานความร่วมมือระหว่างภาคประชาสังคมท้องถ่ินใน
ศูนย์ช่วยเหลือแรงงานต่างด้าว ศูนย์แรกรับ และสถานคุ้มครองของรัฐบาล รวมถึงการจัดการบริการให้กับ
ผู้เสียหาย เพิ่มความพยายามให้นายจ้างจัดหาสาเนาเอกสารสัญญาจ้างงานแก่ลูกจ้างในภาษาที่ลูกจ้างเข้าใจ
เพ่ิมการจัดหาเงินชดเชย และสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย ผู้ที่อาจเป็นผู้เสียหายเข้าถึงบริการของรัฐมากข้ึน
ก่อนท่ีจะไดร้ ับการคัดแยกจากทีมสหวิชาชีพอย่างเป็นทางการ จัดหาเจ้าหน้าท่ีล่ามในศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์
และสถานคุ้มครองของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการรายงานอาชญากรรม
การค้ามนุษย์ โดยปราศจากความหวาดกลัวท่ีจะถูกดาเนินคดีทางอาญา รวมถึงการฟูองร้องท่ีเป็นเท็จตอบโต้
โดยฝุายนายจ้าง ตรวจสอบการค้ามนุษย์ในสถานที่จ้างงานในภาคพ้ืนท่ีชายแดนท่ีมีแรงงานภายใต้การจ้างงาน
ข้ามแดน บังคบั ใช้กฎหมายเพือ่ ให้มกี ารจ่ายคา่ แรง มขี ้อกาหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการจัดหางาน
ให้กับแรงงานต่างด้าว และเคารพสิทธิของลูกจ้างในการครอบครองเอกสารประจาตัวและเอกสารทางการเงิน
ของตนเอง

2. นโยบายระดับชาติ

การดาเนินงานดา้ นการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ประเทศไทยหยิบยกปัญหาการค้ามนุษย์
เปน็ วาระแหง่ ชาติท่ีตอ้ งแก้ไขอย่างเร่งด่วนและจริงจังตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 โดยมี พ.ร.บ. ปูองกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 (The Anti-Trafficking in Persons Act 2008) และกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์
และมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (พ.ศ. 2554 - 2559) ท่ีให้ความสาคัญ 5 ด้าน คือ

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์

4

การปูองกัน การดาเนินคดี การคุ้มครองช่วยเหลือ การพัฒนากลไกเชิงนโยบายและการขับเคลื่อนการพัฒนา
และการบริหารขอ้ มลู

 กลไกการดาเนนิ งานเพ่ือป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์ ประกอบด้วย
 คณะกรรมการระดับชาติ
ตามพระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ .ศ.2551 กาหนดให้มี

คณะกรรมการระดบั ชาติ 2 คณะ ไดแ้ ก่
1. คณะกรรมการปูองกันและปรามปรามการคา้ มนษุ ย์ (ปคม.) ซงึ่ นายกรัฐมนตรีเปน็ ประธาน
2. คณะกรรมการประสานและกากับการดาเนินงานปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ปกค.)

ซ่งึ รองนายกรฐั มนตรเี ป็นประธาน และคณะอนกุ รรมการตา่ ง ๆ เพอ่ื ผลักดันนโยบายระดบั ชาติ
 คณะกรรมการระดับพ้ืนที่
คณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด 76 จังหวัด

ซง่ึ แตง่ ตง้ั โดยคณะกรรมการการประสานและกากับการดาเนินงานปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ เพ่ือให้
เป็นศูนย์กลางในการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนการอานวยการ ส่ังการ และดาเนินการ
ที่เกี่ยวข้องกับการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในจังหวัด ประกอบด้วยกรรมการจากส่วนราชการ
ท่เี ก่ียวขอ้ ง โดยผูว้ า่ ราชการจังหวดั เป็นประธาน และในระดบั หนว่ ยงาน หลายหน่วยงานได้จัดต้ังหน่วยงานย่อย
ทมี่ ีภารกิจเฉพาะ โดยเฉพาะหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การปราบปราม เช่น กองบังคับการปราบปรามการกระทา
ผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ ภายใต้สานักงานตารวจแห่งชาติ ศูนย์ต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศ ภายใต้
สานกั งานอัยการสงู สุด เป็นตน้

ท้ังนี้ รัฐบาลเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในกลไกท้ังในระดับชาติ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ
จากภาคประชาสังคมเป็นกรรมการในคณะกรรมการระดับชาติ และระดับจังหวัด โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชน
เขา้ รว่ มเปน็ คณะกรรมการ และมสี ว่ นรว่ มอยา่ งมีนยั สาคญั ในกระบวนการคัดแยกเหย่ือด้วย

 การดาเนนิ นโยบายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์
เนื่องจากไทยอยู่ในสถานะประเทศต้นทาง ทางผ่าน และปลายทางของการค้ามนุษย์ นโยบายเพ่ือ
แก้ไขปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของไทยให้ความสาคัญกับผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์เป็นหลัก
(Victim-Centered) และมีความเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานหลายด้านที่เก่ียวข้องกับการปูองกันการแสวงหา
ประโยชน์หรือการบังคับใช้แรงงาน การปราบปรามและดาเนินคดีขบวนการค้ามนุษย์ รวมถึงการช่วยเหลือ
คุ้มครองผเู้ สยี หายจากการคา้ มนุษย์ ซ่ึงนโยบายทีไ่ ทยกาลังใหค้ วามสาคญั ในปจั จุบนั มีดงั น้ี

 การดาเนินงานเกีย่ วกบั ผโู้ ยกยา้ ยถ่ินฐานทเี่ หมาะสมของไทย
 การแก้ไขปญั หาการค้ามนุษยใ์ นอตุ สาหกรรมประมง
 การช่วยเหลอื คุม้ ครองผูเ้ สยี หายจากการค้ามนุษย์
 แหลง่ ที่มาของงบประมาณ
1. งบประมาณปกติของแต่ละส่วนราชการท่ีได้รับจัดสรรประจาปี และงบประมาณดาเนินงานของ
องคก์ ารพฒั นาเอกชนองค์การระหว่างประเทศทสี่ นับสนุนการดาเนนิ งาน เพื่อปอู งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์
2. กองทนุ เพือ่ การปูองกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ยต์ ามพระราชบัญญัติปูองกันและปราบปราม
การคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2551 โดยมีการใช้เงินทุนในสองสว่ น ไดแ้ ก่ การช่วยเหลือผู้เสียหายจากการกระทาความผิด
ฐานค้ามนุษย์ และการดาเนินโครงการเพื่อปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ซึ่งหน่วยงานทั้งภาครัฐและ
องคก์ รเอกชนสามารถเสนอโครงการเพื่อขอใช้งบประมาณกองทุนฯ โดยเลขาธิการของกลไกระดับชาติ รวมท้ัง
การบรหิ ารกองทุนฯ อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ (พม.)

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดติ ถ)์

5

3. นโยบายระดบั กระทรวง

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลใน
การขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ โดยได้มีการจัดทาบันทึกข้อตกลง
ร่วมกันหน่วยงานภาครฐั และภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วข้องในการดาเนินงานด้านการค้ามนุษย์ ซงึ่ รายละเอียดมีดงั น้ี

 นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ.2560 - 2564

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ โดยสานักงานปลัดกระทรวงฯ ในฐานะ
เลขานุการของคณะกรรมการระดับชาติ 2 คณะ ซ่ึงได้ดาเนินการปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์
ตามแนวนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ.2554-
2559) และเป็นความสาคัญของการดาเนินการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2560-
2564) ขึ้น โดยนาผลจากการดาเนินงานระยะแรก ในช่วงระยะปี พ.ศ.2554-2559 และการดาเนินงานตาม
พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 มาเป็นแนวทางในการกาหนดกรอบนโยบาย
ยุทธศาสตร์และมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ฉบับน้ี รวมท้ังการมีส่วนร่วม และการ
ระดมความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการต่อต้านการค้ามนุษย์จากทุกภาคส่วนท่ัวประเทศ
มาร่วมจัดทา นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ฉบับท่ี 2
(พ.ศ.2560-2564) ให้มีทิศทางและความสอดคล้องตรงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
ซ่งึ เป็นแผนแมบ่ ทหลักของการพัฒนาประเทศ และเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development
Goals: SDGs) โดยเฉพาะเปูาหมายท่ี 10 และ 16 ทม่ี ุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้า และเสริมสร้างสังคมเป็นสุข
รวมถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวดท่ี 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ ตามมาตรา 71
และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) รวมทั้งแผนการต่อต้านการค้า
มนุษย์ท้ังในระดับประเทศและระดับสากล โดยเฉพาะอย่างย่ิงในระดับสากลในภูมิภาคอาเซียน ณ ปัจจุบัน
ประเทศไทย มีแผนการขับเคล่ือนและปฏิรูปการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และแรงงานผิดกฎหมายประจาปี
2560 โดยครอบคลุมการส่งเสรมิ การปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานสากล ผ่านการขับเคล่ือนการปฏิบัติตามอนุสัญญาว่า
ดว้ ยการค้ามนษุ ยแ์ ห่งอาเซยี น เป็นต้น

การจัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ฉบับที่ 2
(พ.ศ.2560-2564) ได้ดาเนินการภายใต้หลักการที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝุายที่เก่ียวข้อง โดยเร่ิมจาก
การจัดการประชุมกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6 (Stakeholders Meeting) ทั้งภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน
ในส่วนกลาง รวมถึงการจัดประชุมการสนทนากลุ่ม (focus group) ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในพื้นท่ีระดับ
ภูมภิ าค ประกอบด้วยพื้นท่ีจังหวัดชายทะเล พื้นที่ที่เป็นเส้นทางการค้ามนุษย์ และพ้ืนที่เส่ียงต่อการเกิดปัญหา
การค้ามนุษย์ที่สาคัญ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์การค้ามนุษย์ในประเทศไทย และสภาพปัญหาที่ต้ อง
ได้รับการแก้ไข และเป็นการเพ่ิมศักยภาพการดาเนินงานของผู้ปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น รวมท้ัง
มที ศิ ทางการจดั การให้เท่าทันกบั สถานการณ์และแนวโน้มของปัญหาการค้ามนุษย์ที่จะเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลา
5 ปีข้างหน้า และเพ่ือให้กฎหมายท่ีเก่ียวกับการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ สามารถบังคับใช้ได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเพือ่ แกไ้ ขปัญหาการค้ามนุษยใ์ ห้ทนั ทว่ งทกี บั สถานการณ์ปัญหาในปจั จบุ ัน

การจัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ฉบับน้ี
ได้ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของกลุ่มเปูาหมาย และภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาการค้ามนุษย์
โดยได้กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีมีวิสัยทัศน์ท่ีชัดเจน ได้แก่ “ประชารัฐร่วมใจ ประเทศไทยไร้การค้ามนุษย์”
และประกอบด้วยนโยบายและยุทธศาสตร์ในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ครอบคลุม 5 ด้าน

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ)์

6

ได้แก่ ยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการพัฒนากลไกเชิงนโยบายและการขับเคล่ือน (Policy) ยุทธศาสตร์และ
มาตรการด้านการดาเนินคดี (Prosecution) ยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการคุ้มครองช่วยเหลือ
(Protection) ยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการปูองกัน (Prevention) และยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการ
พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย (Partnership) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่องและยั่งยืน และ
สามารถนาไปปฏบิ ัติได้อยา่ งเปน็ รูปธรรม

 บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการพัฒนาระบบงานยุติธรรมทางอาญาในคดีค้ามนุษย์
ระหวา่ งศาลอาญา สานักงานอยั การสงู สดุ สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการ
พฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์

ปัจจุบันปัญหาเก่ียวกับการค้ามนุษย์ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อความมั่นคง
ทางเศรษฐกิจและสังคมของนานาประเทศที่เก่ียวข้อง และศาลยุติธรรม ได้จัดตั้งแผนกคดีค้ามนุษย์ในศาล
อาญา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การดาเนินคดีค้ามนุษย์เป็นไปภายใต้หลักการให้ความเป็นธรรมแก่คู่ความทั้ง
สองฝุาย มีการดูแลรักษาพยานหลักฐานให้คงอยู่และพร้อมต่อการสืบพยาน มีมาตรการท่ีเพียงพอต่อการ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนและปกปูองผู้เสียหาย การดาเนินกระบวนพิจารณาท่ีมีประสิทธิภาพ โดยองค์คณะ
ผู้พิพากษาท่ีมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และมีกระบวนพิจารณาที่รวดเร็วโดยใช้สื่อ
เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม ซ่ึงจาเป็นตอ้ งได้รับความรว่ มมือจากหน่วยงานที่เกยี่ วข้องทุกฝาุ ย

ศาลอาญา สานกั งานอยั การสูงสุด สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จึงจัดทาข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการพัฒนาระบบงานยุติธรรม
ทางอาญาในคดคี า้ มนุษย์ ดงั น้ี

1. ความร่วมมอื ด้านการดาเนินคดี
(1) จดั ให้มีศนู ยป์ ระสานงานคดีค้ามนษุ ย์ในแต่ละหน่วยงาน เพื่อทาหน้าที่ประสานงาน

และแก้ไขขอ้ ขดั ขอ้ งในการดาเนนิ คดี รวมท้ังการค้มุ ครองสทิ ธขิ องผเู้ สยี หายและพยาน
(2) ร่วมมือเพ่ือให้มีการสืบพยานไว้ล่วงหน้าโดยเร็วเมื่อเกิดเหตุจาเป็นตามท่ี

กฎหมายบัญญตั ิ โดยคานงึ ถึงโอกาสในการตอ่ สคู้ ดขี องผู้ต้องหาหรือจาเลยประกอบด้วย
(3) จัดให้มีศูนย์ประสานงานในการจัดหาล่าม และทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

เพอื่ ประโยชน์ในการสอบสวนและการพจิ ารณาพิพากษาคดีของศาล
(4) การปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจาเลย ควรพิจารณาด้วยความรอบคอบ

โดยคานงึ ถงึ พฤติการณแ์ ละการกระทาของผูต้ อ้ งหา และความเสยี หายทผ่ี ู้เสียหายได้รับโดยฟังจากความเป็นอยู่
ของผู้เสียหาย หรือพยานสาคัญประกอบ และต้องมีมาตรการหรือเง่ือนไขในการปล่อยตัวชั่วคราวท่ีเหมาะสม
เพื่อปูองกันการหลบหนีหรืออันตรายที่อาจเกิดข้ึนแก่ผู้เสียหายหรือพยาน ทั้งนี้ สานักงานตารวจแห่งชาติจะ
กาหนดจุดรับและปฏิบัติตามคาสั่งของพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการหรือศาล เพื่อปูองกันมิให้
ผู้ต้องหาหรือจาเลยเดินทางออกนอกประเทศ

(5) ร่วมมือให้มีการสืบเสาะข้อมูลประวัติและพฤติการณ์เกี่ยวกับการค้ามนุษย์
ของผูต้ อ้ งหาหรอื จาเลยเพอ่ื ประกอบการสอบสวนและการพิจารณาพิพากษาคดขี องศาล

(6) ร่วมมือในการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือการฟูองคดีและการสืบพยาน
ผา่ นระบบการประชมุ ทางจอภาพ

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมภิ าคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

7

2. ความรว่ มมอื ด้านการคมุ้ ครองสทิ ธิของผูเ้ สียหายและพยาน
(1) สนับสนุนและร่วมมือในการฟ้ืนฟู ช่วยเหลือ เยียวยา และการคุ้มครองสวัสดิภาพ

และความปลอดภัยแก่ผู้เสียหาย ตลอดจนการแจ้งให้ทราบถึงสิทธิในการเรียกค่าสินไหมทนแทน
และการฟอู งร้องบังคับคดีเพ่ือให้มีการชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนดังกลา่ ว

(2) ดาเนินการเพื่อให้มีการจัดทาข้อมูลประวัติและความคิดเห็นหรือข้อกังวลของ
ผู้เสยี หาย เพื่อประกอบการพิจารณาของเจ้าพนักงานในการออกคาสงั่ และการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล

(3) สนับสนุนและร่วมมือในการคุ้มครองผู้เสียหาย พยานและครอบครัวของผู้เสียหาย
หรือพยานในตลอดระยะเวลาดาเนินคดี การแจ้งความคืบหน้าของคดี ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือและ
อานวยความสะดวกในการไปเบิกความต่อศาลอาญา

3. ความรว่ มมอื ดา้ นอนื่ ๆ
(1) พฒั นารูปแบบ ระบบการจดั เก็บและแลกเปล่ียนข้อมูลสารสนเทศในการดาเนินคดี

คา้ มนุษย์ระหวา่ งกัน
(2) สนับสนุนและร่วมมือจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่

ในการบังคับใช้กฎหมาย การดาเนินคดี และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมท้ังการจัดหาและฝึกอบรมล่าม
เพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัติหนา้ ที่

(3) ร่วมมือในการพัฒนากฎหมายเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการดาเนินคดี
คา้ มนุษย์และให้สอดคล้องกบั มาตรฐานสากลและพันธกรณีท่ีประเทศไทยมีต่อนานาประเทศ

(4) พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศกับประเทศเพ่ือนบ้านและประเทศซึ่งมีปัญหา
ในเรอ่ื งการค้ามนุษย์ทเ่ี ก่ยี วข้องกับประเทศไทย

หน่วยงานตามบันทึกข้อตกลงนี้ ถือเป็นภารกิจท่ีต้องปฏิบัติร่วมกัน หากสถานการณ์และ
นโยบายมีการเปลี่ยนแปลง สามารถปรับปรุง ทบทวนและแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์และนโยบายน้ัน
โดยความยนิ ยอมรว่ มกัน ทงั้ น้ี ให้จัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับปัญหาข้อขัดข้องและอุปสรรคในการ
ดาเนินการตามบนั ทกึ ข้อตกลงนีอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง

บันทกึ ขอ้ ตกลงนี้ ทาขึ้นเปน็ ห้าฉบับซ่งึ ทัง้ ห้าหน่วยงานได้ตรวจสอบแล้วมีความถูกต้องตรงกัน
ทุกประการ จึงได้ลงลายมือช่ือไว้เป็นสาคัญและเก็บไว้หน่วยงานละหนึ่งฉบับ ทั้งนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันลง
นามเป็นตน้ ไป (ลงนาม ณ วนั ท่ี 10 สงิ หาคม 2558)

 นโยบายเพือ่ ขับเคลอื่ นการดาเนินงานปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ ประจาปี 2563
นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (รมว.พม.)

ไดม้ อบนโยบายเพื่อขับเคล่ือนการดาเนนิ งานปูองกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ ประจาปี 2563 ดงั น้ี
1. ด้านนโยบายและการนาไปสู่การปฏิบัติ โดยนานโยบายและกฎหมายว่าด้วยการปูองกัน

และปราบปรามการค้ามนุษย์ท่ีมีอยู่แล้วไปปฏิบัติในระดับท้องถิ่น โดยกระทรวง พม. ในจังหวัดต้องแส ดง
บทบาทผูน้ าและชี้นาแนวทางการขบั เคลอื่ นการดาเนนิ งานปอู งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในระดับจังหวัด
และใหพ้ ัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) เป็นกลไกหลักระดับจังหวัดในการจัดทารายงาน
สถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 เป็นกลไกหลักในการ
รวบรวมจัดทารายงานสถานการณ์รายภาคและจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัดในพ้ืนที่
รับผิดชอบ ซึ่งรายงานน้ีจะเป็นข้อมูลสาคัญที่นาไปใช้ในการกาหนดนโยบายและมาตรการในการแก้ไขปัญหา
การคา้ มนุษย์ในระดบั ประเทศ และเปน็ กรอบในการจัดสรรงบประมาณแก่หนว่ ยงานในจงั หวดั ต่อไป

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ)์

8

2. ด้านการปูองกนั การดาเนนิ งานเน้น 2 เร่อื งหลัก ได้แก่
2.1) การอบรมให้ความรู้หรือ การเพ่ิมศักยภาพแก่กลุ่มเปูาหมาย เพ่ือปูองกันกลุ่มเส่ียง

ไม่ใหต้ กเข้าส่ขู บวนการคา้ มนุษย์
2.2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ โดยใช้เคร่ืองมือใดในการส่ือสารกับกลุ่มเปูาหมาย

อย่างเหมาะสม โดยพิจารณาเรื่องเพศ วัย และเช้ือชาติ เป็นการปูองกันบุคคลกลุ่มน้ีไม่ให้ตกเข้าสู่ขบวนการ
คา้ มนษุ ย์

3. ด้านการคุ้มครองช่วยเหลือ กระทรวง พม. เป็นหน่วยงานหลักในการช่วยเหลือคุ้มครอง
ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดยยึดถือปฏิบัติตามหลักมาตรฐานสากล คือ การคุ้มครองช่วยเหลือโดยไม่เลือก
ปฏิบตั ิ ไม่ว่าจะเป็นคนไทยหรือคนต่างด้าว

สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 8 ได้เห็นความสาคัญและเพื่อเป็นการดาเนินการตามนโยบายของกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ประจาปี 2563 จึงได้ดาเนินโครงการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์
รายภูมิภาคและจัดระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด (Grouping) เพ่ือให้รายงานสถานการณ์
การค้ามนุษย์ดังกล่าว สาเร็จเป็นรูปธรรม สามารถนาไปประกอบเพ่ือใช้ในการกาหนดนโยบาย มาตรการ
ยทุ ธศาสตร์ แผนงานทง้ั ในระดบั ประเทศ ระดับภมู ภิ าค และระดับจงั หวัดได้ ตามสถานการณ์ในแตล่ ะพ้นื ที่

4. นโยบายระดบั จงั หวัด

P1 Policy ด้านการพัฒนากลไกเชิงนโยบายและการขับเคลื่อน

จังหวดั ตาก

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ

2560 1. การประชุมคณะอนกุ รรมการศูนย์ปฏิบตั ิการปูองกนั - พมจ.ตาก

(จานวน 2 โครงการ) และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์จังหวดั ตาก จานวน 6 คร้ัง

2. การเร่งรัดใหม้ กี ารขบั เคลือ่ นการปฏิบตั งิ านปูองกัน - ปคม.จ.ตาก

และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ในระดบั พน้ื ที่

2561 1. กาหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละมาตรการในการปูองกันและ - ปคม.จ.ตาก

(จานวน 2 โครงการ) ปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดตาก ภายใต้วิสัยทัศน์

“ประชารัฐร่วมใจ ประเทศไทยไรก้ ารค้ามนษุ ย์”

2. การประชมุ คณะอนุกรรมการศูนยป์ ฏบิ ัติการปูองกัน - พมจ.ตาก

และปราบปรามการค้ามนุษย์จงั หวัดตาก จานวน 6 ครัง้

2562 1. กาหนดยุทธศาสตร์และมาตรการในการปูองกันและ - ปคม.จ.ตาก

(จานวน 2 โครงการ) ปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดตาก ภายใต้วิสัยทัศน์

“ประชารัฐร่วมใจ ประเทศไทยไรก้ ารคา้ มนษุ ย์”

2. การประชมุ คณะอนกุ รรมการศนู ย์ปฏิบัตกิ าร - พมจ.ตาก

ปอู งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดตาก

จานวน 7 ครงั้

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารคา้ มนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดิตถ์)

9

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ
จังหวัดพษิ ณุโลก
1. ประชุมคณะอนุกรรมการศูนยป์ ฏบิ ัติการปูองกันและ - พมจ.พิษณโุ ลก
2560 ปราบปรามการคา้ มนุษย์จังหวดั พษิ ณโุ ลกจานวน 6 ครั้ง
(จานวน 3 โครงการ) 2. จัดทาแผนปฏิบตั ิการปูองกันและแก้ไขปัญหาการ
คา้ ประเวณีจงั หวัดพษิ ณุโลกรว่ มกบั คณะกรรมการ
2561 ค้มุ ครองและพัฒนาอาชพี ประจาจงั หวดั ประจาปี 2560
(จานวน 5 โครงการ) 3. จดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารปอู งกันและปราบปรามการค้า
มนษุ ย์ ปงี บประมาณ 2560 - 2561
2562
(จานวน 8 โครงการ) 1. ประชุมคณะอนุกรรมการศูนยป์ ฏบิ ัติการปูองกันและ - พมจ.พิษณุโลก
ปราบปรามการค้ามนุษย์จงั หวดั พิษณุโลกจานวน 6 ครง้ั
2. จัดประชุมคณะทางานข้อมูลสถานประกอบการ
เ สี ่ย ง ต ่อ ก า ร ค ้า ม น ุษ ย ์จ ัง ห ว ัด พ ิษ ณ ุโ ล ก
จานวน 2 ครั้ง/ จัดทาข้อมูลสถานประกอบการใน
พ้ืนทจ่ี งั หวัดพษิ ณุโลก
3. จัดประชุมคณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
ประจาจังหวดั (ก.ค.อ.) จานวน 3 คร้ัง
4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการจัดทาแผนปฏิบัติการ
ปอู งกันและแก้ไขปญั หาการคา้ ประเวณีจังหวัด
5.จดั ประชุมคณะกรรมการควบคุมการขอทานจ.พิษณุโลก

1. จดั ประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกัน - พมจ.พษิ ณโุ ลก
และปราบปรามการคา้ มนุษยจ์ งั หวดั พษิ ณโุ ลก 6 คร้งั
2. จัดประชุมคณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
ประจาจังหวดั (ก.ค.อ.) จานวน 1 ครัง้
3. จัดประชุมคณะกรรมการควบคุมการขอทานจังหวัด
พษิ ณโุ ลกและคณะกรรมการคมุ้ ครองคนไร้ที่พง่ึ
4. จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้า
มนุษย์ ปีงบประมาณ 2562 จานวน 1 แผน
5. จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและแก้ไขปัญหาการ
ค้าประเวณีจังหวัดพิษณุโลก ร่วมกับคณะกรรมการ
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพประจาจังหวัด ประจาปี 2562
6. จัดทารายงานสถานการณ์ปูองกันและปราบปราม
การคา้ มนุษย์ ปีงบประมาณ 2562
7. จัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนและติดตามการปฏิบัติงาน
ของศูนย์ปฏิบัติการปูองกันการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน
ระดบั จงั หวัด จานวน 6 ครง้ั
8. จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันการค้ามนุษย์ด้าน
แรงงานจงั หวดั พิษณุโลก ประจาปี 2561 จานวน 1 แผน

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษย์รายภมู ิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอุตรดิตถ์)

10

ปี โครงการ หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ
จงั หวัดเพชรบูรณ์
1. จัดประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกัน - พมจ.เพชรบรู ณ์
2560 และปราบปรามการค้ามนษุ ย์จังหวดั พษิ ณโุ ลก 11 ครง้ั
(จานวน 2 โครงการ) 2. จัดทาแผนปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการ - พมจ.เพชรบรู ณ์
คา้ มนุษย์ ประจาปี 2559 – 2560
2561
(จานวน 1 โครงการ) 1. จดั ประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกัน - พมจ.เพชรบูรณ์
และปราบปรามการคา้ มนุษย์จงั หวัดพษิ ณุโลก 3 ครง้ั
2562
(จานวน 1 โครงการ) 1. จัดประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกัน - พมจ.เพชรบรู ณ์
จังหวัดสโุ ขทยั และปราบปรามการค้ามนุษย์จงั หวัดพิษณุโลก 4 คร้งั

2560 1. ประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการปูองกัน - พมจ.สุโขทยั
(จานวน 3 โครงการ) และปราบปรามการค้ามนุษยจ์ งั หวัดสโุ ขทยั 3 ครงั้
2. มีการบูรณาการแผนงาน/โครงการแลกเปล่ียน
2561 ข้อมูลและทบทวนรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์
(จานวน 4 โครงการ) จงั หวดั สุโขทยั ในปที ี่ผา่ นมา
3. การจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือการปูองกันและ
2562 ปราบปรามการค้ามนุษย์ ประจาปี 2561
(จานวน 3 โครงการ)
1. การจดั ประชมุ คณะอนุกรรมการศนู ย์ปฏบิ ัติการ - พมจ.สโุ ขทยั
จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษยจ์ .สโุ ขทัย 3 ครัง้
2560 2. จัดทาแผนปฏบิ ัติการเพ่ือการปูองกนั และ
ปราบปรามการคา้ มนุษย์จังหวดั สุโขทยั ปี 2562
(จานวน 3 โครงการ) 3. ประชุม / ขับเคล่อื นการปฏิบตั ิของศูนย์ปฏบิ ตั กิ าร
ปอู งกันและปราบปรามการค้ามนุษยด์ ้านแรงงาน
โดยจดั ประชุมเพ่ือการขบั เคลื่อนฯ 12 คร้งั
4. จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารปูองกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ด้านแรงงานจังหวัดสุโขทัย

1. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบัติการ - พมจ.สุโขทยั
ปูองกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์จังหวดั สโุ ขทยั
2. ทาแผนปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้า
มนษุ ยจ์ งั หวัดสโุ ขทัย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 - ปคม.จ.สโุ ขทัย/อปท./
3. จัดประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการทางานของ หน่วยงานภาครฐั -เอกชน/
ศูนย์ปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์แรงงาน ภาคประชาสงั คม
จงั หวดั สโุ ขทัย

1. การจัดประชุมคณะอนกุ รรมการศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการ - พมจ.อุตรดิตถ์
ปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ ังหวัดอุตรดิตถ์
จานวน 6 คร้งั

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอุตรดติ ถ์)

11

ปี โครงการ หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ
2561
(จานวน 6 โครงการ) 2. การจัดประชมุ คณะอนุกรรมการควบคุมการ

2562 ขอทานจังหวัดอตุ รดติ ถ์ จานวน 1 คร้ัง
(จานวน 3 โครงการ)
3. การจัดประชมุ คณะอนุกรรมการคุ้มครองคนไร้ท่ีพึง่

จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ จานวน 1 คร้งั

1. การจดั ประชุมคณะอนกุ รรมการศนู ย์ปฏบิ ตั ิการ - พมจ.อุตรดิตถ์

ปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ .อตุ รดิตถ์ 6 คร้งั

2. การจดั ประชมุ คณะอนุกรรมการควบคุมการ

ขอทานจังหวัดอตุ รดติ ถ์ จานวน 1 ครัง้

3. การจัดประชมุ คณะอนกุ รรมการคุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง

จงั หวัดอุตรดติ ถ์ จานวน 1 ครงั้

4. จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือการปูองกันและ

ปราบปรามการค้ามนุษย์จงั หวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562

5. ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการพจิ ารณาความ

สามารถของผู้ขอมีบตั รประจาตวั ผู้แสดงความสามารถ

6. จา่ ยเงนิ รางวลั และคา่ ตอบแทนในการนาจับและ

ดาเนนิ คดีกบั ผู้กระทาความผิดฐานคา้ มนษุ ย์ จาก

กองทนุ เพ่ือการปูองกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์

รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สิน้ 100,000 บาท (หนงึ่ แสนบาทถ้วน)

1. การจัดประชุมคณะอนกุ รรมการศูนย์ปฏิบตั ิการ - พมจ.อตุ รดิตถ์

ปูองกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ .อุตรดิตถ์ 4 ครง้ั

2. การจัดประชมุ คณะอนุกรรมการคุ้มครองคนไรท้ ่ีพง่ึ

จังหวัดและคณะอนุกรรมการควบคุมการขอทาน

จงั หวัดอุตรดิตถ์ ประจาปี 2562 จานวน 1 ครัง้

3. จดั ทาแผนปฏบิ ัติการเพ่ือการปูองกันและปราบปราม

การค้ามนุษย์จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562

P2 Prosecution ดา้ นการดาเนินคดี

จงั หวัดตาก

ปี โครงการ หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ

2560 1. การเพิ่มประสิทธภิ าพการคัดแยกผู้เสียหายก่อน - สานกั งานตรวจคนเข้าเมือง

(จานวน 2 โครงการ) ผลักดันสง่ กลับ

2. จับกุมผู้กระทาความผิดฐานค้ามนษุ ย์ 2 คดี - สถานตี ารวจภูธรแมร่ ะมาด

2561 1. การบงั คับใช้กฎหมาย เนน้ การปฏิบัติเชิงรกุ โดยใช้ - ปคม.จ.ตาก/ทีมสหวิชาชพี

(จานวน 3 โครงการ) รปู แบบการวเิ คราะห์ขา่ วกรองนาการปราบปราม

ทาลายวงจรการคา้ มนษุ ย์

2. ดาเนินการจบั กมุ ผู้กระทาความผิดฐานคา้ มนุษย์

จานวน 4 คด/ี พยานผูเ้ สียหายจากการค้ามนษุ ย์ 5 ราย

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ)์

12

ปี โครงการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ

2562 3. รว่ มสอบคดั แยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จานวน
(จานวน 2 โครงการ)
10 คร้ัง เปน็ ผ้เู สียหายจากการค้ามนษุ ย์ จานวน 4 ครงั้
จังหวัดพษิ ณุโลก
2560 1. ดาเนนิ การจับกุมผู้กระทาความผดิ ฐานคา้ มนุษย์ - สภ.วังเจ้า

(จานวน 2 โครงการ) จานวน 1 คด/ี ผเู้ สยี หายจากการคา้ มนุษย์ 17 ราย

2561 2. รว่ มสอบคัดแยกผู้เสยี หายจากการค้ามนษุ ยจ์ านวน - ปคม.จ.ตาก/ทีมสหวิชาชีพ
(จานวน 2 โครงการ)
9 ครั้ง 98 ราย
2562
(จานวน 2 โครงการ) 1. ดาเนนิ การจับกมุ ผู้กระทาความผิดฐานค้ามนุษย์ ใน - ตารวจภธู รจงั หวัด
รปู แบบการผลติ หรอื เผยแพร่วัตถหุ รอื สอื่ ลามก 3 คดี พิษณโุ ลก
จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 2. รว่ มสอบคดั แยกผู้เสียหายจากการค้ามนษุ ย์ จานวน - ปคม.จ.พิษณุโลก/ทมี สห
2560 1 ครง้ั เปน็ ผเู้ สียหายจากการคา้ มนุษย์ จานวน 1 ราย วชิ าชพี

(จานวน 2 โครงการ) 1. ดาเนนิ การจบั กมุ ผู้กระทาความผดิ ฐานคา้ มนุษย์ - ตารวจภธู รจังหวัด
จานวน 2 คดี (คา้ ประเวณี 1 คดี และการผลิตหรอื พษิ ณุโลก
2561 เผยแพร่วตั ถหุ รอื ส่ือลามก 1 คดี)
(จานวน 0 โครงการ) 2. รว่ มสอบคดั แยกผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์ จานวน - ปคม.จ.พษิ ณโุ ลก/ทมี สห
1 คร้ัง เป็นผ้เู สียหายจากการค้ามนษุ ย์ จานวน 1 ราย วชิ าชีพ
2562
(จานวน 0 โครงการ) 1. ดาเนินการจบั กุมผู้กระทาความผิดฐานคา้ มนุษย์ - ตารวจภธู รจงั หวดั
จงั หวัดสโุ ขทัย จานวน 2 คดี (คา้ ประเวณี 1 คดี และการผลิตหรือ พิษณโุ ลก
เผยแพร่วตั ถหุ รือสื่อลามก 1 คด)ี
2560 2. รว่ มสอบคัดแยกผู้เสยี หายจากการค้ามนษุ ย์ จานวน - ปคม.จ.พิษณโุ ลก/ทีมสห
(จานวน 0 โครงการ) 3 ครง้ั เป็นผเู้ สียหายจากการคา้ มนุษย์ จานวน 22 ราย วชิ าชพี

1. อบรมเพ่ิมประสิทธิภาพงานด้านการปูองกัน - ตารวจภธู รจังหวัด

ปราบปรามและสอบสวนการกระทาความผิดเกย่ี วกบั เพชรบรู ณ์

การคา้ มนุษย์ พนักงานสอบสวนในสังกัดตารวจภูธร

จงั หวัดเพชรบูรณ์

2. อบรมถา่ ยทอดความรูจ้ ากการฝึกอบรมพนักงาน - ตารวจภธู รจังหวดั

สอบสวนและเจา้ หนา้ ทีผ่ รู้ บั ผิดชอบการบนั ทกึ ข้อมูลคดี เพชรบูรณ์

คา้ มนุษย์ ลงในระบบฐานขอ้ มูลการปูองกนั ปราบปราม

การค้ามนษุ ยข์ องประเทศไทย (E-AHT)

--

--

--

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์)

13

ปี โครงการ หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ
2561 - -
(จานวน 0 โครงการ)
2562 - -
(จานวน 0 โครงการ)
จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 1. ไดร้ บั สานวนคดคี ้ามนุษย์ จานวน 1 เรือ่ ง - สานักงานอยั การจงั หวัด
2560
(จานวน 1 โครงการ) ดาเนนิ การยืน่ ฟูองผูต้ ้องหา วันท่ี 29 พฤษภาคม 2560 อตุ รดิตถ์
2561
(จานวน 1 โครงการ) 1. ดาเนินคดี กับผกู้ ระทาความผิด จานวน 4 คดี โดย - ปคม.จ.อุตรดติ ถ์/ทมี สห

2562 จาแนกเปน็ การแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี วชิ าชีพ
(จานวน 1 โครงการ)
จานวน 3 คดี ผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์ จานวน 4 คน

และการบังคับใชแ้ รงงานในภาคประมง จานวน 1 คดี

ผู้เสยี หาย จานวน 1 คน

1. คดั แยกผูเ้ สยี หายจากการค้ามนษุ ย์ด้านแรงงาน - ปคม.จ.อตุ รดติ ถ์/ทีมสห

รว่ มกบั ทมี สหวชิ าชีพ จานวน 15 ครั้ง (ไมเ่ ปน็ ผูเ้ สยี หาย วิชาชพี

จากการค้ามนุษย์) จานวน 333 ราย ส่วนใหญ่เป็น

สญั ชาตลิ าว จานวน 318 ราย เมียนมา 15 ราย

P3 Protection ด้านการคุม้ ครองช่วยเหลือ

จงั หวัดตาก

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ

2560 1. การสง่ กลบั ผู้เสียหายจากการคา้ มนุษย์ท่อี ยู่ในความ - สานักงานตรวจคนเข้าเมือง

(จานวน 2 โครงการ) คมุ้ ครองของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความ

ม่นั คงของมนุษย์ จานวน 5 ครัง้ รวมทง้ั ส้นิ 111 คน

กลับสภู่ ูมลิ าเนา

2. ความชว่ ยเหลือทางกฎหมาย การดาเนนิ การ - สนง.อัยการจงั หวดั

เรยี กรอ้ งสทิ ธคิ ่าชดเชย คา่ สนิ ไหมทดแทนและการ

ประสานให้ผู้เสียหายออกไปทางานนอกสถานคุ้มครอง

2561 1. การให้การช่วยเหลอื ค้มุ ครองพยานผ้เู สยี หายจาก - สถานีตารวจภูธรแมส่ อด

(จานวน 2 โครงการ) ผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์ จานวน 4 คดี 5 ราย - สนง.อยั การจังหวดั

2. การส่งกลับผู้เสียหายจากการคา้ มนุษย์ทอ่ี ยู่ในความ - สนง.พมจ.ตาก

คุม้ ครองของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคง - สถานคุ้มครองผ้เู สยี หาย

ของมนุษย์ จานวน 3 ครั้ง รวมท้ังส้ิน 32 คนกลบั สู่ จากการค้ามนษุ ยจ์ .เชยี งราย

ภมู ิลาเนา - สถานคมุ้ ครองผ้เู สียหาย

จากการค้ามนษุ ยจ์ ังหวัด

พิษณโุ ลก (บ้านสองแคว)

- สานักงานตรวจคนเข้าเมือง

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภมู ิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดติ ถ์)

14

ปี โครงการ หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ
2562
(จานวน 2 โครงการ) 1. การประชมุ ทมี สหวชิ าชพี เพ่อื พิจารณาค่าสินไหม - สถานตี ารวจภูธรวงั เจา้

จังหวัดพษิ ณุโลก ทดแทนแกผ่ ้เู สียหายจากการกระทาความผิดฐาน - ทีมสหวิชาชีพ
2560
คา้ มนุษย์ และสง่ ผูเ้ สยี หายจากการค้ามนษุ ยเ์ ขา้ รับการ - สถานคุ้มครองผเู้ สยี หาย
(จานวน 0 โครงการ)
2561 ค้มุ ครองสวัสดภิ าพในสถานคุ้มครองของกระทรวงการ จากการค้ามนุษย์จ.เชยี งราย

(จานวน 7 โครงการ) พัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จานวน 17 ราย - สถานคมุ้ ครองผเู้ สียหาย

2562 2. การส่งกลับผ้เู สียหายจากการค้ามนุษย์ที่อยู่ในความ จากการค้ามนษุ ย์จังหวดั
(จานวน 3 โครงการ)
คุ้มครองของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคง พษิ ณโุ ลก (บ้านสองแคว)
จังหวดั เพชรบรู ณ์
2560 ของมนุษย์ จานวน 5 ครง้ั รวมท้งั ส้ิน 156 คน - สานกั งานตรวจคนเข้าเมือง

(จานวน 1 โครงการ) --

2561 1. โครงการอบรมให้ความรู้การปอู งกนั อัคคีภัย - สถานคุ้มครองสวสั ดิภาพ
(จานวน 1 โครงการ)
2. โครงการเย่ียมบา้ นผรู้ ับการคมุ้ ครอง ผ้เู สยี หายจากการค้ามนุษย์
2562
(จานวน 1 โครงการ) 3. โครงการฝึกอาชีพสาหรบั ผู้รบั บริการ (บ้านสองแคว) จงั หวดั

4. โครงการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและสบื สานประเพณีไทย พิษณุโลก

5. โครงการธรรมะบาบดั

6. โครงการศิลปะสรา้ งสรรคเ์ พื่อการบาบดั ฟื้นฟู

เยยี วยาผเู้ สยี หายจากการคา้ มนษุ ย์

7. โครงการดแู ล สขุ ภาพผ้รู ับบริการ

1. โครงการสายใยสมั พันธค์ รอบครวั - สถานคุม้ ครองสวสั ดิภาพ

2. โครงการศลิ ปะสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื การบาบัด ฟนื้ ฟู ผเู้ สยี หายจากการค้ามนษุ ย์

เยยี วยา กล่มุ เปาู หมายที่ไดร้ ับบรกิ ารในสถานคุ้มครองฯ (บ้านสองแคว) จังหวัด

3. โครงการเยย่ี มบ้านผรู้ ับการคมุ้ ครอง พิษณโุ ลก

1. การชว่ ยเหลอื ด้านทีพ่ ัก การรักษาพยาบาล การ - ปคม.จ.เพชรบูรณ์/ทีมสห
บาบัดฟน้ื ฟทู างร่างกายและจิตใจการให้การศึกษาการ วิชาชีพ
ฝกึ อบรมการชว่ ยเหลือทางกฎหมาย และการส่งกลบั
ภมู ลิ าเนา/ส่งกลับประเทศเดิมของผูเ้ สยี หาย - ปคม.จ.เพชรบูรณ/์ ทมี สห
วิชาชีพ
1. การชว่ ยเหลอื ด้านที่พัก การรักษาพยาบาล การ
บาบดั ฟนื้ ฟทู างรา่ งกายและจิตใจการให้การศึกษาการ - ปคม.จ.เพชรบรู ณ์/ทมี สห
ฝึกอบรมการชว่ ยเหลอื ทางกฎหมาย และการสง่ กลับ วชิ าชพี
ภูมลิ าเนา/สง่ กลับประเทศเดิมของผเู้ สยี หาย

1. การชว่ ยเหลอื ด้านทพ่ี ัก การรักษาพยาบาล การ
บาบดั ฟน้ื ฟทู างรา่ งกายและจิตใจการให้การศึกษาการ
ฝึกอบรมการชว่ ยเหลือทางกฎหมาย และการส่งกลบั
ภูมิลาเนา/สง่ กลับประเทศเดิมของผเู้ สียหาย

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอุตรดติ ถ์)

15

ปี โครงการ หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ
จังหวัดสโุ ขทยั
1. ระบบบรกิ ารพัฒนาบรหิ ารชว่ ยเหลือดูแลเดก็ และสตรี - สานักงานสาธารณสขุ
2560 บคุ ลากร บคุ คลท่ีถูกกระทาความรุนแรงใน 9 อาเภอ จังหวดั สโุ ขทยั
(จานวน 1 โครงการ)
1. กิจกรรมการใหค้ วามช่วยเหลอื เดก็ /เยาวชน ในช้ัน - สถานพินิจฯ จ.สุโขทยั
2561 สถานพนิ จิ ฯทเี่ ปน็ เหยอื่ / ผ้เู สยี หายการคา้ มนุษย์
(จานวน 1 โครงการ) (ผลการดาเนนิ งานไมม่ เี ดก็ /เยาวชนทเ่ี ปน็ เหย่อื คา้ มนษุ ย์)

2562 1. การคัดกรองเด็กและผูเ้ สยี หายจากการคา้ มนษุ ย์ ท่ี - สถานพินิจฯ จ.สุโขทยั
(จานวน 1 โครงการ) ถูกส่งตวั มาดาเนินคดี โดยการสัมภาษณ์ เพ่ือประเมิน
ความเสีย่ งและความจาเป็น จานวน 190 ราย
จังหวัดอตุ รดติ ถ์ (ผลการคัดกรองไมพ่ บเดก็ และผเู้ สียจากการคา้ มนษุ ย์)
2560
1. ประสาน เขา้ รับการคุม้ ครองผูเ้ สียหายจากการคา้ - ปคม.จ.อุตรดติ ถ/์ สถาน
(จานวน 2 โครงการ)
มนษุ ย์จากการแสวงหาประโยชน์จากการคา้ ประเวณี คุม้ ครองสวสั ดภิ าพ
2561
(จานวน 2 โครงการ) เดก็ อายุต่ากวา่ 18 ปี จานวน 2 ราย ผูเ้ สยี หายจากการคา้ มนษุ ย์

2562 (บ้านสองแคว) จ.พิษณโุ ลก
(จานวน 0 โครงการ)
2. ให้ความคมุ้ ครองและช่วยเหลือนกั เรยี นถูกลว่ ง - สานกั งานเขตพื้นที่

ละเมิดทางเพศ 2 ราย ให้นกั เรยี นได้รับความ การศึกษามัธยมศึกษา เขต

ปลอดภัยและลดปัญหาเสย่ี งต่อการออกกลางคัน 39 (จงั หวัดอตุ รดติ ถ์)

1. ประสานส่งต่อให้ความช่วยเหลือและคุ้มครอง - ปคม.จ.อุตรดิตถ/์ สถาน

ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์จากการแสวงหา คมุ้ ครองสวัสดิภาพ

ประโยชน์จากการค้าประเวณีเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์

โดยส่งเขา้ รบั การค้มุ ครอง จานวน 3 ครัง้ รวม 4 ราย (บ้านสองแคว) จ.พิษณุโลก

2. ดาเนินการประชุมเรียกค่าสินไหมทดแทนให้กับ - ปคม.จ.อตุ รดิตถ์

ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จานวน 2 ครั้ง รวมท้ังสิ้น

3 ราย

--

P4 Prevention ดา้ นการปอ้ งกัน

จงั หวัดตาก

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ

2560 1. โครงการอบรมเผยแพร่พระราชบญั ญตั ิปูองกนั และ - พมจ.ตาก

(จานวน 5 โครงการ) ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และให้ความรู้เพ่ือ

ปอู งกันการถูกล่อลวง

2. โครงการสนบั สนนุ สภาเด็กในการต่อตา้ นการคา้ - พมจ.ตาก

มนษุ ยจ์ งั หวดั ตาก

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ย์รายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดิตถ์)

16

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ

3. โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการทบทวนกระบวนการ - พมจ.ตาก

ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีต่ ามพระราชบัญญตั ปิ อู งกันและ

ปราบปรามการคา้ มนุษย์ของพนกั งานเจ้าหน้าที่ตาม

พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

พ.ศ. 2551 และเจา้ หน้าท่จี ากเครอื ข่ายเพ่อื การต่อต้าน

การคา้ มนุษย์ (Anti-Human Trafficking Network)

4. โครงการวนั ตอ่ ต้านการคา้ มนุษย์ - พมจ.ตาก

5. โครงการอบรมวิทยากรเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพื่อปอู งกนั - พมจ.ตาก

ปัญหาการคา้ มนษุ ยจ์ งั หวดั ตาก

2561 1. โครงการอบรมเผยแพร่พระราชบัญญัตปิ ูองกันและ - พมจ.ตาก

(จานวน 4 โครงการ) ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และให้ความรูเ้ พอ่ื

ปูองกนั การถูกลอ่ ลวง

2. โครงการสนบั สนนุ การจดั กิจกรรมตอ่ ต้านการค้า - พมจ.ตาก

มนุษย์ของสภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั ตาก

3. โครงการอบรมวิทยากรเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพื่อปูองกนั - พมจ.ตาก

ปัญหาการคา้ มนษุ ยจ์ งั หวัดตาก

4. จัดกิจกรรมวันตอ่ ต้านการค้ามนษุ ย์และรณรงคย์ ตุ ิ - พมจ.ตาก

ความรนุ แรงจังหวัดตาก ประจาปี 2561

2562 1. โครงการฝกึ อบรมเผยแพร่พระราชบัญญตั ิปูองกนั - พมจ.ตาก

(จานวน 13 โครงการ) และปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ.2551 และฉบับแก้ไข

เพ่ิมเติม (รนุ่ ที่ 1)

2. โครงการฝึกอบรมเผยแพร่พระราชบัญญัติปูองกัน - พมจ.ตาก

และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และฉบบั

แก้ไขเพิ่มเตมิ ” (รนุ่ ท่ี 2)

3. โครงการสนบั สนนุ เด็กและเยาวชนจงั หวัดตากเพ่ือการ - พมจ.ตาก

ตอ่ ตา้ นการคา้ มนุษย์ ประจาปี 2562

4. โครงการวนั ต่อต้านการค้ามนุษย์จังหวดั ตาก - พมจ.ตาก

ประจาปี 2562 ภายใต้แนวคิด “ทวภิ าคีร่วมแรง

ประชารฐั รว่ มใจ พ้ืนทช่ี ายแดนปลอดภัย ไร้ปญั หา

การคา้ มนุษย์”

5. จัดอบรมลา่ มแปลภาษา (ไทย-เมียนมา) - พมจ.ตาก

6. โครงการเสริมสร้างความรู้และแนวทางหารปูองกัน - อบต.ปุามะม่วง

และปราบปรามการค้ามนุษย์

7. โครงการฝกึ อบรมวิทยากรแกนนาการต่อตา้ น - อบต.ยกกระบัตร

การค้ามนุษยต์ าบลยกกระบัตร

8. โครงการอบรมให้ความรู้และรณรงด้านการปูองกัน - อบต.โปุงแดง

และปราบปรามการค้ามนษุ ยใ์ หก้ ับประชาชน

รายงานสถานการณ์การค้ามนษุ ยร์ ายภูมภิ าคและการจัดระดับสถานการณ์การค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ)์

17

ปี โครงการ หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ

9. โครงการอบรมให้ความรู้และรณรงด้านการปูองกัน - อบต.น้ารมึ

และปราบปรามการคา้ มนุษย์ใหก้ ับประชาชน

10. โครงการสร้างเครือข่ายการเฝูาระวังปัญหา - อบต.ช่องแคบ

การค้ามนุษย์ในพื้นที่ตาบลช่องแคบ

11. โครงการเสรมิ สรา้ งความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติปูองกัน - อบต.ชอ่ งแคบ

และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เตมิ

แก่กล่มุ สตรใี นพ้นื ที่ตาบลช่องแคบ

12.โครงการให้ความรู้ด้านการปูองกันและปราบปราม - อบต.นาโบสถ์

การค้ามนุษยแ์ ก่เด็กและเยาวชนตาบลนาโบสถ์

13. โครงการพลังวัยทีน ต่อต้านการค้ามนุษย์ (Stop - อบต.พระธาตุผาแดง

Human Trafficking)

จงั หวัดพิษณุโลก

2560 - -
(จานวน 0 โครงการ)

2561 1. อบรมเผยแพร่ความรูต้ ามพระราช บญั ญตั ิปูองกนั - พมจ.พิษณโุ ลก

(จานวน 13 โครงการ) และปราบปรามการค้ามนุษย์แก่เดก็ และเยาวชน

2. กจิ กรรมรณรงค์ต่อต้านการค้ามนษุ ยส์ ภาเด็กและ - พมจ.พิษณโุ ลก/สภาเด็ก

เยาวชน และเยาวชนจ.พษิ ณุโลก

3. โครงการรณรงค์ “จังหวดั พษิ ณโุ ลกต่อตา้ นการค้า - ปคม.จ.พษิ ณุโลก/พมจ.

มนษุ ย์ทุกรปู แบบ” พษิ ณโุ ลก/ อปท.ทุกแห่ง

4. อบรมวทิ ยากรเพอ่ื ปอู งกนั การค้ามนุษย์ จ.พิษณุโลก - พมจ.พิษณุโลก

5. โครงการเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ สถาบันครอบครวั - พมจ.พษิ ณุโลก/อปท./ศพค.

ผา่ นกลไกศนู ย์พฒั นาครอบครัวในชุมชน

6. โครงการสง่ เสรมิ อาชีพกลุ่มเสี่ยง - ศูนย์เรยี นรู้การพัฒนาสตรีฯ

จังหวดั ลาปาง

7. โครงการอบรมใหค้ วามรู้แก่ผูป้ ระกอบการจังหวดั - ปคม.จ.พิษณุโลก

พิษณโุ ลก ประจาปี ๒๕๖๐

8. การจดั ระเบียบสงั คม - ชดุ จดั ระเบยี บสงั คมจงั หวดั

พิษณุโลก/ปคม.จ.พิษณุโลก

9. การตรวจสถานบริการ/สถานประกอบการ/โรงงาน/ - ตม.จว.พิษณุโลก

เรือประมง เพ่ือปูองกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

10. โครงการปูองกนั การคา้ มนษุ ยด์ า้ นแรงงานจังหวัด - สานกั งานแรงงานจังหวดั

พษิ ณโุ ลก (การตรวจสถานบริการ/สถานประกอบการ/ พิษณุโลก และหนว่ ยงานใน

โรงงาน เพื่อปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์) สงั กดั กระทรวงแรงงาน

11. โครงการสง่ เสริมและสนับสนนุ สถานศึกษาร่วมกบั - สถานพินจิ และค้มุ ครองเด็ก

เครือข่ายชมุ ชน ในการปูองกันปัญหาพฤติกรรม และ และเยาวชนจ.พิษณโุ ลก

การกระทาผิดของเด็กและเยาวชน

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอุตรดติ ถ์)

18

ปี โครงการ หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ

2562 12. โครงการเตรียมความพร้อมกอ่ นการพิจารณาคดี -สถานพินจิ และคุ้มครองเด็ก
(จานวน 16 โครงการ)
สาหรบั เดก็ /เยาวชนและผปู้ กครอง และเยาวชนจ.พษิ ณโุ ลก

13.ประชาสัมพันธใ์ ห้ความรเู้ ก่ียวกับการปูองกนั ปัญหา - สนง.พมจ.พิษณโุ ลก/

การคา้ มนุษย์ (โครงการออกหน่วยบาบัดทุกข์ บารุงสุขฯ) บพด.จังหวดั พิษณุโลก

1. อบรมเผยแพร่ความรู้ตาม พ.ร.บ.ปูองกันและ - สนง.พมจ.พษิ ณุโลก

ปราบปรามการค้ามนุษย์ให้แก่กล่มุ เปูาหมายในพน้ื ท่ี

จ.พษิ ณโุ ลก

2. โครงการสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชนเพ่ือการ - พมจ.พิษณุโลก/สภาเด็ก

ตอ่ ตา้ นการค้ามนุษยใ์ นกลุ่มเด็กและเยาวชนประจาปี และเยาวชนจ.พิษณโุ ลก

งบประมาณ พ.ศ. 2562

3. การจัดระเบียบสงั คม - ชุดจัดระเบยี บสงั คมจงั หวัด

พิษณุโลก/ปคม.จ.พษิ ณุโลก

4. การตรวจสถานบรกิ าร สถานประกอบการ โรงงาน - ตม.จว.พิษณุโลก

เรือประมง เพ่ือปูองกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

5. ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ความรู้เกี่ยวกับการปูองกันปัญหา - สนง.พมจ.พษิ ณโุ ลก/

การค้ามนุษย์ (โครงการออกหน่วยบาบดั ทุกข์ บารุงสุขฯ) บพด.จงั หวัดพิษณุโลก

6. โครงการเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพ - สถานคุ้มครองสวสั ดิภาพ

กลมุ่ เปูาหมายเพ่ือปูองกันการถกู ล่อลวงตามแนว ผู้เสียหายจากการค้ามนษุ ย์

พระราชดาริเศรษฐกจิ พอเพยี ง (บ้านสองแคว)

7. โครงการศนู ยเ์ รยี นร้ใู นการปอู งกันและแก้ไขปัญหา - สถานคุ้มครองสวสั ดภิ าพ

การค้ามนุษย์ ผเู้ สียหายฯ (บา้ นสองแคว)

8. โครงการใหค้ วามรู้ เพื่อปูองกนั ภัยอันตรายจาก - สถานคุ้มครองสวสั ดิภาพ

การคา้ มนุษยใ์ นต่างประเทศ ผู้เสยี หายฯ (บา้ นสองแคว)

9. โครงการพัฒนากลไกเครือข่ายในการปูองกนั และ - สถานคุ้มครองสวสั ดภิ าพ

แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ผู้เสยี หายฯ (บ้านสองแคว)

10. โครงการปอู งกนั การค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน - สนง.จัดหางาน จ.พษิ ณโุ ลก

11. โครงการเครือข่ายรว่ มรณรงคป์ ูองกนั การ - สานักงานจดั หางาน

หลอกลวงและลกั ลอบไปทางานตา่ งประเทศ จังหวัดพิษณโุ ลก

12. ตรวจสถานประกอบกิจการที่เส่ียงตอ่ การใช้ - สานกั งานสวัสดิการและ

แรงงานเดก็ แรงงานบังคบั แรงงานขดั หน้ี และการค้า ค้มุ ครองแรงงานจ.พิษณโุ ลก

มนุษย์ด้านแรงงาน

13. การตรวจคมุ้ ครองแรงงานในสถานประกอบ - สานกั งานสวัสดิการและ

กจิ การในจังหวัดพษิ ณุโลก ค้มุ ครองแรงงานจ.พิษณโุ ลก

14. การตรวจคมุ้ ครองแรงงานนอกระบบ - สานักงานสวัสดิการและ

คุ้มครองแรงงานจ.พษิ ณุโลก

15. โครงการให้คาปรึกษา ชแี้ จง แนะนา ตอบปัญหา - สานักงานสวัสดกิ ารและ

เกย่ี วกับสิทธติ ามกฎหมายค้มุ ครองแรงงาน คุ้มครองแรงงานจ.พษิ ณุโลก

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ์)

19

ปี โครงการ หน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ
จงั หวดั เพชรบรู ณ์
16. โครงการรณรงคเ์ ผยแพร่ความร้เู รือ่ งการใชแ้ รงงาน - สานกั งานสวัสดิการและ
2560
(จานวน 5 โครงการ) เด็ก ค้มุ ครองแรงงานจ.พิษณโุ ลก

2561 1. สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมต่อต้านการค้ามนุษย์ของ - ปคม.จ.เพชรบรู ณ์
(จานวน 3 โครงการ) สภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั เพชรบูรณ์ - สภาเด็กฯ จ.เพชรบูรณ์
2. การฝกึ อบรมเผยแพร่ความรู้พระราชบัญญตั ิปูองกัน
2562 และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 แกป่ ระชาชน - ปคม.จ.เพชรบรู ณ์
(จานวน 3 โครงการ) 3. ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารเกยี่ วกับการ - สภาเด็กฯ จ.เพชรบูรณ์
ปูองกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์
จังหวดั สโุ ขทัย 4. โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเปูาหมายเพื่อปูองกัน - ปคม.จ.เพชรบูรณ์
2560 การถูกล่อลวง (การฝกึ อบรมอาชพี ระยะสัน้ 30 วัน) 2 - สภาเดก็ ฯ จ.เพชรบรู ณ์
รนุ่
(จานวน 51 โครงการ) 5. โครงการอบรมให้ความรูเ้ พื่อปูองกันการถกู ล่อลวง
เดก็ และเยาวชนในชนบท เด็กและเยาวชนในชุมชน
แออัด เดก็ และเยาวชนในสถานศึกษา ผปู้ กครอง บดิ า
มารดา ผู้ใหญ่บ้านและผ้นู าท้องถน่ิ

1. สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมต่อต้านการค้ามนุษยข์ อง
สภาเด็กและเยาวชนจังหวดั เพชรบูรณ์
2. การฝกึ อบรมเผยแพร่ความรู้พระราชบัญญัติปูองกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 แก่ประชาชน
3. ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารเก่ยี วกับการ
ปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์

1. สนับสนุนการจัดกจิ กรรมต่อต้านการค้ามนุษย์ของ
สภาเดก็ และเยาวชนจงั หวัดเพชรบรู ณ์
2. การฝกึ อบรมเผยแพร่ความรู้พระราชบัญญัตปิ ูองกัน
และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 แกป่ ระชาชน
3. ประชาสัมพันธ์ เผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารเกย่ี วกบั การ
ป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

1. เผยแพร่สื่อประชาสมั พนั ธต์ ่อต้านการคา้ มนุษย์ - พมจ.สโุ ขทัย

2. จัดทาแผนงาน/โครงการเพ่ือการปอู งกันและ - พมจ.สโุ ขทัย

ปราบปรามการค้ามนุษย์ ตามหลกั มาตรฐานสากล 5 P

3. การรณรงคต์ ่อต้านการค้ามนษุ ย์ จัดกิจกรรม วนั - พมจ.สุโขทยั

รณรงคต์ ่อต้านการค้ามนุษยโ์ ดยออกอากาศทางวิทยุ

เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์รณรงค์ตอ่ ต้านการค้ามนุษย์แก่

ประชาชนในพื้นทจ่ี ังหวัด

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษย์รายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ์)

20

ปี โครงการ หนว่ ยงานที่รับผิดชอบ

4. การอบรมให้ความรู้ตามพระราชบญั ญัติปูองกันและ - พมจ.สโุ ขทัย

ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ใหแ้ ก่หน่วยงาน

ภาครัฐ ภาคเอกชน เด็กและเยาวชน และประชาชนท่วั ไป

5. การอบรมวทิ ยากรเพื่อปูองกันการค้ามนษุ ย์ - พมจ.สุโขทยั

6. การอบรมให้ความรู้เพือ่ ปูองกันการถกู ลอ่ ลวง - พมจ.สุโขทยั

7. ส่งเสรมิ การพัฒนาศักยภาพกลุ่มเปูาหมายเพ่อื - พมจ.สโุ ขทยั

ปอู งกนั การถูกลอ่ ลวง

8. การจัดกจิ กรรมตอ่ ตา้ นการคา้ มนุษย์ของสภาเด็ก - พมจ.สโุ ขทยั

และเยาวชน

9. การอบรมนักเฝาู ระวังและการชว่ ยเหลอื ค้มุ ครอง - พมจ.สุโขทัย

ผูเ้ สียหายจากปัญหาการคา้ มนุษย์

10.การออกตรวจสถานประกอบการ รา้ นคาราโอเกะ - ปกครองจังหวัดสโุ ขทัย

รา้ นเกมส์ ในจงั หวัดสุโขทยั ทั้ง ๙ อาเภอ รวม ๕๐ แหง่

11. ฝึกอบรมให้ความรู้กบั ข้าราชการตารวจเก่ียวกบั - กองบงั คบั การตารวจภูธร

กฎหมายการค้ามนษุ ย์ จังหวัดสโุ ขทยั

12. อบรมเจ้าของสถานประกอบการโดยเฉพาะสถาน - กองบังคับการตารวจภธู ร

บรกิ าร รา้ นคาราโอเกะ นวดแผนโบราณ สถานบริการ จงั หวดั สโุ ขทัย

โรงแรม เกส์ทเฮาส์ หรือแหลง่ ของกล่มุ บคุ คล

13. การจัดทาปูายคา้ มนุษย์ ลักษณะแผ่นใหญ่ให้ - กองบังคับการตารวจภธู ร

มองเหน็ ชดั เจน จงั หวดั สโุ ขทัย

14. ตรวจสถานบรกิ ารและสถานบันเทิง ได้แก่ นวด - กองบังคบั การตารวจภูธร

แผนโบราณ รา้ นคาราโอเกะ, และอาบอบนวดทุกแห่ง จังหวัดสุโขทัย

โรงแรม รีสอรท์ เกส์ทเฮาท์ และสถานท่สี มุ่ เสย่ี งในการ

กระทาความผดิ เกยี่ วกับการค้ามนุษย์

15. กวดขนั ตรวจตราและสบื สวนจับกุมสถานบริการ - กองบงั คบั การตารวจภูธร

และสถานบันเทงิ และสถานประกอบการทกุ ประเภทท่ี จงั หวดั สุโขทยั

มีการค้าประเวณแี อบแฝง ไม่วา่ จะโดยสมคั รใจหรอื

บงั คับค้าประเวณี โดยเฉพาะการคา้ ประเวณเี ด็กอยา่ ง

จริงจงั และต่อเน่อื ง

16. ดาเนินการตัง้ ดา่ นตรวจเพ่อื สกัดกัน้ การลักลอบ - กองบังคับการตารวจภูธร

การนาพาแรงงานตา่ งด้าวเขา้ มาในราชอาณาจักร จงั หวดั สโุ ขทยั

17. กวดขนั ปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ ากแรงงานต่าง - กองบังคบั การตารวจภูธร

ดา้ ว ทาใหเ้ กิดปญั หาแรงานเถ่ือน โดยเฉพาะการคา้ จังหวดั สุโขทัย

ประเวณีตามแหลง่ ท่องเทยี่ วต่าง ๆ รวมทง้ั แก๊งขอทาน

ทเี่ ป็นขบวนการนาเดก็ หรอื คนตา่ งด้าวมาเป็นขอทาน

อยา่ งจริงจังและต่อเนือ่ ง

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดติ ถ์)

21

ปี โครงการ หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ

18. กาชับทกุ หนว่ ยในสงั กัดมิให้ราชการตารวจในสงั กดั - กองบงั คบั การตารวจภูธร

ทกุ นายเข้าไปมีผลประโยชน์หรอื ประพฤติในทางมชิ อบ จงั หวัดสโุ ขทัย

กบั ขบวนการคา้ มนุษยโ์ ดยเดด็ ขาด และให้บังคับบัญชา

ทกุ ระดับเขา้ ไปควบคุมดูแลอย่างใกล้ชดิ หากพบวา่ มีผู้

ในฝุาฝืนให้ดาเนินการทางอาญาและวนิ ัยทุกราย

19. ดาเนินการกับผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องตามกฎหมาย - กองบังคบั การตารวจภธู ร

เกย่ี วกบั เด็ก กฎหมายการค้ามนุษย์ และกฎหมาย จงั หวัดสุโขทัย

เก่ยี วกับการปูองกันปราบปรามการฟอกเงนิ ตาม

ข้อเท็จจริงและพยานหลกั ฐานทกุ กรณี

20. หากมกี ารจบั กมุ โดยสว่ นราชการอื่นทเี่ ปน็ การ - กองบงั คบั การตารวจภูธร

ปล่อยปละละเลยไม่เอาใจใส่ หรือไม่กวดขันดาเนินการ จังหวัดสโุ ขทยั

อยา่ งจรงิ จัง ตามนโยบาย ตร. จะดาเนนิ การทาง

ปกครองกับผู้รับผิดชอบใน สภ. และหนว่ ยงานน้นั

ทันที แลว้ ตง้ั กรรมการการตรวจสอบขอ้ เท็จจริงโดย

ดว่ นทีส่ ุด

21. ประชาสมั พนั ธป์ อู งกนั การคา้ มนษุ ย์ทางสถานวี ทิ ยุ - กองบังคบั การตารวจภธู ร

สวท. สโุ ขทยั (FM ๙๓.๗๕ MHz) วิทยชุ มุ ชน แผ่นพับ จงั หวดั สโุ ขทัย

22. สง่ เสริมความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมเด็กก่อนเข้า - สนง.สวสั ดิการและ

สู่ตลาดแรงงาน กล่มุ เปาู หมาย นกั เรียนนกั ศึกษาที่จะ คมุ้ ครองแรงงาน จ.สุโขทัย

เขา้ สู่ตลาดแรงงาน

23. ส่งเสริมความร้ดู า้ นคุ้มครองแรงงานด้านแรงงาน - สนง.สวสั ดกิ ารและ

แก่แรงงานนอกระบบและผ้ทู ีเ่ ก่ียวข้อง คมุ้ ครองแรงงาน จ.สุโขทยั

24. สร้างและพัฒนาเครอื ขา่ ยการคุม้ ครองแรงงานนอก - สนง.สวสั ดิการและ

ระบบ เพื่อให้มีเครือข่ายในการสอดส่องเฝาู ระวัง คุม้ ครองแรงงาน จ.สุโขทัย

เกย่ี วกับการหลอกลวงไปค้ามนุษย์ดา้ นแรงงาน และการ

ใช้แรงงานที่ไมถ่ ูกต้องตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน

25. รณรงคเ์ ผยแพรค่ วามรเู้ ร่ืองการใชแ้ รงงานเด็ก - สนง.สวสั ดิการและ

เพอ่ื ให้มเี ครือข่ายในการสอดส่องเฝาู ระวังเก่ียวกับการ คมุ้ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทยั

หลอกลวงไปค้ามนุษย์ด้านแรงงาน และการใชแ้ รงงาน

ทไ่ี ม่ถกู ต้องตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน

26. ให้คาปรึกษา ชแี้ จงแนะนา ตอบปญั หาเก่ียวกบั - สนง.สวสั ดิการและ

สิทธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน คมุ้ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทัย

27. บูรณาการรว่ มกับหน่วยงานภายใต้กระทรวง - สานักงานแรงงานจงั หวัด

แรงงาน ออกตรวจสอบสภาพ การจา้ งงาน สภาพการ สโุ ขทยั

ทางาน และตรวจสอบการทางาน คนต่างด้าวและ

นายจ้าง/สถานประกอบการตามแผนการตรวจแรงงาน

ปอู งกนั และแกไ้ ขปญั หาการค้ามนษุ ย์ด้านแรงงาน

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภูมิภาคและการจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ์)

22

ปี โครงการ หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ

28. โครงการเครือขา่ ยชุมชนร่วมรณรงคป์ ูองกนั การ - สนง.จดั หางาน จ.สโุ ขทยั

หลอกลวงและลักลอบไปทางานตา่ งประเทศ

29. โครงการเผยแพร่ความร้เู พอ่ื ปูองกันการหลอกลวง - สนง.จดั หางาน จ.สโุ ขทัย

คนหางาน

30. โครงการคุม้ ครองคนหางานเชงิ รุกในพ้ืนทเี่ ส่ยี ง - สนง.จดั หางาน จ.สโุ ขทยั

31. โครงการเตรยี มความพร้อมให้คนหางานเพื่อ - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทยั

ปอู งกันการ ตกเปน็ เหยือ่ การคา้ มนุษย์ด้านแรงงานใน

การไปทางานต่างประเทศ

32. โครงการปูองกันการคา้ มนษุ ย์ดา้ นแรงงานตา่ งดา้ ว - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทยั

33. การปฐมนิเทศเด็กและเยาวชนทก่ี ระทาผิดและอยู่ - สถานพินิจฯ จ.สโุ ขทยั

ในความคุ้มครองสิทธติ ามกฎหมาย

34. คดั กรองและจาแนกจัดทาแผนบาบัดแก้ไข เด็ก - สถานพินิจฯ จ.สโุ ขทยั

และเยาวชนทกุ คนได้รับการคัดกรองและจาแนกจดั ทา

แผนบาบดั แก้ไข

35. การอบรมให้ความรูด้ ้านการปูองกนั การกระทา - สถานพนิ ิจฯ จ.สโุ ขทัย

ความผดิ ของเดก็ และเยาวชนในสถานศึกษา

36. จัดประชมุ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา กาชบั ใหผ้ ูบ้ รหิ าร - สพป.สโุ ขทัย เขต 1

สถานศึกษาแจ้งครใู นสังกัด ร่วมกับเครือขา่ ย สอดส่อง

ดแู ลเดก็ นกั เรยี น และประสานงานกบั ผู้นาชุมชนช่วย

ดแู ลเดก็ นักเรยี นในพ้นื ที่ใหอ้ ยู่ในสภาวะปลอดภยั ไมต่ ก

เป็นเหยือ่ ผู้ค้ามนุษย์

37. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ร่วมกับครู ผู้บริหาร - สพป.สุโขทยั เขต 1

สถานศึกษา/เย่ยี มบ้านนักเรยี น เพื่อการปูองกนั และ

แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ในรูปแบบแรงงานและ

เสรมิ สร้างเครือขา่ ยเฝาู ระวงั การคา้ มนษุ ย์ทุกรปู แบบ

38. การแจ้งมาตรการปูองกันและแก้ไขปญั หาการคา้ มนษุ ย์ - สพป.สโุ ขทยั เขต 2

ใหแ้ กผ่ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทราบทกุ ครัง้ ทีม่ ีการประชมุ

39. โครงการคุ้มครองดแู ลและช่วยเหลอื เด็กนักเรียน - สพม. เขต 38 สุโขทัย

40. กจิ กรรมเขตเย่ยี มบ้านนักเรยี น - สพม. เขต 38 สโุ ขทัย

41. อบรมนักเรยี นแกนนาเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ติ - สพม. เขต 38 สุโขทัย

42. ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงานระบบดูแล - สพม. เขต 38 สโุ ขทัย

ชว่ ยเหลือนักเรยี น

43. ค้มุ ครองดูแลและชว่ ยเหลอื เด็กนักเรยี นทีป่ ระสบ - สพม. เขต 38 สโุ ขทยั

ปญั หาทางสังคม สรา้ ง/พัฒนาเครือข่ายในการใหค้ วาม

ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ระบบดูแลช่วยเหลอื

นกั เรียนในสถานศกึ ษา

รายงานสถานการณ์การคา้ มนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์)

23

ปี โครงการ หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบ

44. กจิ กรรมสายด่วนศนู ย์ประชาบดี 1300 และศูนย์ - บา้ นพกั เด็กฯ จ.สโุ ขทัย

ชว่ ยเหลอื สงั คมประชาชนทัว่ ไปในพื้นท่จี ังหวัดสุโขทัย

ที่ประสบปญั หาทางสังคม

45. กจิ กรรมรณรงค์ประชาสัมพนั ธ์เพื่อแก้ไขปัญหา - ศนู ยค์ ุม้ ครองคนไร้ที่พง่ึ

การขอทาน คนไร้ท่ีพ่ึง จดั ระเบยี บ 9 อาเภอ จังหวัดสโุ ขทยั

46. ประชาสมั พันธ์ให้ความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการค้า - ศูนยพ์ ัฒนาฝีมือแรงงาน

มนษุ ย์ก่อนฝึกอบรมอาชพี จงั หวดั สุโขทัย

47. จดั กิจกรรรมพฒั นาทักษะชีวติ ในการปัจฉิมนเิ ทศ - สนง.ส่งเสรมิ การศกึ ษา

นักศกึ ษาก่อนจบหลกั สูตร โดยให้ความรูด้ ้านการ นอกระบบและการศึกษา

ประกอบอาชีพ การทางานกบั ผู้วา่ จ้าง/ ผู้ประกอบการ ตามอธั ยาศัยจังหวดั สโุ ขทยั

ทเ่ี หมาะสม น่าไว้วางใจ และการระวังการ ถูกล่อลวง

จากผวู้ ่าจ้าง/ ผปู้ ระกอบการ

48. การตรวจสถานบริการ/สถานประกอบการ/ - สานักงานอุตสาหกรรม

โรงงาน/เรอื ประมง เพื่อปูองกันและปราบปรามการคา้ จงั หวดั สุโขทัย

มนษุ ย์ ประจาปี ๒๕๖๐ จานวน 19 แห่ง

49. โครงการเครือขา่ ยแจ้งข่าวการค้ามนษุ ย์ - มูลนธิ ิบ้านนกขมิน้ จ.สโุ ขทยั

50. โครงการอบรมกลมุ่ เยาวชนต่อตา้ นการค้ามนุษย์ - มลู นิธิบา้ นนกขมิ้น จ.สโุ ขทัย

51. การผลติ สอ่ื ประชาสมั พนั ธด์ ้านการปูองกันและ - ปคม.จ.สโุ ขทยั

ปราบปรามการค้ามนุษย์ทางหนงั สือพมิ พ์

2561 1. ออกตรวจสถานประกอบการ รา้ นคาราโอเกะ ร้าน - ปกครองจงั หวดั สโุ ขทัย

(จานวน 34 โครงการ) เกมส์ ในจงั หวดั สุโขทัย ทงั้ 9 อาเภอ

2. โครงการเครอื ขา่ ยชมุ ชนรณรงคป์ ูองกนั การ - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทัย

หลอกลวงและลกั ลอบไปทางานต่างประเทศ

3. โครงการเผยแพร่ความรู้เพื่อปูองกนั การหลอกลวง - สนง.จดั หางาน จ.สโุ ขทัย

คนหางานประชาชนทว่ั ไปและผ้สู นใจไปทางาน

ต่างประเทศ

4. โครงการคมุ้ ครองคนหางานเชิงรกุ พนื้ ที่เส่ียง - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทยั

5. โครงการเตรียมความพร้อมให้คนหางานเพ่ือการ - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทัย

ปูองกนั การตกเป็นเหย่ือการค้ามนษุ ย์ด้านแรงงานใน

การไปทางานตา่ งประเทศ

6. โครงการปูองกนั การคา้ มนุษย์ดา้ นแรงงานต่างดา้ ว - สนง.จดั หางาน จ.สโุ ขทยั

7. โครงการอบรมพัฒนาทักษะชีวติ และพัฒนาคุณภาพ - สานักงาน กศน.จ.สุโขทัย

ผ้เู รียน นกั ศึกษา

8. การสร้างการรบั ร้ใู ห้กับแรงงานหรอื สถาน - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทยั

ประกอบการ จดั ทาส่อื ประชาสมั พนั ธส์ ร้างการรับรู้

เกีย่ วกบั การคา้ มนุษย์ และรณรงค์ประชาสมั พันธ์ผ่าน

ช่องทางตา่ งๆ

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอตุ รดติ ถ)์

24

ปี โครงการ หนว่ ยงานที่รับผิดชอบ

9. ดาเนนิ การเพ่ิม / ขยายเครือข่ายในกลุ่มอาสาสมัคร - สนง.จัดหางาน จ.สโุ ขทยั

แรงงาน เพื่อสร้างช่องทางการแจ้งเบาะแสท่ีเก่ียวข้องกบั

กระบวนการคา้ มนุษยด์ า้ นแรงงาน ผ่านช่องทาง LINE

10. สร้างและพฒั นาเครอื ข่ายการคุ้มครองแรงงาน - สนง.สวสั ดิการและ

นอกระบบ ผูน้ าชุมชนในตาบลทุ่งหลวงอาเภอคีรีมาศ คุม้ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทยั

11. การรณรงคเ์ ผยแพร่ความรู้ใหแ้ ก่แรงงานนอก - สนง.สวสั ดิการและ

ระบบและผทู้ ่ีเก่ียวข้อง คุ้มครองแรงงาน จ.สโุ ขทยั

12. การรณรงค์เผยแพร่ความรเู้ ร่ืองการใช้แรงงานเด็ก - สนง.สวสั ดกิ ารและ

13. ให้คาปรกึ ษา ชีแ้ จง แนะนา ตอบปญั หาเกีย่ วกบั คมุ้ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทยั

สทิ ธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

14. ตรวจแรงงานในระบบ สถานประกอบกจิ การทม่ี ี - สนง.สวสั ดิการและ

การจ้างลูกจา้ งต้ังแต่ 1 คน ขึ้นไป จานวน 245 แห่ง คุ้มครองแรงงาน จ.สโุ ขทยั

ลกู จา้ ง 2,900 คน

15. รับและพจิ าณาวนิ ิจฉยั คารอ้ งลกู จา้ งทไ่ี ม่ได้รบั สิทธิ - สนง.สวสั ดิการและ

ตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน คมุ้ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทัย

16. ตรวจแรงงานนอกระบบ แรงงานภาคเกษตรและ - สนง.สวสั ดกิ ารและ

กลุ่มผรู้ ับงานไปทาที่บ้าน จานวน 500 คน คมุ้ ครองแรงงาน จ.สุโขทัย

17. ประชาสมั พนั ธ์ใหค้ วามรู้ผเู้ ข้ารับการอบรมให้ - สนง.พฒั นาฝมี ือแรงงาน

ตระหนัก มีความเขา้ ใจการค้ามนุษย์ / ใหค้ วามรูด้ ้าน สโุ ขทยั

การคา้ มนุษยก์ ่อนการฝกึ อบรมอาชีพในพน้ื ทีจ่ .สุโขทยั

18. การจัดระเบยี บและรณรงคส์ ร้างความรู้ความ - ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ท่ีพ่งึ

เขา้ ใจการใหท้ านถูกวิธบี ดวถิ ีการขอทานให้แก่ จังหวดั สโุ ขทยั

ประชาชน / พ่อคา้ แม่คา้ / ภาคเี ครอื ขา่ ย

19. โครงการค่ายเสริมสร้างศักยภาพผู้นาเด็กการจดั - บา้ นพกั เด็กฯ จ.สโุ ขทยั

ประชมุ และคัดเลือกคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชน

20. โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเสริมสร้างความรู้ - บ้านพักเด็กฯ จ.สุโขทัย

การขับเคล่ือนการดาเนนิ งานของสภาเดก็ และเยาวชน

ประจาปี 2561 (ครู ข) จังหวัดสโุ ขทัย

21. โครงการฝกึ อบรมหลักสูตรการอบรมเล้ียงดูเดก็ - บ้านพกั เด็กฯ จ.สุโขทยั

โดยไม่ใชค้ วามรุนแรงสาหรบั พอ่ แมผ่ ู้ปกครอง

22. โครงการเสรมิ สรา้ งเครือข่ายคุ้มครองเด็กระดบั ตาบล - บา้ นพกั เด็กฯ จ.สุโขทยั

23. กจิ กรรมสร้างความตระหนักถงึ ปญั หาการค้า - สถานพนิ ิจฯ จ.สโุ ขทยั

มนุษย์ให้แก่เจ้าหนา้ ที่ในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง

24. กจิ กรรมการสอบถามหรือให้ปากคาด้านคดีเด็ก / - สถานพินจิ ฯ จ.สุโขทัย

เยาวชนในชั้นสถานพนิ จิ ฯ จานวน 204 คน มกี ารให้

ปากคาในช้ันสถานพนิ ิจฯ เม่ือมเี ดก็ / เยาวชนเป็น

ผเู้ สียหายเกยี่ วกบั การค้ามนษุ ย์

รายงานสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์

25

ปี โครงการ หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ

25. สง่ ข้อมูลการค้ามนุษยใ์ ห้หน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง - สถานพินิจฯ จ.สุโขทัย

เพอ่ื ประโยชนก์ ารปอู งกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์

26. โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและ - สพป.สุโขทัย เขต 1

อบายมุข

27. คา่ ยทกั ษะชวี ิต พลงั เด็กไทยหยดุ ยง้ั ภยั ยาเสพตดิ - สพป.สโุ ขทยั เขต 1

28. โครงการ To Be Number One - สพป.สุโขทยั เขต 1

29. การประชมุ ให้ความรู้และเฝูาระวังการปูองกันและ - สพป.สโุ ขทยั เขต 2

ปราบปรามการค้ามนุษย์ ในพ้ืนทก่ี ารศึกษา

ประถมศึกษาเขต 2

30. ตรวจสถานบรกิ ารในพน้ื ทจ่ี ังหวัดสโุ ขทยั เพ่ือ - ตารวจภูธรจงั หวัดสุโขทยั

ปอู งกันการค้าประเวณี

31 โครงการจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเผยแพร่ความรู้ - สนง.พมจ.สุโขทัย

สร้างความเข้าใจพระราชบญั ญัติปอู งกันและ

ปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2551 และท่ีแก้ไข

เพม่ิ เติมแกผ่ ้ปู ฏิบตั งิ านและสหวิชาชีพระดับตาบล

32. อบรมเครือขา่ ยแกนนาและสร้างการมสี ่วนรว่ ม - สนง.พมจ.สโุ ขทัย

จากสภาเดก็ และเยาวชนในการปอู งกนั และ

ปราบปรามการคา้ มนุษย์

33. โครงการอบรมเพื่อเสรมิ สร้างประสิทธิภาพทีมสห - สนง.พมจ.สุโขทัย

วชิ าชีพ ทีมบังคับใชก้ ฎหมายและเด็ก/เยาวชนในการ

ปอู งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ งั หวัดสโุ ขทยั

34. โครงการอบรมวทิ ยากรกระบวนการในการ - สนง.พมจ.สโุ ขทยั

ปอู งกนั และแกไ้ ขปญั หาการค้ามนุษย์

2562 1. โครงการปอู งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ - ทีท่ าการปกครองจงั หวัด

(จานวน 47 โครงการ) จังหวัดสโุ ขทัย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สุโขทยั

2. การดาเนนิ งานออกตรวจสถานบริการคลา้ ยสถาน - ทท่ี าการปกครองจงั หวดั

บริการรา้ นคาราโอเกะ โรงแรมรีสอร์ท หอพัก รา้ น สโุ ขทยั

เกมส/์ อินเตอร์เนต็ ในพ้ืนทีเ่ ดือนละ 2 คร้ัง

3. โครงการออกตรวจสถานบริการ ผลการดาเนินงาน - ตารวจภูธรจงั หวัดสโุ ขทัย

ตรวจสถานบรกิ าร จานวน 10 แหง่ และลักษณะคล้าย

สถานบรกิ าร จานวน 51 แหง่

4. โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการการพัฒนาศักยภาพ - สานกั งานสาธารณสขุ

ของผนู้ าในการปูองกันและแก้ไขปญั หาความรนุ แรงใน จงั หวัดสโุ ขทยั

เด็ก สตรี บุคคลในครอบครวั และผตู้ ง้ั ครรภไ์ ม่พร้อม

ผนู้ าชุมชน กานัน ผ้ใู หญบ่ า้ น อสม.และเจา้ หนา้ ท่ีที่

เกยี่ วขอ้ ง

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภูมิภาคและการจัดระดับสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ)์

26

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคัญ หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ

5. ประชุมเจา้ หน้าทีผ่ ูป้ ฏบิ ตั งิ านและผูท้ ี่มสี ว่ นเกย่ี วข้อง - สานกั งานสาธารณสุข

ในการให้บรกิ ารเพ่ือพฒั นาและทบทวนแนวทางปฏิบัติ จังหวดั สโุ ขทัย

ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัตแิ ละ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ กรณีศึกษา

6. โครงการพัฒนาศักยภาพและแนวทางปฏิบตั กิ าร - สานกั งานสาธารณสขุ

ให้บริการเกิดการแลกเปลยี่ น เรยี นรู้ รว่ มดแู ลช่วยเหลอื จังหวดั สุโขทัย

และปอู งกนั ความรุนแรงที่เกดิ ขนึ้ ในสถานศึกษา

7. โครงการปูองกันและแก้ไขปญั หาความรุนแรงในเด็ก - สานกั งานสาธารณสขุ

และสตรแี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ “บทบาทของวยั รนุ่ ต่อ จงั หวดั สุโขทัย

ปญั หาความรนุ แรงในเด็กและสตรีและบุคคลใน

ครอบครวั ปี 2562”

8. โครงการปูองกันและแก้ไขปญั หาถกู กระทาความ - สานักงานสาธารณสุข

รนุ แรงและตง้ั ครรภใ์ นวยั รุ่นวัยรุ่น จังหวัดสโุ ขทัย

9. โครงการปอู งกนั และแก้ไขปญั หาความรนุ แรงในเดก็ - สานักงานสาธารณสขุ

และสตรี ให้กบั ผู้นาชุมชมกานนั ผู้ใหญบ่ ้าน อสม. และ จงั หวดั สุโขทัย

เจ้าหน้าที่เกย่ี วข้อง

10. ออกตรวจรา้ นคาราโอเกะ ซง่ึ เน้นการตรวจและเฝูา - สานกั งานวฒั นธรรม

ระวงั ไม่ให้เกิดแรงงานต่างดา้ วเขา้ มาทางานโดยไม่ถกู จงั หวดั สุโขทัย

กฎหมาย เพ่ือไม่ให้เกิดการแอบแฝงขายบรกิ ารทางเพศ

ในรา้ นประกอบการ

11. ร่วมตรวจบูรณาการปูองกันและปราบปรามการค้า - สนง.แรงงาน จ.สุโขทัย

มนษุ ย์แรงงานในสถานประกอบการ จานวน 33 แห่ง

12. โครงการเครือข่ายชุมชนรณรงคป์ ูองกนั การ - สนง.แรงงาน จ.สุโขทยั

หลอกลวง และลักลอบไปทางานต่างประเทศ

13. โครงการเผยแพร่ความรเู้ พอื่ การปูองกนั การ - สนง.แรงงาน จ.สุโขทยั

หลอกลวงคนหางาน ประชาชนทว่ั ไปและผู้สนใจไป

ทางานต่างประเทศ

14. โครงการคุม้ ครองเชงิ รกุ ในพ้นื ทีเ่ ส่ยี ง - สนง.แรงงาน จ.สุโขทัย

15. โครงการเตรยี มความพร้อมให้หางานเพื่อปูองกนั - สนง.แรงงาน จ.สุโขทยั

การตกเป็นเหย่ือการคา้ มนุษย์ดา้ นแรงงานในการไป

ทางานต่างประเทศ

16. โครงการปอู งกนั การค้ามนุษยด์ ้านแรงงานตา่ งด้าว - สนง.แรงงาน จ.สุโขทยั

17. โครงการตรวจสอบการทางานของคนต่างด้าว - สนง.แรงงาน จ.สุโขทัย

และสถานประกอบการ

18. โครงการสรา้ งและพัฒนาเครือข่ายการคุ้มครอง - สนง.สวสั ดกิ ารและ

แรงงานนอกระบบตามแนวทางประชารัฐ คมุ้ ครองแรงงาน จ.สุโขทัย

19. โครงการสง่ เสริมความรูเ้ พ่ือเตรยี มความพร้อมเดก็ - สนง.สวสั ดิการและ

ก่อนเข้าสู่ ตลาดแรงงาน คุม้ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทัย

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การค้ามนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ์)

27

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบ

20. การรณรงค์เผยแพรค่ วามรู้ให้แก่แรงงานนอก - สนง.สวสั ดิการและ

ระบบและผ้ทู ่ีเกย่ี วข้อง คุ้มครองแรงงาน จ.สุโขทัย

21. ให้คาปรึกษา ชีแ้ จง แนะนา ตอบปญั หาเกี่ยวกบั - สนง.สวสั ดกิ ารและ

สทิ ธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ค้มุ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทัย

22. ตรวจแรงงานในระบบ สถานกิจการท่ีมีการจ้าง - สนง.สวสั ดิการและ

ลูกจา้ งตัง้ แต่ 1 คนขนึ้ ไป ในสถานประกอบการ ค้มุ ครองแรงงาน จ.สโุ ขทัย

23. ตรวจสถานประกอบกิจการท่ีเสย่ี งต่อการใช้ - สนง.สวสั ดกิ ารและ

แรงงานเด็ก จานวน 10 แห่ง ลกู จ้าง 100 คน คุ้มครองแรงงาน จ.สโุ ขทัย

24. รับและพิจารณาวนิ จิ ฉัยคาร้อง ลูกจ้างท่ไี ม่ไดร้ บั - สนง.สวสั ดกิ ารและ

สิทธกิ ฎหมายคุ้มครองแรงงาน คุ้มครองแรงงาน จ.สโุ ขทยั

25. ตรวจแรงงานนอกระบบ ภาคเกษตรและกลุ่มผรู้ บั - สนง.สวสั ดกิ ารและ

งานไปทาท่ีบา้ น คมุ้ ครองแรงงาน จ.สุโขทยั

26. ต้ังศูนย์เสมารักษ์ โครงการอบรมเจา้ หนา้ ที่ - สนง.ศกึ ษาธิการ จ.สุโขทัย

สารวตั รนกั เรยี น มกี ลุ่มเปูาหมายจานวน 200 คน ซ่งึ

เปน็ การ บูรณาการร่วมกับ เจา้ หนา้ ทีต่ ารวจจังหวัด

สโุ ขทยั และเจา้ หน้าทีฝ่ าุ ยปกครองจงั หวดั สโุ ขทัย

27. กิจกรรมสง่ เสรมิ และสนับสนุนใหส้ ถานประกอบ - สนง.พฒั นาฝมี ือแรงงาน

กจิ การดาเนินการพฒั นาฝีมือแรงงาน จงั หวัดสโุ ขทัย

28. โครงการยกระดับแรงงานไทยให้ไดม้ าตรฐานฝมี ือ - สนง.พฒั นาฝมี อื แรงงาน

แรงงานเพ่ือรองรับการแขง่ ขัน จังหวัดสุโขทัย

29. โครงการเพิ่มศักยภาพแรงงานรองรับThailand - สนง.พัฒนาฝีมือแรงงาน

4.0 โดยเนน้ กิจกรรมเพิ่ม ศักยภาพแรงงานเตรียมเข้าสู่ จังหวัดสุโขทยั

อตุ สาหกรรมเปูาหมายแหง่ อนาคต และกจิ กรรมการ

พัฒนาภาษาตา่ งประเทศใหแ้ กผ่ ้ลู งทะเบยี นไปทางาน

ตา่ งประเทศรองรบั นโยบายรัฐบาล

30. โครงการฝกึ อบรมแรงงานกล่มุ เปูาหมายเฉพาะให้ - สนง.พฒั นาฝีมือแรงงาน

มีทักษะการ ประกอบอาชีพ ไดแ้ ก่ ผปู้ ระสบภัย จังหวดั สโุ ขทัย

ธรรมชาติ ผตู้ ้องขัง/เยาวชนในสถานพินจิ คนพิการ/

ผดู้ ูแลคนพกิ าร แรงงานนอกระบบ และผูม้ ีรายได้น้อย

31. โครงการฝกึ อบรมแรงงานผสู้ ูงอายใุ ห้มที ักษะใน - สนง.พัฒนาฝมี อื แรงงาน

การประกอบอาชพี จังหวดั สโุ ขทยั

32. โครงการควบคุม และกากับดแู ลประกอบอาชีพ - สนง.พัฒนาฝมี อื แรงงาน

Safety At Work ผู้รบั รองความร้คู วามสามารถ จงั หวดั สโุ ขทยั

33. จัดโครงการเพ่ิมผลติ ภาพแรงงานสู่ SME 4.0 - สนง.พฒั นาฝมี ือแรงงาน

จังหวัดสุโขทยั

34. ให้ความรูเ้ รื่องพระราชบัญญัตปิ อู งกันและ - สถานพนิ จิ ฯ จ.สโุ ขทัย

ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจัดระดบั สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอุตรดิตถ์)

28

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคัญ หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ

35. จดั อบรมให้ความรแู้ ก่กลุ่มเปาู หมายเปน็ ประชาชน - สนง.กศน.จ.สุโขทยั

และนกั ศึกษานอกระบบทุกอาเภอ

36 .ดาเนินการตรวจการลกั ลอบนาเขา้ แรงงานต่างดา้ ว - ตรวจคนเขา้ เมอื งจังหวดั

ซง่ึ ดาเนนิ การปูองกนั และออกตรวจ ร่วมกับสานกั งาน สโุ ขทยั

จัดหางานจงั หวัดสุโขทัย ในสถานประกอบกิจการ

37. ร่วมตรวจบรู ณาการกับส่วนราชการใน จ.สุโขทยั - ตรวจคนเขา้ เมือง จ.สโุ ขทัย

38. จดั ตั้งดา่ นตรวจ จดุ สกดั บริเวณเขตอาเภอบา้ นดา่ น - ตรวจคนเขา้ เมอื ง จ.สุโขทัย

ลานหอย/เขตพื้นทเ่ี สี่ยงดา่ นแมส่ า สัปดาหล์ ะ 2 คร้ัง

39. ดาเนนิ การจัดรณรงค์สรา้ งความรู้ความเข้าใจ - ศูนย์คมุ้ ครองคนไรท้ ี่พงึ่

เกยี่ วกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพระราชบญั ญัติ จงั หวัดสุโขทัย

ขอทาน พ.ศ.2559 ในพนื้ เส่ียงในจงั หวดั สโุ ขทยั

40. จดั กจิ กรรมผลิตสอ่ื ในการปอู งกันและแก้ไขปัญหา - บา้ นพกั เด็กและความ

การตงั้ ครรภ์ในวัยรุน่ และร่วมรณรงค์ให้ความรู้เก่ยี วกบั ครอบครวั จังหวดั สโุ ขทยั

พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ.2546 และ

พระราชบญั ญัติปอู งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์

พ.ศ.2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

41. จัดกจิ กรรมถนนเด็กเดนิ เพ่อื รณรงค์ปูองกันและ - บา้ นพกั เด็กและความ

แกไ้ ขปญั หาการคา้ มนุษย์ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ครอบครัวจงั หวัดสโุ ขทัย

42. โครงการเสริมสรา้ งเครือข่ายค้มุ ครองเด็กในระดบั - บ้านพักเด็กและความ

ตาบล จานวน 75 คน จานวน 4 ตาบล ครอบครวั จงั หวัดสโุ ขทัย

43. จัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเผยแพร่ความรู้สรา้ งความ - สนง.พมจ.สโุ ขทยั

เขา้ ใจพระราชบัญญตั ปิ ูองกนั และปราบปรามการค้า

มนษุ ย์ พ.ศ.2551 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม จานวน 2 รุน่

44. จัดกจิ กรรมขับเคล่ือนบนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ - สนง.พมจ.สุโขทยั

(MOU) วา่ ด้วยแนวทางการปฏิบตั ริ ว่ มกันเพ่ือการปูองกนั

และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ตามพระราชบญั ญัติ

ปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ.2551 และท่ี

แก้ไขเพม่ิ เติม และการอบรมใหค้ วามรู้แกท่ ีมสหวิชาชีพ

45. โครงการสนบั สนุนสภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั เพื่อ - สนง.พมจ.สุโขทยั

ต่อต้านการคา้ มนุษย์ในกล่มุ เด็กและเยาวชนระดับพื้นท่ี

46.อบรมให้ความรูแ้ ก่ทีมสหวิชาชีพใหส้ ามารถ - สนง.พมจ.สุโขทยั

ปฏบิ ัติงานเชงิ รุกในระดบั พนื้ ทีต่ ามภารกจิ ใหบ้ รรลุตาม

วตั ถุประสงค์ สามารถปฏบิ ตั ิงานเชิงรกุ ในระดับพื้นที่

ตามภารกิจได้

47. การรณรงคว์ ันต่อตา้ นการค้ามนุษย์ - สนง.พมจ.สุโขทัย

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจดั ระดับสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอตุ รดติ ถ์)

29

ปี โครงการ/กจิ กรรมสาคัญ หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ

จังหวดั อตุ รดิตถ์ 1. โครงการเสรมิ สร้างภูมคิ ุ้มกันเด็กและเยาวชนเพ่อื น - พมจ.อตุ รดิตถ์
2560
รณรงคต์ ่อต้านการค้ามนุษยก์ ารปูองกนั และแก้ไขปญั หา
(จานวน 32 โครงการ)

ยาเสพตดิ โรคเอดส์ และอนามยั เจริญพนั ธ์ุ ปี 2560

2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทมี สหวชิ าชีพเพ่ือการ - พมจ.อตุ รดิตถ์

ปอู งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยแ์ ละ ทักษะการ

ดาเนินงานตามกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การจัดระเบยี บ

สังคมแบบบรู ณาการจังหวดั อุตรดิตถ์ ประจาปี 2560

3. โครงการอบรมเผยแพรค่ วามรู้ พ.ร.บ.ปูองกนั และ - พมจ.อตุ รดิตถ์

ปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ.2551 และฉบับเพ่ิมเตมิ

จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ประจาปี 2560

4. โครงการอบรมวทิ ยากรและการจัดทาแผนปฏิบัติ - พมจ.อตุ รดิตถ์

การปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์จงั หวดั

อุตรดิตถ์ ประจาปี 2560

5. ครงการฝึกอบรมจัดต้งั /ทบทวนหมบู่ ้านอาสาพัฒนา - กอ.รมน.จงั หวัดอุตรดติ ถ์

และปอู งกนั ตนเอง

6. โครงการปฏิบัตกิ ารขา่ วสารเพือ่ ความมัน่ คง - กอ.รมน.จงั หวดั อตุ รดิตถ์

7. โครงการกองหนุนแหง่ ชาติเพอ่ื แก้ไขปญั หาความ - กอ.รมน.จงั หวัดอตุ รดติ ถ์

มั่นคงของชาติ

8. การปฏบิ ัติงานตามแผนการขบั เคลื่อนงานดา้ นมวลชน - กอ.รมน.จังหวัดอุตรดติ ถ์

9. โครงการคนไทยหวั ใจเดยี วกัน - กอ.รมน.จงั หวัดอุตรดติ ถ์

10. โครงการคุม้ ครองคนหางานเชิงรกุ ในพื้นท่เี สีย่ ง -สนง.จัดหางานจ.อตุ รดติ ถ์

11. โครงการเครือข่ายชุมชนร่วมรณรงค์ปูองกนั การ -สนง.จดั หางานจ.อุตรดิตถ์

หลอกลวงและลกั ลอบไปทางานต่างประเทศ

12. โครงการเผยแพร่ความรูเ้ พื่อปูองกนั การหลอกลวง -สนง.จดั หางานจ.อตุ รดติ ถ์

คนหางาน

13. โครงการตรวจสอบการทางานของคนต่างด้าวและ -สนง.จัดหางานจ.อุตรดติ ถ์

สถานประกอบการ

14. โครงการปูองกันการค้ามนษุ ยแ์ รงงานตา่ งดา้ ว -สนง.จัดหางานจ.อตุ รดติ ถ์

15. โครงการเตรียมความพร้อมใหค้ นหางานเพื่อ -สนง.จัดหางานจ.อตุ รดิตถ์

ปอู งกนั การตกเปน็ เหยือ่ การค้ามนุษยด์ า้ นแรงงานใน

การไปทางานตา่ งประเทศ

16.ตรวจสถานประกอบกิจการทีเ่ สี่ยงต่อการใช้ - สานักงานสวสั ดกิ ารและ

แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ แรงงานขัดหน้ี และการค้า คุม้ ครองแรงงานจังหวัด

มนษุ ยด์ ้านแรงงาน ในกจิ การประเภทการผลิตสนิ ค้า อตุ รดิตถ์

จากอ้อย กจิ การผลิตเครื่องนุ่งห่ม กุง้ ปลา ฟาร์ม เลี้ยง

สัตวป์ กี ฟารม์ หมู และกจิ การก่อสรา้ ง จานวน 6 แหง่

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์รายภมู ภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดิตถ)์

30

ปี โครงการ/กิจกรรมสาคญั หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ

17. สง่ เสริมความร้เู ร่ือง การปูองกันและแกไ้ ขปัญหา - สานักงานสวสั ดิการและ

การใชแ้ รงงานเด็ก แรงงานบงั คบั และการคา้ มนุษย์ คุม้ ครองแรงงานจังหวัด

ด้านแรงงานในภาคเกษตรกรรม กิจกรรมไร่อ้อย โดย อุตรดติ ถ์

วิธีการบรรยายใหค้ วามรู้

18. สง่ เสริมความรูเ้ รอื่ งการใชแ้ นวปฏบิ ตั ทิ ่ีดีสาหรบั - สานกั งานสวสั ดกิ ารและ

กิจการประเภทฟาร์มไกแ่ ละสถานที่ฟักไข่ สัตว์ปีก คมุ้ ครองแรงงานจงั หวัด

Good Labour Practices (GLP) อุตรดติ ถ์

19. กจิ กรรมเดนิ รณรงคส์ ่งเสริมและปูองกนั การใช้ - สานกั งานสวัสดกิ ารและ

แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ และการคา้ มนุษยด์ ้าน คุ้มครองแรงงานจงั หวดั

แรงงาน ในวนั แรงงานแห่งชาติ ประจาปี พ.ศ.2560 อตุ รดิตถ์

20. เสริมสร้างศกั ยภาพเครอื ขา่ ยอาสาสมัครแรงงาน - สานักงานแรงงานจังหวดั

เพื่อเสรมิ สรา้ งศักยภาพอาสาสมคั รแรงงานและ อุตรดติ ถ์

เครอื ข่ายอาสาสมัครแรงงาน

21. ประชาสมั พันธส์ รา้ งเครือข่ายผ้นู าในพ้นื ที่ สรา้ งการ - สานักงานแรงงานจงั หวดั

รบั รูแ้ นวทางการปูองกนั ปญั หาการค้ามนุษยด์ า้ น อุตรดิตถ์

แรงงานในการประชมุ ประจาเดอื นของอาเภอทุกแหง่

22. แจกส่อื ประชาสมั พนั ธ์สร้างการรับรู้การปูองกัน - สานักงานแรงงานจงั หวดั

การคา้ มนุษย์ดา้ นแรงงาน แก่ประชาชนที่มารบั บริการ อุตรดิตถ์

จากหน่วยงานสงั กัดกระทรวงแรงงานในการออกให้

หน่วยบริการรว่ มกับหนว่ ยบาบัดทุกข์ บารุงสุข สรา้ ง

รอยย้มิ ให้กบั ประชาชนจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ จานวน 12 คร้ัง

23. จัดการเรียนการสอนเพศศึกษาในช้นั เรยี นและ - สพม. เขต 39 (จงั หวดั

เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตเพื่อปูองกนั พฤติกรรมไม่พึง อุตรดติ ถ์)

ประสงคข์ องนักเรียนด้านปญั หาพฤติกรรมทางเพศ/

ปัญหาการคา้ ประเวณี ในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา

24. จดั ค่ายทกั ษะชวี ติ “ทาดีเพ่ือพอ่ ด้วยพลงั เด็กและ - สพม. เขต 39 (จงั หวัด

เยาวชน” (กลุ่มเส่ียงดา้ นเพศ/การใชส้ ารเสพติด) อุตรดติ ถ์)

25. โครงการฝกึ อบรมพนักงานเจ้าหน้าท่สี ่งเสรมิ ความ - สพป.อตุ รดติ ถ์ เขต 1

ประพฤตนิ กั เรียนและนกั ศึกษา ประจาปี 2560

26. โครงการจดั คา่ ยเสริมสรา้ งทักษะชีวติ นกั เรยี น - สพป.อุตรดติ ถ์ เขต 1

ประจาปี 2560

27. จดั อบรมให้กับบุคลากรผู้รบั ผิดชอบงานระบบดูแล - สพป.อุตรดติ ถ์ เขต 1

ชว่ ยเหลอื นกั เรียน ปีงบประมาณ 2560

28. โครงการเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งการบรหิ าร - สพป.อุตรดติ ถ์ เขต 1

จดั การระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี นของสถานศึกษา

ปีงบประมาณ 2560

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภมู ิภาคและการจัดระดับสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทยั และอุตรดิตถ์)

31

ปี โครงการ/กจิ กรรมสาคัญ หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ

2561 29. โครงการสง่ เสริมและพัฒนาระบบชว่ ยเหลอื - สพป.อตุ รดติ ถ์ เขต 2
(จานวน 7 โครงการ)
นักเรยี น เพ่ือเสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ทางสังคม
2562
(จานวน 5 โครงการ) 30. โครงการสถานีสวัสดิการ เพ่ือใหป้ ระชาชนผู้ประสบ - ศนู ยค์ ุ้มครองฯ จ.อตุ รดิตถ์

ปญั หาในชมุ ชนไดร้ ับการชว่ ยเหลือตามความตอ้ งการ

31. โครงการจัดระเบียบและพัฒนาศักยภาพคนขอทาน - ศนู ย์คุ้มครองฯ จ.อุตรดติ ถ์

คนไรท้ ่ีพ่งึ ผู้อยใู่ นภาวะยากลาบาก ผู้ดอ้ ยโอกาส

32. โครงการสรา้ งภมู ิคุ้มกันการถกู ลอ่ ลวงแก่กลุ่มเส่ียง - ศนู ยค์ ุม้ ครองฯ จ.อตุ รดติ ถ์

1. โครงการ “อบรมเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ปูองกนั และ - พมจ.อตุ รดิตถ์

ปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2551 และฉบบั เพ่มิ เติม

จังหวัดอุตรดติ ถ์ ประจาปี 2561” จานวน 3 รุ่น

2. โครงการ “อบรมวทิ ยากรเพอ่ื การปูองกันและแกไ้ ข

ปัญหาการค้ามนษุ ย์จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ประจาปี 2561”

3. โครงการ “อบรมใหค้ วามรู้แก่เดก็ และเยาวชน เพ่ือ

รณรงคต์ ่อตา้ นการคา้ มนุษยแ์ ละปอู งกนั การถกู ล่อลวง

จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ประจาปี 2561”

4. ดาเนินกิจกรรมประชาสมั พนั ธ์รณรงคต์ ่อต้านการ

คา้ มนุษย์ในพน้ื ที่จังหวัดอตุ รดิตถ์รวม 9 อาเภอ

5. โครงการ “อบรมเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ปอู งกนั และ

ปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2551 และฉบบั

เพม่ิ เติม จังหวัดอุตรดติ ถ์ ประจาปี 2561”

6. โครงการอบรมจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารเพื่อการปูองกนั

และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์จังหวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562

7. โครงการอบรมวิทยากรเพื่อการปูองกนั และแก้ไข

ปญั หาการค้ามนษุ ย์ จังหวดั อุตรดติ ถ์ ประจาปี 2561

1. โครงการอบรมเผยแพร่ความรตู้ าม พ.ร.บ. ปอู งกนั - พมจ.อุตรดติ ถ์

และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. 2551 จานวน 2 รนุ่

2. โครงการสนับสนนุ สภาเด็กและเยาวชนจงั หวัด เพ่ือ

ตอ่ ตา้ นการค้ามนุษย์ในกลุม่ เดก็ และเยาวชน

3. โครงการอบรมให้ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การคา้

มนุษย์ และวธิ ีการปูองกันตนเองให้ปลอดภัยจากการคา้

มนษุ ยจ์ ังหวดั อุตรดิตถ์ ประจาปี 2562

4. โครงการประชมุ ทบทวนแผนปฏบิ ัตกิ ารปอู งกนั และ

ปราบปรามการคา้ มนุษย์ และจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ

ปอู งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวดั อุตรดิตถ์

5. โครงการอบรมเสริมสร้างพลงั เครอื ข่ายเดก็ และ

เยาวชนเพอ่ื การปูองกนั ปญั หาการคา้ มนษุ ย์ จงั หวัด

อตุ รดิตถ์ ประจาปี 2562

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์)

32

P5 Partnership ดา้ นการพฒั นาความรว่ มมือกบั ภาคีเครอื ข่าย

จงั หวัดตาก

ปี โครงการ/กจิ กรรมสาคญั หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ

2560 1. การประชุมทวภิ าคีไทย–เมยี นมา (ตาก – เมยี วด)ี สร้าง - ปคม.จ.ตาก

(จานวน 1 โครงการ) ความรว่ มมอื ระดบั ทวิภาคีกบั ประเทศเพื่อนบา้ น - ศูนยป์ ระสานงานชายแดน

เพอ่ื การต่อตา้ นการคา้

มนุษย์ไทย – เมียนมา

2561 1. การประชุมทวิภาคีไทย–เมยี นมา (ตาก – เมยี วดี) สร้าง - ปคม.จ.ตาก

(จานวน 2 โครงการ) ความรว่ มมอื ระดบั ทวิภาคีกับประเทศเพ่ือนบา้ น - ศนู ยป์ ระสานงานชายแดน

เพอ่ื การต่อตา้ นการคา้

มนุษย์ไทย – เมยี นมา

2. การบูรณาการงบประมาณกับองคก์ รภาคเอกชนเพ่ือ - พมจ.ตาก

ขจดั ปัญหาการคา้ มนุษย์ในทุกรูปแบบ

2562 1. การประชมุ ทวิภาคีไทย–เมียนมา (ตาก – เมยี วดี) สร้าง - ปคม.จ.ตาก

(จานวน 3 โครงการ) ความร่วมมือระดับทวภิ าคกี บั ประเทศเพ่ือนบ้าน - ศูนยป์ ระสานงานชายแดน

จานวน 2 คร้งั เพอ่ื การต่อต้านการคา้

มนษุ ยไ์ ทย – เมียนมา

2. โครงการประชุมทบทวนแผนปฏิบัติการปูองกันและ - พมจ.ตาก

ปราบปรามการค้ามนุษย์ ประจาปี 2562 และจัดทาแผน

กองทุนเพื่อการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์

ประจาปี 2562

3. การบูรณาการงบประมาณกับองค์กรภาคเอกชนเพ่ือ - พมจ.ตาก

ขจัดปญั หาการค้ามนษุ ย์ในทุกรปู แบบ

จังหวดั พิษณุโลก

2560 1. การสง่ เสรมิ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครฐั - ปคม.จ.พิษณโุ ลก

(จานวน 1 โครงการ) ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ตลอดจนอาสาสมัคร ใน

การปอู งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์

2561 1. การส่งเสรมิ ความรว่ มมือระหว่างหน่วยงานภาครฐั - ปคม.จ.พิษณโุ ลก

(จานวน 1 โครงการ) ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ตลอดจนอาสาสมัคร ใน

การปูองกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

2562 1. ส่งเสรมิ ความร่วมมือระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐ - ปคม.จ.พษิ ณโุ ลก

(จานวน โครงการ) ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ตลอดจนอาสาสมัครในการ

ปูองกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ “ประชารฐั รว่ มใจ

ตา้ นภยั คา้ มนุษย์”

จงั หวัดเพชรบรู ณ์

2560 1. การบูรณาการออกตรวจสถานบริการ ผู้ประกอบการ - ปคม.จ.เพชรบูรณ์

(จานวน 1 โครงการ) ร้านค้า เพ่ือปูองกันไมใ่ ห้เกดิ ความผิดเกยี่ วข้องกบั การ

คา้ มนษุ ย์

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายภูมิภาคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย และอุตรดิตถ์)

33

ปี โครงการ หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ

2561 1. การบรู ณาการออกตรวจสถานบรกิ าร ผ้ปู ระกอบการ - ปคม.จ.เพชรบูรณ์

(จานวน 1 โครงการ) ร้านค้า เพ่ือปอู งกันไม่ให้เกิดความผิดเก่ียวขอ้ งกบั การ

ค้ามนุษย์

2562 1. โครงการพิธลี งนามบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) - ปคม.จ.เพชรบูรณ์

(จานวน 1 โครงการ) การปูองกนั และปราบปรามการค้ามนุษยจ์ งั หวดั เพชรบูรณ์

และการเผยแพร่ความรู้ พรบ.ปูองกันและปราบปราม

การค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และฉบบั แก้ไขเพม่ิ เติม

จงั หวดั สโุ ขทยั

2560 1. การประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน - ปคม.จ.สุโขทัย

(จานวน 2 โครงการ) ประชาชนทั่วไป ร่วมรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ปูองกนั การค้ามนษุ ยใ์ นพื้นท่จี ังหวัดสุโขทัย

2. โครงการจัดระเบยี บสงั คมเพ่ือการปูองกันและปราบปราม

การค้ามนษุ ย์ และปอู งกนั กล่มุ เสีย่ ง

2561 1. การออกตรวจจัดระเบียบสังคมด้านสถานบรกิ ารและ - ปคม.จ.สุโขทยั

(จานวน 1 โครงการ) พื้นท่ีเสย่ี งในเขตจังหวดั สุโขทัย จานวน 9 อาเภอ

2562 1. การออกตรวจจดั ระเบียบสังคมดา้ นสถานบริการและ - ปคม.จ.สุโขทัย

(จานวน 1 โครงการ) พื้นท่ีเสยี่ งในเขตจังหวดั สุโขทัย จานวน 9 อาเภอ

จงั หวัดอตุ รดติ ถ์

2560 1. ออกตรวจคนขอทานและคนไร้ท่ีพึ่งตามแผนปฏิบตั ิการ - ปคม.จ.อตุ รดติ ถ์

(จานวน 2 โครงการ) จัดระเบียบคนขอทานระดับพ้ืนทจ่ี งั หวัดอุตรดติ ถ์ จานวน - ชดุ จัดระเบยี บสงั คม

45 ครงั้ บรู ณาการจังหวัดอุตรดติ ถ์

2. ออกตรวจจดั ระเบยี บสงั คมดา้ นการปอู งกนั การ

คา้ ประเวณีและการค้ามนุษย์จังหวดั อุตรดติ ถ์ในพ้ืนที่

จังหวัดอตุ รดิตถ์เดือนละ 2 คร้ัง

2561 1. การออกตรวจคนขอทานและคนไร้ทพี่ งึ่ ตามแผนปฏบิ ตั ิ - ปคม.จ.อุตรดติ ถ์

(จานวน 4 โครงการ) การจดั ระเบยี บคนขอทานระดับพ้นื ท่ีจงั หวัด อุตรดิตถ์ - ชดุ จัดระเบียบสังคม

จานวน 50 ครั้ง บูรณาการจงั หวัดอุตรดิตถ์

2. ออกตรวจจดั ระเบยี บสงั คมดา้ นการปอู งกนั การ

คา้ ประเวณีและการคา้ มนุษย์จังหวดั อตุ รดติ ถ์ในพนื้ ที่

จังหวัดอุตรดติ ถ์เดือนละ 2 คร้ัง

3. การออกตรวจจดั ระเบียบสังคมด้านเด็กและเยาวชน

และจดั ระเบยี บคนขอทาน ในงานพระยาพิชัยดาบหักและ

งานกาชาดจังหวัดอุตรดติ ถ์ ประจาปี 2561

4. การออกตรวจจดั ระเบียบสังคมดา้ นเด็กและเยาวชน

และจดั ระเบียบคนขอทานในงานนมัสการพระแทน่ ศิลา

อาสนป์ ระจาปี 2561

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ย์รายภูมภิ าคและการจดั ระดับสถานการณ์การค้ามนุษยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณโุ ลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดิตถ์)

34

ปี โครงการ หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบ

2562 1. การออกตรวจคนขอทานและคนไร้ท่ีพึ่งตามแผนปฏบิ ตั ิ - ปคม.จ.อตุ รดติ ถ์

(จานวน 2 โครงการ) การจดั ระเบยี บคนขอทานระดบั พื้นท่จี ังหวัด อตุ รดิตถ์ - ชุดจัดระเบียบสังคม

จานวน 60 คร้ัง บูรณาการจังหวัดอตุ รดิตถ์

2. ออกตรวจจดั ระเบยี บสงั คมดา้ นการปูองกนั การ

ค้าประเวณีและการคา้ มนุษย์จงั หวดั อุตรดิตถใ์ นพืน้ ท่ี

จงั หวดั อุตรดิตถ์เดือนละ 2 ครง้ั

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์รายภมู ภิ าคและการจัดระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ยข์ องจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอตุ รดติ ถ์)

35

สว่ นที่ 2
ขอ้ มูลพื้นฐาน

พ้ืนที่จงั หวดั ในเขตรับผิดชอบของสานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 8
(จังหวัดตาก จังหวัดพษิ ณโุ ลก จังหวดั เพชรบูรณ์ จงั หวัดสโุ ขทัย จงั หวัดอตุ รดิตถ)์

1. ข้อมลู บรบิ ทของพน้ื ท่ี

1.1 ขนาดพื้นที่และอาณาเขต
ตารางที่ 1 พนื้ ท่ี 5 จงั หวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบของ สสว.8

จังหวดั พืน้ ที่ อนั ดบั ระดับ จานวน ความหนาแน่นประชากร

ตาก ตารางกโิ ลเมตร ไร่ ภาคเหนอื ประชากร (คน/ตร.กม.)
พิษณุโลก
เพชรบรู ณ์ 16,406.65 10,254,156 2 665,620 41
สุโขทัย 10,815.85 6,759,906 9 865,247 80
อตุ รดติ ถ์ 12,668.41 7,917,756 4 992,451 78
6,596.09 4,122,556 14 595,072 90
รวม 7,838.59 4,899,119 12 453,103 58

54,325.59 33,953,493 - 3,571,493 66

ท่มี า : ระบบสถติ ิทางทะเบยี น ขอ้ มูลทางการปกครอง กรมการปกครอง ณ ธันวาคม 2562

จากข้อมูลตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.8 มีพ้ืนท่ีรวมกันประมาณ
54,325.59 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 33,953,493 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 32.02 ของพื้นที่ภาคเหนือ และ
ร้อยละ 10.58 ของพื้นที่ประเทศไทยท้ังหมด โดยจังหวัดท่ีมีพ้ืนที่มากที่สุดในกลุ่มจังหวัด คือ จังหวัดตาก
รองลงมาคอื จงั หวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ และสุโขทัย ตามลาดับ ท้ังนี้ พบว่า จังหวัดสุโขทัย มีความ
หนาแน่นของประชากรมากท่ีสุด คือ 90 คน/ตารางกิโลเมตร รองลงมา จังหวัดพิษณุโลก 80 คน/ตาราง-
กิโลเมตร และจงั หวดั เพชรบูรณ์ 78 คน/ตารางกิโลเมตร

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงอาณาเขตของกลุม่ จงั หวัดในเขตพื้นท่รี ับผิดชอบของ สสว.8

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภมู ภิ าคและการจัดระดบั สถานการณ์การคา้ มนษุ ยข์ องจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั และอตุ รดิตถ)์

36

1.2 ลักษณะภมู ิประเทศ

กลุ่มจงั หวัดในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบของ สสว.8 ประกอบด้วย 5 จังหวัด คือ จังหวัดตาก พิษณุโลก
เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัด
และประเทศใกลเ้ คยี ง ดังนี้

 ทศิ เหนือ ติดต่อกบั จงั หวดั แม่ฮ่องสอน เชยี งใหม่ ลาพนู ลาปาง แพร่ น่าน

 ทศิ ใต้ ติดต่อกับ จังหวัดกาแพงเพชร นครสวรรค์ อทุ ยั ธานี พิจิตร ลพบุรี

 ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และจงั หวัดชัยภมู ิ

 ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา และจังหวัดกาญจนบรุ ี

ภูมิประเทศของกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.8 โดยท่ัวไปประมาณ 2 ใน 3 ของพ้ืนที่
เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าและท่ีราบลูกฟูก (rolling plains) ได้แก่ พื้นท่ีในบริเวณตอนกลางของจังหวัดพิษณุโลก
อุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก ซึ่งเกิดจากการกระทาของแม่น้าสายสาคัญ ๆ คือ แม่น้าน่าน แม่น้ายม แม่น้าปิง
และลาน้าสาขา นอกจากน้ีการกระทาของแม่น้ายังทาให้เกิดเป็นที่ราบขั้นบันได (terraces) และท่ีราบน้าท่วม
ถึง (flood plain) ของแม่น้ายมและแม่น้าน่านด้วย ทางด้านทิศตะวันตกของกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่อาเภอ
แม่สอด อาเภอแม่ระมาด อาเภอท่าสองยาง อาเภอพบพระ และอาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ภูมิประเทศมี
ลักษณะเป็นทิวเขาปกคลมุ ดว้ ยปาุ ไม้ มเี ทอื กเขาสงู สลับซบั ซ้อนกันไปมา มีพ้ืนทรี่ าบสาหรับทาการเกษตรกรรม
บ้างเล็กน้อย โดยมีเทือกเขาถนนธงชัยซึ่งทอดตัวยาว จากภาคเหนือลงมาเป็นแนวเขตแดนก้ันระหว่างประเทศ
ไทยกับสหภาพพม่า ทางด้านทิศตะวันออกของกลุ่มจังหวัด บริเวณตอนบนมีลักษณะพ้ืนท่ีเป็นภูเขาและท่ีสูง
โดยมเี ทือกเขาหลวง-พระบางทอดตัวยาวลงมากัน้ เขตแดนระหว่างประเทศไทย – ลาว ช่วงต้ังแต่อาเภอน้าปาด
อาเภอฟากท่า อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ มาถึงอาเภอนครไทย อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก
และทอดยาวต่อเน่ืองไปจนถึงอาเภอหล่มสัก อาเภอน้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ กลายเป็นทิวเขาเพชรบูรณ์
ซึ่งทอดตัวยาวไปจนจรดแนวเขตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสภาพเป็นที่ราบเชิงเขาสลับลูกเนินเต้ีย ๆ
ไปจนจรดท่ีราบลุ่มแม่น้าและมีท่ีราบแคบ ๆ ในบริเวณเขตอาเภอหล่มสัก และอาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ซึ่งทีร่ าบนีม้ แี มน่ า้ ปุาสักไหลผ่านลงไปทางใต้และไหลไปสู่ภาคกลางต่อไป

1.3 ลักษณะภูมิอากาศ

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.8 จะมีอุณหภูมิเฉล่ีย
สูงสุดอยู่ที่ 40.9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุดอยู่ท่ี 11.9 องศาเซลเซียส แบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู
ประกอบดว้ ย

- ฤดรู อ้ น เรม่ิ ต้นประมาณเดือนมีนาคม – ต้นเดอื นพฤษภาคม อากาศจะร้อนและแห้งแล้งพอสมควร
- ฤดูฝน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม ปริมาณน้าฝนเฉล่ียประมาณ
1,327 มลิ ลเิ มตรต่อปี จานวนวันทีฝ่ นตก 123 วัน และปริมาณฝนสูงสุด 89 มลิ ลิเมตร
- ฤดูหนาว เร่ิมต้นประมาณเดือนพฤศจิกายน – ปลายเดือนกุมภาพันธ์ โดยในเขตพื้นที่
บรเิ วณภูเขาและที่สูง สภาพอากาศจะคล้ายคลึงกับในเขตภาคเหนือตอนบนซึ่งมีอากาศหนาวเย็น ในช่วงเดือน
ธันวาคม – เดือนมกราคม ในเขตภูเขาสูงหรือยอดดอยสภาพอากาศจะหนาวเย็นมากจนเกิดเป็นปรากฏการณ์
น้าค้างแข็งหรือที่เรียกว่า “แม่คน้ิง” เกิดขึ้น และทาให้มีนักท่องเที่ยวแวะเวียนเข้ามาสัมผัสกับอากาศที่
หนาวเย็นนเ้ี ป็นจานวนมากทุกๆ ปี

รายงานสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยร์ ายภูมภิ าคและการจดั ระดับสถานการณ์การคา้ มนษุ ย์ของจงั หวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทยั และอุตรดติ ถ์)

37

1.4 ข้อมลู การปกครอง

การปกครอง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 47 อาเภอ 426 ตาบล 4,505 หมู่บ้าน ในส่วน

การปกครองท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 5 แห่ง เทศบาลนคร 2 แห่ง (จังหวัดตาก

1 แห่ง และจังหวัดพิษณุโลก 1 แห่ง) เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาลตาบล 106 แห่ง และองค์การบริหาร

สว่ นตาบล 349 แหง่ ดงั รายละเอยี ดตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 แสดงจานวนเขตการปกครองรายจังหวัดในเขตพื้นที่รบั ผดิ ชอบของ สสว.8

(หน่วย:แห่ง)

จงั หวัด อาเภอ ตาบล หมบู่ า้ น อบจ. จานวนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อบต.

เทศบาลนคร เทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล

ตาก 9 63 562 1 1 1 17 49

พิษณุโลก 9 93 1,048 1 1 1 24 76

เพชรบรู ณ์ 11 117 1,439 1 - 3 22 102

สโุ ขทยั 9 86 843 1 - 3 18 69

อุตรดติ ถ์ 9 67 613 1 - 1 25 53

รวม 47 426 4,505 5 2 9 106 349

ทีม่ า : ระบบสถติ ิทางทะเบียน ข้อมูลการปกครอง กรมการปกครอง, กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถน่ิ
ณ ธันวาคม 2561

1.5 ขอ้ มูลประชากร

ตารางท่ี 3 แสดงจานวนประชากรจาแนกตามเพศ รายจงั หวดั ในเขตพนื้ ทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.8

(หนว่ ย : คน)

จงั หวัด จานวนประชากร

ชาย หญงิ รวม

ตาก 336,893 328,727 665,620

พษิ ณโุ ลก 423,304 441,943 865,247
เพชรบูรณ์ 490,810 501,641 992,451
สโุ ขทัย 288,842 306,230 595,072
อตุ รดิตถ์ 221,583 231,520 453,103

รวม 1,761,432 1,810,061 3,571,493

ที่มา : ระบบสถิติทางทะเบียนกรมการปกครอง ขอ้ มูล ณ ธนั วาคม 2562

ประชากรในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.8 จานวน 5 จังหวัด (ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย
ตาก) จานวนทั้งสิ้น 3,571,493 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.37 ของประเทศ ( 66,558,935 คน) เป็นชาย
จานวน 1,761,432 คน ร้อยละ 49.32 เปน็ หญงิ จานวน 1,810,061 คน ร้อยละ 50.68

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยร์ ายภูมภิ าคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และอตุ รดติ ถ)์

38

แผนภูมทิ ่ี 1 สดั สว่ นประชากรหญิง – ชาย

3,571,493

1,810,061 หญิง ชาย 1,761,432
50.68 % 49.32 %

ตารางที่ 4 จานวนประชากรแยกตามชว่ งอายุ จาแนกตามเพศ

(หน่วย:คน)

จงั หวัด อายุ 0 - 17 ปี อายุ 18 - 24 ปี อายุ 25 - 59 ปี อายุ 60 ปขี น้ึ ไป
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
ชาย หญิง รวม

ตาก 75,536 72,072 147,608 31,183 28,967 60,150 127,985 126,675 254,660 35,516 40,895 76,411

พิษณุโลก 82,307 77,898 160,205 44,598 43,228 87,826 218,076 226,049 444,125 71,042 88,768 159,810

เพชรบรู ณ์ 100,477 94,291 194,768 47,366 44,234 91,600 255,912 259,386 515,298 79,555 97,656 177,211

สุโขทยั 55,256 51,510 106,766 25,179 24,561 49,740 153,191 159,318 312,509 51,579 67,509 119,088

อตุ รดติ ถ์ 40,682 38,001 78,683 20,401 19,556 39,957 115,341 119,401 234,742 42,818 52,562 95,380

รวม 354,258 333,772 688,030 68,727 160,546 329,273 870,505 890,829 1,761,334 280,510 347,390 627,900

ท่มี า : ระบบสถิตทิ างทะเบยี นกรมการปกครอง ขอ้ มูล ณ ธันวาคม 2562

จากตารางท่ี 4 จานวนประชากรแยกตามช่วงอายุของ 5 จังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสสว.8
จะเห็นได้ว่า ประชากรช่วงอายุระหว่าง 25-59 ปีมีมากท่ีสุดในกลุ่มจังหวัดนี้ จานวน 1,761,334 คน หรือ
รองลงมา คือ ช่วงอายุระหว่าง 0-17 ปี จานวน 688,030 คน ถัดมา ช่วงอายุระหว่าง 60 ปีขึ้นไป จานวน
627,900 คน และอายุ 18-24 ปีจานวน 329,273 คน

1.6 ข้อมูลด้านแรงงาน

ตารางท่ี 5 ภาวะการทางานของประชากรรายจังหวดั ในเขตพืน้ ท่ีรับผิดชอบของ สสว.8

(หน่วย:คน)

จังหวดั กาลังแรงงานในปจั จบุ ัน กาลงั แรงงาน ผทู้ ไี่ ม่อยูใ่ นกาลงั แรงงาน

ผู้มงี านทา ผู้ว่างงาน ทร่ี อฤดกู าล ทางานบา้ น เรยี นหนงั สอื อน่ื ๆ

ตาก 235,009 1,429 6,231 55,706 36,162 53,912

พิษณุโลก 464,592 2,379 2,017 80,784 65,195 124,766

เพชรบรู ณ์ 458,067 6,687 14,625 62,264 54,555 143,003

สโุ ขทยั 328,694 3,227 401 36,397 38,513 104,378

อตุ รดิตถ์ 200,899 1,467 4,618 56,950 30,969 68,150

รวม 1,687,261 15,189 27,892 292,101 225,394 494,209

ทีม่ า : ภาวการณ์ทางานของประชากร ตารางสถิตริ ะดับจังหวดั ไตรมาสท่ี 1 (มกราคม - มนี าคม) 2563 สานักงานสถติ ิแห่งชาติ

รายงานสถานการณก์ ารคา้ มนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุตรดติ ถ)์

39

จากตารางที่ 5 แสดงภาวะการทางานของประชากรรายจังหวัด พบว่ากาลังแรงงาน มีท้ังส้ิน 1,730,342
คน แบ่งเป็น ผู้มีงานทา จานวน 1,687,261 คน กาลังแรงงานที่รอฤดูกาล จานวน 27,892 คน และผู้ว่างงาน
15,189 คน จังหวัดท่ีมีกาลังแรงงานมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอันดับที่หนึ่ง มีจานวน 479,379 คน
รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก มีจานวน 468,988 คน จังหวัดสุโขทัย มีจานวน 332,322 คน จังหวัดตาก
มจี านวน 242,669 คน และจังหวดั อตุ รดิตถ์ มจี านวน 206,984 คน ตามลาดับ

1.6 ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ
ตารางท่ี 6 การขยายตัวของผลิตภณั ฑ์มวลรวม กลุ่มจงั หวดั ในเขตพน้ื ทร่ี ับผิดชอบของ สสว.8

จังหวัด อัตราการขยายตัว GPP (ร้อยละ)

ตาก ปี 2560 ปี 2561
พิษณโุ ลก
เพชรบูรณ์ 1.0 2.1
สุโขทัย
อตุ รดิตถ์ 6.5 4.8

-4.4 5.9

5.2 9.2

14.9 5.0

ทม่ี า : ผลติ ภณั ฑภ์ าคและจงั หวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบบั พ.ศ. 2561 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

จากข้อมูลตารางท่ี 6 การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวม 5 จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ
สสว.8 (GPP) พบว่า มี 3 จังหวัดมีอัตรา GPP เพ่ิมข้ึน ได้แก่ จังหวัดตาก มีการขยายตัวของ GPP เพิ่มข้ึน
จาก 1.0 เป็น 2.1 จงั หวดั เพชรบรู ณ์ มกี ารขยายตวั ของ GPP เพิ่มขนึ้ จาก -4.4 เป็น 5.9 และจังหวัดสุโขทัย มี
การขยายตัวของ GPP เพิ่มข้ึน จาก 5.2 เป็น 9.2 สาหรับ 2 จังหวัดท่ีมีอัตรา GPP ลดลง ได้แก่ จังหวัด
พษิ ณโุ ลก จาก 6.5 เป็น 4.8 และจงั หวัดอตุ รดิตถ์ จาก 14.9 เป็น 5.0

ตารางท่ี 7 แสดงผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2561

จังหวัด บาทต่อปี

ตาก 99,026
พิษณุโลก 111,872
เพชรบูรณ์ 88,971
สุโขทยั 82,147
อตุ รดติ ถ์ 94,260

ที่มา : ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลกู โซ่ ฉบับ พ.ศ. 2561 สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

จากตารางที่ 7 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2561 ของ 5 จังหวัดใน
เขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.8 พบว่า จังหวัดพิษณุโลก มีจานวนผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per
capita) มากท่ีสุด จานวน 111,872 บาท/ปี รองลงมา คือ จังหวัดตาก จานวน 99,026 บาท/ปี ถัดมาคือ
จังหวัดอุตรดติ ถ์ จานวน 94,260 บาท/ปี

รายงานสถานการณ์การค้ามนุษยร์ ายภูมิภาคและการจดั ระดบั สถานการณ์การค้ามนษุ ย์ของจังหวดั (Grouping)

(ตาก พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทยั และอตุ รดติ ถ์)

40

2. สถานะการค้ามนุษยร์ ายจังหวดั

ตารางท่ี 8 สถานะการค้ามนุษย์รายจังหวดั ในเขตพน้ื ทีร่ ับผดิ ชอบของ สสว.8 ปี 2562

จังหวดั สถานะและเสน้ ทางของการค้ามนุษยร์ ายจังหวัด

ต้นทาง ทางผ่าน ปลายทาง

ตาก   

พษิ ณโุ ลก   

เพชรบรู ณ์  

สโุ ขทัย 

อุตรดติ ถ์   

ท่มี า : คณะอนกุ รรมการปูองกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ 5 จงั หวัด ขอ้ มลู ณ วันท่ี 18 มนี าคม 2563

จากการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทารายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์รายจังหวัด ในเขตพ้ืนที่
รับผิดชอบของ สสว.8 ประกอบด้วยจังหวดั ตาก จงั หวัดพิษณุโลก จงั หวัดเพชรบูรณ์ จังหวดั สุโขทัย และจังหวัด
อตุ รดิตถ์) ระหว่างวนั ที่ 5 – 18 มนี าคม 2563 มผี ู้แทนจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการดาเนินการปูองกันและ
แกไ้ ขปญั หาการค้ามนษุ ยร์ ่วมกนั วิเคราะหส์ ถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ ปี 2562 ตามประเด็น สถานะการค้ามนุษย์
รูปแบบการคา้ มนุษย์ กลุ่มเสย่ี งการค้ามนษุ ย์ และสถานที่เสี่ยงต่อการคา้ มนษุ ย์ สรุปข้อมลู ดงั น้ี

จังหวดั ตาก

จังหวัดตากเป็นจังหวัดชายแดนติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา โดยมีแม่น้าเมยกั้นกลาง
โดยมีจุดผ่านแดนถาวรที่อาเภอแมส่ อด ทาให้มีประชาชนของทง้ั สองประเทศ โดยเฉพาะประชาชนชาวเมียนมา
ซ่ึงมีค่าจ้างที่ต่ากว่าเข้ามาทางานในพ้ืนท่ีทั้งถูกกฎหมายและลักลอบเข้ามาตามแนวพื้นท่ีชายแดน ช่องทาง
ธรรมชาติ อีกท้ังจังหวัดตาก ยังเปรียบเสมือนประตูด่านแรกที่เป็นทางผ่านให้แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายใช้
เป็นเส้นทางในการเข้าไปทางานในพน้ื ทีช่ นั้ ใน เชน่ กรงุ เทพมหานคร ชลบุรี สงขลา และจังหวัดใหญ่ๆ ซึ่งทาให้
เกิดความเสีย่ งต่อการลกั ลอบเข้าเมอื ง

จังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดพิษณุโลกมีพื้นท่ีเช่ือมต่อกับหลายจังหวัดและเป็นจังหวัดที่มีสถานท่ีท่องเท่ียวและ
สถานศึกษา เป็นจานวนมาก ซึ่งส่งผลให้มีคนเดินทางเข้า-ออกเป็นจานวนมาก โดยท่ัวไปพบว่า มีการแสวงหา
ประโยชน์จากการค้าประเวณีเด็ก การหลอกลวงคนไปทางานต่างประเทศ และปัญหาการค้าบริการทางเพศ
ทางสื่อโซเชยี ลมเี ดีย

จงั หวดั เพชรบูรณ์

จงั หวดั เพชรบูรณเ์ ป็นพืน้ ท่ีเกษตรกรรม มีความต้องการแรงงานในการทางานจานวนมาก จึงอาจ
เป็นพื้นที่มีการนาพาแรงงานต่างด้าวเข้ามาประกอบอาชีพอย่างไม่ถูกต้อง รูปแบบการค้ามนุษย์ที่อาจจะเกิด
มากท่ีสุดคือ การบังคับใช้แรงงาน รองลงมาคือ การแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี และการบังคับให้
ขอทาน กลุ่มเส่ียงค้ามนุษย์มากท่ีสุดคือ แรงงานข้ามชาติ รองลงมาคือ สตรี เด็กและเยาวชน สถานท่ีเสี่ยงต่อ


Click to View FlipBook Version