The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงาน สบุ่เหลวสมุนไพรออแกนิค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงงาน สบุ่เหลวสมุนไพรออแกนิค

โครงงาน สบุ่เหลวสมุนไพรออแกนิค

โครงงาน สบู่เหลวสมนุ ไพรออแกนิค

จดั ทาโดย

เดก็ ชายวรากรณ์ รหู้ ลัก
เดก็ ชายทินภทั ร ถนั ลานนั ท์

เด็กชายปฏพิ ล มีสี
เด็กหญิงภทั รชาวดี เย็นใจมา
เด็กหญิงปัทมาภรณ์ ดาใจคา

เดก็ หญงิ นลิน มินออน
เดก็ หญงิ ลภสั รดา ใจรินทร์
เดก็ หญงิ บณุ ยาพร เยน็ ใจมา

นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

โครงงานช้ินนเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของ
วิชา วิทยาศาสตร์ ว1601
ปีการศกึ ษา 2562

โรงเรยี นบา้ นหลบั มืนพรวน ต.จอมจนั ทร์ อ.เวียงสา จ.น่าน
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต ๑



บทคัดยอ่

การทาสบู่เหลวใช้เอง ช่วยลดต้นทุน และได้ฝึกทักษะหลายด้าน เป็นการลงมือปฏิบัติจริง ได้ค้นคว้า
ข้อมูล ความรู้อย่างกว้างขวาง ทาให้ได้รับความรู้เก่ียวกับการทาสบู่เหลวใช้เองในครัวเรือน และในโรงเรียน
การปรับปรุงสูตรส่วนผสมจากสมุนไพรต่าง ๆ การชั่ง ตวงส่วนผสม การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในการทาสบู่
เหลวสูตรต่าง ๆ รวมถึงการออกแบบโลโก้ การบรรจุหีบห่อการคานวณตน้ ทุน เพื่อต้ังราคาขาย และการเทียบ
มาตราส่วน อีกท้ังนาความรู้จากเร่ืองท่ีได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงงานสบู่เหลวสมุนไพร มาจัดทาเป็น
รายงานโครงงาน ซ่ึงถือเป็นการบูรณาการได้อย่างหลากหลาย การทาโครงงานน้ี นอกจากนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 จะได้ความรู้ในด้านทฤษฎีต่าง ๆ แล้วนักเรียนยังสามารถฝกึ ลงมือปฏบิ ัติจรงิ และสามารถ
ต่อยอดใหน้ กั เรยี นได้จาหน่ายสบูเ่ หลวสมุนไพรเพ่ือเป็นการหารายได้เสรมิ ระหว่างเรียนอีกทางหนึ่งดว้ ย



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานน้ี สาเร็จลุล่วงไปได้ ดว้ ยความชว่ ยเหลืออยา่ งดยี ิ่ง ของครูศิรวิ ิมล อภิวนั ครทู ีป่ รกึ ษาโครงงาน
ที่ได้ใหค้ าแนะนาและข้อคิดเหน็ ต่าง ๆ ของโครงงานมาโดยตลอด

คณะครูทุกท่าน ผูป้ กครอง และนัก เรยี นโรงเรียนบ้านหลับมนื พรวน ในการใหค้ าแนะนา ขอ้ เสนอแนะ
ในการทาโครงงานสบู่เหลวของพวกเราที่กรุณาสละเวลา เป็นที่ปรึกษาโครงงาน พร้อมท้ังให้คาแนะนาท่ีเป็น
ประโยชน์

เพ่ือนทุก ๆ ท่านท่ีให้ความอนุเคราะห์ในการใช้เคร่ืองมือ และให้คาแนะนาในการใช้งานเป็นอย่างดี
พวกเรานักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จึงขอกราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสนี้

นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

สารบัญ ค

เร่อื ง หน้า
บทคัดยอ่ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทท่ี 1 บทนา 1
ท่มี าและความสาคัญ 1
ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน 2
งบประมาณ 3
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 3
ขอบเขตการทาโครงงาน 4
จดุ มงุ่ หมายของการศึกษา 4
ขอบเขตของการศกึ ษา 4
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ 4
5
บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กยี่ วข้อง 5
ความหมายของขม้ินชัน
ความหมายของตะไคร้ 11
ขนั้ ตอนการสรา้ งแผน่ พบั จาก MS-Word 15
20
บทที่ 3 วธิ ีการศกึ ษาและปฏิบตั ิ 22
วิธีทาสบเู่ หลวจากขม้นิ ชนั 24
วิธีทาสบู่เหลวจากตะไคร้

สารบญั ง

เรอ่ื ง หนา้
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงการ 26
26
ผลการพัฒนาส่ือเพอ่ื การศึกษา 26
ผลการทดลองทาสบู่สมนุ ไพร 27
บทท่ี 5 สรุปและขอ้ แนะนา 27
สรุป 27
ข้อเสนอแนะ 28
บรรณานุกรม



บทที่ 1

บทนา

ท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน

คนเรามีชีวิตอยู่ในโลกที่มีเชื้อโรคห้อมล้อมอยู่ตลอดเวลา แต่เรามีความเข้าใจผดิ เกี่ยวกับความสะอาด
ของส่ิงแวดล้อมรอบตัวเราหลายอย่าง ทุกวันนี้หลายคนรู้ว่าก่อนปรุงอาหารแม่ครัวควรล้างมือให้สะอาด
เสียก่อน แต่หลายคนไม่รู้ว่าเมื่อเสร็จจากการปรุงอาหารแล้วควรจะล้างมือให้สะอาดด้วย เนื่องจากในอาหาร
ดิบมีเชื้อโรคมากมายโดยเฉพาะเนื้อสด โรคที่คนเราติดต่อจากส่ิงแวดล้อมที่พบบ่อย ๆ มีไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่
ท้องเดิน ตับอักเสบ โรคเหล่าน้ีบ้างก็ติดต่อทางอากาศ บ้างก็โดยการสัมผัสด้วยมือ นักจุลชีววิทยา ชาร์ล เกอร์
บา แห่งมหาวิทยาลัยอริโซนาได้ทาการศึกษาโดยการเพาะเชื้อจากสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ แล้วพบว่าคนเรามีความ
เชือ่ ผิดหลายอย่างเก่ียวกับความสกปรกของส่ิงแวดลอ้ มทเี่ ราอยู่

สบู่เหลวล้างมือเป็นสิ่งที่สามารถทาความสะอาดและขจัดสิ่งสกปรกให้ออกจากร่างกายของเราได้ และยัง
สามารถบารุงผิวพรรณให้ดูสะอาดไปพร้อม ๆกับการฆ่าเชื้อโรคร้ายท่ีเป็นอันตราย และอาจเป็นสาเหตุทาให้
ร่างกายของเราเจ็บป่วยได้อีกดว้ ย การลา้ งมือถอื เปน็ การดแู ลสุขอนามัยพนื้ ฐานทเ่ี ราทุกคนได้รับการปลกู ผังกัน
มาตั้งแต่เด็ก เน่ืองจากในแต่ละวันเราใช้มือหยิบจับสิ่งต่าง ๆ มากมาย หากไม่ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร
ส่ิงสกปรก เชื้อโรค ไวรัส รวมไปถึงสารเคมีต่าง ๆ อาจเข้าสู่ร่างกายผ่านการหยิบอาหาร ยิ่งในปัจจุบันเช้ือโรค
ต่าง ๆ สามารถพัฒนาระดับความรุนแรงได้ ส่งผลให้การล้างมือย่ิงได้รับการพูดถึงรณรงค์และบังคับใ ห้
หน่วยงานราชการต่าง ๆ โรงเรยี น รวมถึงสถานทส่ี าธารณะ ชุมชน ต้องมสี บู่เหลวล้างมอื ฆ่าเชื้อโรคเพ่อื ปลูกผัง
สขุ นสิ ยั ทีด่ ีให้เกิดข้นึ รวมทัง้ ปอ้ งกันอันตรายจนถงึ การเสยี ชีวิตท่นี ับวันจะมีสงู ขนึ้ เรอ่ื ย ๆ อีกด้วย

ดังนน้ั จึงคดิ ทาโครงการสอนทาสูเ่ หลวล้างมอื ฆ่าเช้อื โรคขนึ้ มาเพื่อป้องกนั และลดการแพร่เช้อื ของเช้ือโรคท่ี
เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคและไข้หวัดต่าง ๆ และการทาโครงการสอนทาสบู่เหลวล้างมือฆ่าเช้ือโรคเป็นการ
ประหยัดค่าใช้จ่ายโดยทาข้ึนเองโดยไม่ต้องส้ินเปลืองเงินกับการซ้ือสบู่เหลวล้างมือฆ่าเชื้อโรค ท้ังนี้ยังสามารถ
ทาไปขายเพิ่มรายได้ให้แก่ครัวเรือน และสิ่งสาคัญยังได้ใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ได้เรียนรูแ้ ละรู้จกั วิธกี ารทา
สบเู่ หลวลา้ งมือฆ่าเช้อื โรคอกี ด้วย

วตั ถุประสงค์

1. เพอ่ื ศกึ ษาค้นควา้ และให้ความรเู้ กี่ยวกบั สบเู่ หลวลา้ งมอื ฆ่าเชื้อโรค
2. ให้ผู้ได้รับการสอนทาเกี่ยวกับสบู่เหลวล้างมือฆ่าเชื้อโรค ได้ทา ได้ใช้สบู่เหลวล้างมือฆ่าเชื้อโรคด้วย

ตนเอง ท้ังนี้ยงั ช่วยสรา้ งสขุ นสิ ัยในการรักษาอนามัยของตงั เองให้มสี ุขอนามยั ทีด่ ีขนึ้

ระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ

ท่ี หวั ขอ้ พฤษภาคม มิถุนายน
1 เสนอหวั ขอ้ โครงงาน 1 2345

2 ศกึ ษาคน้ ควา้ ท่ีมาของปญั หา
3 ศึกษาคน้ ควา้ หาข้อมลู ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
4 ลงมือสรา้ งผลติ ภณั ฑ/์ วธิ กี ารแกป้ ัญหา

5 นาผลติ ภัณฑ/์ วธิ ีการแกป้ ัญหา ไปทดลอง
ใช้

6 นาผลิตภณั ฑ/์ วธิ กี ารแกป้ ัญหา ปรบั ปรุง
แก้ไข

7 ลงมอื สร้างส่ือให้ความรู้

8 ดาเนนิ โครงการ

9 เกบ็ รวบรวบ วเิ คราะหข์ ้อมูล

10 สรุป และอภิปรายผลการดาเนินโครงการ

ตารางท่ี 1.1 ระยะเวลาการดา



กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน

6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

าเนินการโครงการ (Gantt Char)

งบประมาณ ๓

ชดุ ทาสบูเ่ หลวลา้ งมือฆา่ เชื้อโรค 720 บาท
ภาชนะท่ใี ส่ 480 บาท
กระดาษปก 15 บาท
ค่าเข้าเล่ม 100 บาท
ค่าทาบอร์ด 100 บาท
รวม 1415 บาท

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

(1) จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology) คือการศึกษาเกยี่ วกับสิง่ มีชวี ิตซงึ่ มองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปล่า

(2) สบู่เหลว (Liquid Soap) คอื สบทู่ ่ีไมไ่ ด้ทาเป็นกอ้ นเพราะมีสว่ นผสมน้ามากกวา่ ไขบรรจุใสภ่ าชนะ
ต่างๆ

(3) ทอ้ งเดิน คืออาการที่ถ่ายอจุ จาระเหลวมากบอ่ ย ๆ



ขอบเขตของการทาโครงการ

ขอบเขตในการจัดทาโครงการครัง้ นี้ แบง่ เป็น 3 ด้านประกอบด้วยขอบเขตดา้ นเนอื้ หา ขอบเขตด้าน
วธิ ีการและขอบเขตด้านเวลาซงึ่ แต่ละดา้ นมีรายละเอยี ดดงั นี้

(1) ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาความร้เู กย่ี วการทาสบเู่ หลวลา้ งมอื ฆ่าเชือ้ โรค เพ่ือเป็นการเสรมิ สร้าง
สขุ อนามัยท่ดี ใี นการล้างมือที่ถกู ต้องและสะอาดปลอดเชื้อโรค

(2) ขอบเขตดา้ นวธิ กี าร ทาสบเู่ หลวลา้ งมอื ฆ่าเชอ้ื โรค โดยนาส่วนผสมที่เตรยี มไวเ้ ทเขา้ ดว้ ยกนั แล้วคน
ส่วนผสมให้เข้ากันจนเกิดฟอง จากน้ันทิ้งไว้จนฟองจึงนาสบู่เหลวล้างมือฆ่าเชื้อโรคบรรจุลงในภาชนะท่ีเตรียม
ไว้ แล้วนาไปใช้ล้างมือได้

(3) ของเขตด้านเวลา โครงการนด้ี าเนนิ การในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562

จดุ มุ่งหมายของการศึกษา

1. เพ่อื ทาให้บุคลากรในโรงเรียนและชุมชนมสี ุขอนามัยท่ีดีขึ้น
2. เพอ่ื เป็นการลดและป้องกันเช้ือโรคต่าง
3. เพ่ือเปน็ การเสริมสร้างประสบการณ์ และความสามัคคีในหมคู่ ณะ

ขอบเขตการศกึ ษา

สถานท่ี : โรงเรียนบา้ นหลบั มนื พรวน

ระยะเวลาการศึกษา

วันท่ี 27 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2562 ถึง วันที่ 13 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2562

ประโยชนท์ จ่ี ะได้รับ

(1) ผู้เข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั สบู่เหลวลา้ งมอื ฆ่าเชื้อโรค
(2) ผู้เขา้ รว่ มโครงการสามารถทาสบเู่ หลวลา้ งมือฆ่าเช้อื โรคด้วยตนเองได้จาการสอน
(3) ผู้เขา้ รว่ มโครงการได้ใช้สบเู่ หลวล้างมือฆา่ เช้ือโรคเพ่ือรกั ษาความสะอาดและมสี ขุ อนามยั ที่ดไี ด้
จาการสอนทาสบูเ่ หลวล้างมือฆ่าเชอ้ื โรคในคร้ังนี้

บทท่ี 2
เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง

ในการจดั ทาโครงงานประเภททดลองเรื่อง สบู่เหลวสมุนไพรออแกนคิ ผจู้ ดั ทาได้ศกึ ษาเอกสารท่ี
เกีย่ วข้องดังนี้

2.1 ความหมายของขมนิ้ ชัน
2.2 ความหมายของตะไคร้
2.3 ขน้ั ตอนการสร้างแผ่นพับจาก MS-Words

2.1 ความหมายขมนิ้ ชนั

1. ชื่อสมนุ ไพร ขม้ิน
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Curcuma longa Linn.
ช่อื วงศ์ ZINGIBERACEAE
ช่ือพ้อง Curcuma domestica Valeton
ชื่ออังกฤษ Turmeric
ช่ือท้องถนิ่ ขมิ้นแกง ขมน้ิ ชัน ขมน้ิ หยอก ขมนิ้ หัว ข้มี นิ้ ตายอ สะยอ หมิน้



2. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เน้ือในสีเหลืองอมส้ม มีกลิ่นหอม ใบออกเป็นรัศมีติดผิวดิน รูปหอกแกมขอบ

ขนาน ดอกออกเป็นช่อ ทรงกระบอก แทงออกจากเหง้า มใี บประดับรูปหอก สีเขยี วอ่อนหรือสีขาว เรยี งซ้อน
กัน รองรับดอกย่อยแต่ละดอก กลีบเล้ียงเชื่อมติดกันเป็นรูปท่อ มีขน กลีบดอกสีขาว โคนเชื่อมติดกันเป็นท่อ
ยาวปลายแยกเป็น 3 แฉก เกสรเพศผ้ลู กั ษณะคล้ายกลบี ดอก ยอดเกสรเพศเมียรปู ปากแตร รังไข่มี 3 ช่อง แต่
ละชอ่ งมีไข่ออ่ น 2 ใบ

3. ส่วนทีใ่ ช้เปน็ ยาและสรรพคุณ
- เหง้าใต้ดินบดเป็นผง รักษาแผล แมลงกัดต่อย กลากเกลื้อน ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะ

อาหาร รกั ษาอาการทอ้ งเสีย

4. สารสาคัญที่เชอื่ ว่าเปน็ สารออกฤทธิ์ หรือสารท่ใี ช้ประเมินคณุ ภาพของสมุนไพร
ag-turmerone, curcumin และอนุพันธ์ของ curcumin เป็นสารออกฤทธ์ิป้องกันและรักษาแผลใน

กระเพาะอาหาร

5. ฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา
5.1 ฤทธติ์ า้ นการเกดิ แผลและสมานแผลในกระเพาะอาหาร และฤทธิ์อน่ื ๆ ต่อระบบทางเดนิ อาหาร
ขมิ้นมีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหาร โดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อบริเวณท่ีเป็นแผล

ทาให้แผลหายเร็วขึ้น กระตุ้นการหลั่ง mucin มาเคลือบกระเพาะอาหารและยับย้ังการหลั่งน้าย่อยต่าง ๆ ซึ่ง
เป็นผลจาก ag-turmerone และ curcumin การทดลองทางคลินิกในผู้ป่วยท่ีมีอาการปวดท้องจากแผลใน
กระเพาะอาหารใหผ้ ลการรักษาเทยี บเทา่ ยาลดกรด (ซงึ่ มีตวั ยา magnesium trisilicate)

การทดลองในผู้ป่วยแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแผล 0.5-
1.5 เซนตเิ มตร ซง่ึ มอี าการปวดทอ้ งและอาการอน่ื ที่แสดงถึงภาวะแผลเป่ือยในกระเพาะอาหารและ/หรือลาไส้
เล็ก จานวน 10 คน ให้รับประทานขมิ้นแคปซูลขนาด 250 มิลลิกรัม ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 4 คร้ัง ก่อน
อาหารคร่ึงชั่วโมง 3 ม้ือ และก่อนนอน ติดต่อกันเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ เมื่อทาการติดตามผลโดยการส่อง
กล้องในสัปดาห์ท่ี 0, 4, 8 และ 12 สัปดาห์หลังจากเริ่มรักษา มีผู้ป่วยที่มีแผลหาย 7 ราย (70%) โดยแผล
หายภายใน 4 สัปดาห์ 5 ราย (50%) แผลหายภายใน 8 สัปดาห์ 1 ราย (10%) และแผลหายภายใน 12
สปั ดาห์ 1 ราย (10%)

อีกการทดลองทางคลินิก โดยให้ผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหาร (gastric ulcer, GU) จานวน
5 ราย และแผลท่ีลาไส้เล็กส่วนต้น (duodenal ulcer, DU) จานวน 20 ราย รับประทานยาแคปซูลขมิ้น



ขนาด 300 มลิ ลกิ รัม ครั้งละ 2 แคปซูล วนั ละ 5 ครัง้ โดยรบั ประทานก่อนอาหาร 0.5-1 ชัว่ โมง 3 ม้ือ เวลา
16.00 น. และก่อนนอน ติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าผู้ป่วย 12 ราย (DU 9 ราย และ GU 3 ราย)
จาก 25 ราย คดิ เป็นร้อยละ 48 มแี ผลหายภายใน 4 สัปดาห์ ผปู้ ่วย 18 ราย (DU 13 ราย และ GU 5 ราย)
คิดเป็นร้อยละ 72 มีแผลหายภายใน 8 สัปดาห์ และผู้ป่วย 19 ราย (DU 14 ราย และ GU 5 ราย) คิดเป็น
รอ้ ยละ 76 มีแผลหายภายใน 12 สปั ดาห์ นอกจากนผ้ี ปู้ ่วยท่แี ผลหายแล้วจะไมก่ ลบั มาเปน็ แผลอกี

มีการศึกษาถึงผลของขม้ินต่อการทางานของระบบทางเดินอาหารอีกมากมาย พบว่าขม้ินมีฤทธ์ิ
ลดการบบี ตวั ของลาไส้ ฤทธขิ์ ับน้าดี ฤทธิ์ลดอาการแนน่ จกุ เสยี ด และฤทธร์ิ ักษาอาการท้องเสีย

5.2 ฤทธิล์ ดการอักเสบ

การศึกษาแบบสุ่ม ปกปิดสองฝ่ายเทียบกับยาหลอกและทดลองให้ยาแบบสลับกลุ่ม
กัน (randomized, double-blind, placebo controlled, cross-over study) ในผู้ป่วยข้อกระดูกอักเสบ
เร้ือรังจานวน 42 คน โดยใช้ยาสมุนไพรที่มีส่วนประกอบของเหง้าขม้ิน 50 มิลลิกรัม/แคปซูล 650 มิลลิกรัม
พบว่าการไดร้ ับยาสมุนไพรดงั กล่าวสามารถลดความเจบ็ ปวดที่รุนแรงได้

5.3 ฤทธติ์ ้านการแพ้

สาร curcumin และสารสกัดด้วยเอทิลอะซีเตทมีฤทธิ์ต้านการแพ้ โดยออกฤทธ์ิยับย้ังการหลั่ง
สาร histamine (สารสื่อกลางที่กระตุ้นให้เกิดการแพ้) เมื่อทดลองในหนูแรทและหนูเม้าส์ท่ีถูกป้อนขมิ้นเข้า
ทางปากในขนาด 300 มิลลิกรัม/น้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม นอกจากน้ี สารสกัดขม้ินด้วยเอทิลอะซีเตทและบิว
ทานอลยังมกี ลไกการออกฤทธ์เิ หมือนยาต้านฮสี ตามนี dimaprit ในหลอดทดลองอีกด้วย

5.4 ฤทธิ์ต้านเชอ้ื จุลชีพ

ขม้ินมีผลยับยั้งเช้ือแบคทีเรียและสารพิษท่ีสร้างโดยแบคทีเรียหลายชนิดในหลอดทดลอง
เช่น Staphylococci ซึ่งเป็นสาเหตุของหนอง (30-38) Samonella Shigella และ E.coli ซึ่งเป็นสาเหตุของ
การติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร และ Streptococcus mutans ที่เป็นสาเหตุของฟันผุ เม่ือให้ผู้ป่วยโรค
กระเพาะท่ีตรวจพบเชอ้ื H. pyroli รบั ประทานขม้นิ ชันวันละ 2 กรมั แบง่ ให้วันละ 4 คร้ัง เป็นเวลา 4 สปั ดาห์
พบวา่ ขม้ินไมม่ ผี ล ฆา่ เช้ือดังกลา่ ว

ข ม้ิ น ส า ม า ร ถ ยั บ ย้ั ง กา ร เ จ ริญ เ ติ บ โต แ ละฆ่ า เ ช้ื อร าที่ เ ป็ น สา เ หตุ ข อง โ ร ค ผิว หนั ง ได้ หลาย
ชนิด โดยเฉพาะในรูปน้ามันหอมระเหยจะจะมีฤทธต์ิ ้านเช้ือราที่เป็นสาเหตุของโรคกลาก เช่น Microsporum,
Trichophyton และ Epidermophyton นอกจากฤทธิ์ต้านเช้ือราในคนแล้ว น้ามันหอมระเหยจากใบและ
เหงา้ ขมิ้น ยังมฤี ทธ์ิตา้ นเชื้อราทเี่ ป็นสาเหตุของโรคราในข้าว 5 ชนดิ คอื Rhizoctonia solani, Trichochonis
padwickii, Helminthosporium oryzae, Fusarium moniliforme และ Curvularia lunata โ ดยน้ามัน
จากใบจะมีฤทธิด์ ีกว่านา้ มนั จากเหงา้

มีการทดลองพบว่าสารสกัดด้วยแอลกอฮอล์และน้า ความเข้มข้น 125 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มี
ผลฆา่ เช้ืออะมบี า (Entamoeba histolytica) ซึ่งเปน็ สาเหตขุ องโรคบดิ



5.5 ฤทธปิ์ ้องกนั ตับอักเสบ
สารสกัดของขมิ้นสามารถป้องกันการทาลายตับของหนูแรทจากยาพาราเซตามอล D-

galactosamine เอทานอล ไดจ้ ากผลการทดลองกับเซลลต์ บั ในหลอดทดลอง

5.6 ฤทธ์ิต้านการกลายพันธแุ์ ละตา้ นการเป็นพิษต่อยนี
สารสกัดด้วยน้าของขม้ิน สารสกัดด้วยน้าของขมิ้นที่แยกเอาสาร curcumin ออก สาร curcumin

สารสกัดด้วยเมทานอลของขมิ้นและน้ามันจากขมิ้นท่ีแยกเอา oleoresin ออก มีฤทธ์ิต้านการกลายพันธ์ุ เม่ือ
ทาการทดสอบในเช้ือแบคทีเรียและในหนูเม้าส์ สารในกลุ่ม phenolic จากขมิ้นมีฤทธ์ิป้องกันความเสียหาย
ของสารพันธกุ รรมเม่ือทาการศกึ ษาในเซลล์ lymphoblastoid TK6 ของมนษุ ย์

5.7 ฤทธ์ิสมานแผล
ผงขม้ินที่นามาผสมกับน้าแล้วทาแผล พบว่าช่วยเร่งให้แผลที่ไม่ติดเช้ือของกระต่ายและหนูแรท

หายได้ 23.3% และ 24.2% ตามลาดับ และสามารถเรง่ ให้แผลทม่ี ีการติดเชอื้ ของหนูแรทหายได้ 26.2%
ในการทดลองทางคลนิ ิก โดยทายาสมุนไพรซงึ่ มขี มน้ิ เป็นสว่ นประกอบทผ่ี วิ หนัง พบว่ามฤี ทธิช์ ่วย

กระตุ้นการสร้างเซลล์ผิวขึ้นใหม่ เม่ือทดลองใช้ขมิ้นในการรักษาแผลผุพองเปรียบเทียบกับยาปฏิชีวนะใน
ผู้ป่วย 60 ราย แล้ว ติดตามดูแผลพุพองหลังการรักษา 21 วัน พบว่าผู้ป่วยทุกรายหายจากโรค และไม่พบ
ภาวะแทรกซอ้ นหรือข้อแตกต่างระหว่างการใช้ขม้ินและยาปฏชิ ีวนะ

มีการนาสารสกัดด้วยเอทานอลร้อยละ 95 ของขม้ินมาเตรียมเป็นครีมป้ายปาก แล้วทาการ
ทดลองเพื่อสังเกตฤทธ์ิในการสมานแผล ในอาสาสมัคร 30 คน พบวา่ ครีมปา้ ยปากที่มสี ารสกัดขมิ้นชัน 1% มี
ผลทาให้แผลในปากหายภายใน 1 สปั ดาห์

5.8 ฤทธ์ิอนื่ ๆ
ขมิ้นมีโอกาสที่จะพัฒนาเพ่ือใช้ในการรักษาโรค cystic fibrosis ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ เป็น

ส่วนผสมในยาสีฟันเพื่อช่วยขจัดคราบบุหรี่และลดการอักเสบ และใช้ผสมในยาจีนเพื่อการรักษาและป้องกัน
เนอ้ื งอกและขอ้ อักเสบ อย่างไรก็ตาม ฤทธิ์เหลา่ น้ียังต้องทาการศึกษาโดยละเอยี ดตอ่ ไป

6. อาการขา้ งเคยี ง
ยังไมม่ รี ายงาน

7. ความเปน็ พษิ ท่ัวไปและต่อระบบสบื พันธุ์
7.1 การทดสอบความเปน็ พิษ



ในการทดสอบความเป็นพษิ ดว้ ยสารสกดั ขมิ้นชนิดต่าง ๆ พบว่ามีพิษปานกลางถึงมากเม่ือให้โดย
การฉีด แต่เม่ือป้อนสาร curcumin แก่หนูเม้าส์พบว่ามีความเป็นพิษปานกลาง สารสกัดขม้ินมีผลต่ออวัยวะ
ต่าง ๆ ได้แก่ น้าหนักปอด หวั ใจ อวยั วะสืบพนั ธุ์ อสุจิ เมด็ เลอื ด ต่อมไทรอยด์ เซลล์บุผนังกระเพาะปสั สาวะ ไต
ลาไส้ ตลอดจนการกนิ อาหาร ทเี่ ปล่ียนแปลงไป

จากการทดลองในคนทัง้ เพศชายและเพศหญงิ จานวน 15 คนโดยให้รับประทานขมน้ิ ขนาด วันละ 2.2 กรัม
เปน็ เวลา 4 เดอื นพบว่าไม่ทาให้เกดิ พิษ

7.2 ฤทธิก์ อ่ กลายพนั ธุ์

เมื่อผสมขมิ้นร้อยละ 0.5 หรือ curcumin ร้อยละ 0.015 ลงในอาหารเพ่ือให้หนูเม้าส์
กิน พบว่าไม่ทาให้โครงสร้างและจานวนของโครโมโซมของไขกระดูกเปล่ียนแปลงและไม่ก่อให้เกิดการกลาย
พันธ์ุ เม่ือให้หนูขาวกินอาหารผสมขมิ้นร้อยละ 0.5 และ 0.05 ซ่ึงทาให้สุก ก็ไม่พบพิษต่อโครโมโซมเช่นกัน
การทดสอบฤทธ์ิก่อกลายพันธ์ุต่อเช้ือ Salmonella typhimurium และ Bacillus subtilis สายพันธ์ุต่าง ๆ
พบว่าไม่ก่อให้เกิดการกลายพันธ์ุ ยกเว้นการทดลองท่ีใช้สารสกัดขม้ิน ด้วยเอทานอลร้อยละ 95 พบว่ามีฤทธิ์
กอ่ กลายพนั ธ์ตุ ่อ Salmonella typhimurium TA102 และ S. typhimurium TA98 ตามลาดบั

7.3 ความเป็นพิษต่อตัวอ่อน

เม่อื ให้หนแู รทเพศเมียกินสารสกัดขม้นิ ดว้ ยเอทานอลร้อยละ 95 สารสกัดขมนิ้ ด้วยน้า และ สาร
สกดั ขมน้ิ ดว้ ยปิโตรเลียมอเี ทอร์ ในขนาด 100 มิลลิกรมั /กิโลกรัม พบความเป็นพิษต่อตวั ออ่ น แตเ่ ม่อื ปอ้ นสาร
สกัดขมิ้นด้วยเอทานอลร้อยละ 95 สารสกัดขมิ้นด้วยน้า และสารสกัดขม้ินด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์
ขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัมแก่หนูแรทหรือกระต่ายเพศเมีย พบว่าไม่ก่อให้เกิดความผิดปกติของตัว
อ่อน (teratogenic) และเม่ือผสมรากขมิ้นลงไปในอาหารของหนูแรทเพศเมีย ขนาดร้อยละ 0.5 พบว่าไม่
กอ่ ให้เกดิ ความผิดปกติของตวั ออ่ นเช่นกัน

7.4 ความเปน็ พิษต่อตบั

ในการศึกษาพิษก่ึงเร้ือรังในหนูเม้าส์และหนูแรทเพศเมีย โดยผสมผงขม้ิน (ร้อย
ละ 1, และ 5) และสารสกัดขม้ินด้วยเอทานอลร้อยละ 95 (ความเข้มข้นร้อยละ 0.05% และ 0.25% ) ใน
อาหารแล้วให้หนูกิน 14 และ/หรือ 90 วัน พบว่าหนูเม้าส์และหนูแรท ที่ได้รับผงขมิ้นในขนาด 5% เป็น
ระยะเวลา 90 วัน จะมีน้าหนักตัวและน้าหนักตับลดลง และมีเซลล์ของตับตาย หนูท่ีได้รับผงขมิ้นในขนาด
ร้อยละ 0.2 หรือร้อยละ 1 เป็นระยะเวลา 14 วัน พบพิษต่อตับ โดยพบความเป็นพิษดังกล่าวในหนูเม้าส์
มากกว่าในหนแู รท สว่ นสารสกัดขมิ้นด้วยเอทานอลร้อยละ 95 ในขนาดทใี่ ห้ ไมพ่ บความเป็นพิษ

การทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลันของผงขมิ้นในหนูแรท พบความเป็นพิษน้อย การทดสอบ
ความเป็นพิษก่ึงเร้ือรัง โดยการป้อนหนูแรทด้วยผงขม้ินขนาด 500 และ 1000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็นเวลา
28 วัน พบว่าค่าต่าง ๆ ในเลือดซึ่งแสดงถึงการทางานของตับที่ผิดปกติมีค่ามากขึ้น แต่การได้รับผงขม้ินใน
ขนาด 1000 มิลลิกรมั /กิโลกรมั เป็นเวลา 28 วนั ไมพ่ บความเปน็ พิษทีร่ นุ แรงในหนแู รท

๑๐

การทดสอบความเป็นพิษของสารในกลุ่ม curcuminoids จากขม้ินเป็นเวลา 6 เดือน พบว่าหนู
แรทในกลุ่มท่ีได้รับการป้อนยาแขวนตะกอน curcuminoids ขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน มีอัตราการ
เจริญเตบิ โตสูงกว่ากลุ่มควบคุมท่ีได้รับ tragacanth ซง่ึ เป็นส่วนประกอบของยาแขวนตะกอน และไมท่ าให้เกิด
ความเป็นแปลงค่าทางโลหิต ท่ีมีความสัมพัทธ์กับขนาดท่ีใช้ และในหนูแรทกลุ่มท่ีได้รับการป้อนยาแขวน
ตะกอน curcuminoids ขนาด 250 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน พบว่ามีน้าหนักตัว น้าหนักสัมพัทธ์ของตับ และ
ระดับ alkaline phosphatase (ALP) สูงกว่ากลุ่มควบคุม แต่ยังอยู่ในช่วงปกติ จากผลการศึกษาทาให้สรุปได้
วา่ การทห่ี นไู ด้รับ curcuminoids ในขนาดทใ่ี หผ้ ลทางการรักษาคือ 10 มิลลกิ รัม/กิโลกรัม/วัน ตดิ ตอ่ กันเป็น
เวลานาน ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเป็นพิษ และการให้ curcuminoids ขนาดสงู อาจมีผลตอ่ การทางานและโครงสร้าง
ของตบั แตเ่ ป็นความเปล่ยี นแปลงทกี่ ลบั เปน็ ปกติใหมไ่ ด้เมือ่ หยุดใช้ curcuminoids

ดังน้ันการรับประทานขมิ้นชั้นในขนาดสูงหรือรับประทานติดต่อเป็นเวลานานต้องตรวจการ
ทางานของตับอยา่ งสมา่ เสมอเนอ่ื งจากตับอาจทางานผดิ ปกตไิ ด้

8. วธิ กี ารใช้

8.1 ตามคาแนะนาของกระทรวงสาธารณสุข (สาธารณสุขมลู ฐาน)

1. ใช้รักษาแผล แมลงกัดต่อย โดยใช้ผงขมิ้นชนั 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ามันมะพร้าว หรือน้ามันหมู 2-
3 ช้อนโต๊ะ เคี่ยวด้วยไฟอ่อนๆ คนจนน้ามันกลายเป็นสีเหลือง ใช้น้ามันท่ีได้ใส่แผล หรืออาจตาจนละเอียดคั้น
เอาน้าใส่แผล โดยก่อนใส่แผลอาจผสมน้าปูนใน สารสม้ หรอื ดินประสวิ เล็กนอ้ ยกอ่ นพอกบริเวณที่เปน็ แผล

2. ใช้รักษากลาก เกลอื้ น โดยผสมผงขม้ินกบั นา้ แล้วทาบริเวณทเ่ี ป็นกลากเกลือ้ น 2 ครงั้ ตอ่ วนั

3. ใช้รักษาอาการท้องเสีย นาผงขมิ้นชันผสมน้าผ้ึงเล็กนอ้ ยพอให้ผงยาจบั เป็นก้อนได้ ปั้นเป็นยา
ลูกกลอนรับประทานหลังอาหารและก่อนนอน คร้ังละ 3-5 เม็ด วันละ 3 เวลา ให้ได้ปริมาณผงขม้ินชัน 1
กรมั ตอ่ วัน

8.2 ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ

รับประทานครั้งละ 2 – 4 แคปซูล (มีผงขม้ินชัน 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม) วันละ 4 คร้ัง หลัง
อาหารและก่อนนอน บรรเทาอาการจดุ เสยี ด

๑๑

2.2 ความหมายของตะไคร้

1. ชื่อสมนุ ไพร ตะไคร้
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Cymbopogon citratus (De ex Nees) Stapf.
ชอ่ื วงศ์ Poaceae (Gramineae)
ช่ือพอ้ ง ไม่มี
ช่อื อังกฤษ Lapine, Lemon grass, West Indian lemongrass
ช่อื ทอ้ งถนิ่ คาหอม, ไคร, จะไคร, เชิดเกรย, หวั สงิ ไค, เหลอะเกรย

2. ลักษณะพนั ธ์ุไม้
ไม้ล้มลุก อายุหลายปี ข้ึนเป็นกอใหญ่ ลาต้นรูปทรงกระบอก แข็ง เกลี้ยง เหง้าใต้ดินมีกล่ินเฉพาะ ใบ

รูปขอบขนานแคบ สีขาวนวลหรอื ขาวปนม่วง แผ่นใบสากและคม ดอกออกยาก เป็นช่อกระจาย สีน้าตาลแดง
แทงออกจากลาต้น ชอ่ ดอกยอ่ ยมกี า้ นออกเป็นคู่ ๆ ดอกหน่ึงมกี า้ น อกี ดอกไมม่ กี า้ น ดอกย่อยน้ยี งั ประกอบด้วย
ดอกเลก็ ๆ 2 ดอก ดอกล่างลดรปู เป็นเพยี งกลีบเดยี วโปร่งแสง ดอกบนสมบูรณ์เพศ มใี บประดับ 2 ใบ ผลเปน็
ผลแห้ง ไมแ่ ตก

3. ส่วนทีใ่ ชเ้ ปน็ ยาและสรรพคณุ
-ทัง้ ต้น รกั ษาอาการแนน่ จกุ เสียด

๑๒

4. สารสาคญั ที่ออกฤทธิ์

น้ามันหอมระเหยของตะไคร้ มีสารสาคัญที่ออกฤทธิ์ลดการบีบตัวของลาไส้ คือ menthol, cineole,
camphor, linalool จึงลดอาการแน่นจุกเสียด และช่วยขับลม นอกจากน้ีมี citral, citronellol,
geraneol และ cineole มฤี ทธ์ยิ บั ยง้ั การเจริญเติบโตของแบคทีเรียได้แก่ E. coli

5. ฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา

5.1 ฤทธิล์ ดการบีบตัวของลาไส้

สารเคมีในน้ามันหอมระเหยของตะไครช้ ่วยขับลม นา้ มนั หอมระเหยของตะไคร้จึงลดอาการแนน่
จกุ เสียดได้

5.2 ฤทธ์ิฆา่ เชอ้ื แบคทเี รียสาเหตุอาการแน่นจุกเสียดและท้องเสีย

เม่ือนาน้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ (ความเข้มข้นร้อยละ 0.3) มาทดสอบ พบว่าสามารถต้าน
เชื้อแบคทีเรียท่ีทาให้เกิดอาการท้องเสียได้ปานกลาง มีการพัฒนาสูตรตารับเจล ล้างมือจากน้ามันตะไคร้
สาหรับยับย้ังเช้ือแบคทีเรียท่ีทาให้เกิดอาการท้องเสีย พบว่าตารับที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเช้ือแบคทีเรีย
ดังกล่าวได้ดีท่ีสุด คือ ตารับที่มีความเข้มข้นของน้ามันตะไคร้ร้อยละ 5 โดยน้าหนัก และมีการจดสิทธิบัตร
สาหรับสารสกัดตะไคร้ที่เป็นส่วนผสมในยา อาหาร หรือเครื่องสาอาง โดยระบุว่าสามารถยับยั้งเช้ือ
แบคทีเรยี E. coli ได้

5.3 ฤทธ์ติ า้ นเชอ้ื รา

สารสกัดดว้ ยเอทานอล และนา้ มนั หอมระเหยจากตะไคร้ สามารถตา้ นเช้ือราท่ีเป็นสาเหตุของโรคผิวหนัง
เช่น กลาก เกล้ือน ได้ โดยน้ามันตะไคร้ท่ีมีสาร citral และ myrcene เป็นส่วนประกอบหลักจะมีฤทธิ์ยับย้ัง
เช้ือราดังกล่าว และเม่ือนาน้ามันตะไคร้ไปพัฒนาเป็นครีมต้านเชื้อรา พบว่าท่ีความเข้มข้นร้อยละ 2.5 และ
3.0 จะใหผ้ ลต้านเชือ้ ราไดด้ ที ่ีสดุ และเหมาะท่จี ะพัฒนาเป็นตารับยาต่อไป

เมือ่ นานา้ มันหอมระเหย และสารสกัดด้วยเฮกเซน, คลอโรฟอรม์ , เอทานอล และน้า มาทดสอบฤทธิ์ต้าน
เช้ือรา พบวา่ น้ามันหอมระเหยและสารสกดั ตะไคร้ดว้ ยเฮกเซนสามารถต้านเช้อื ราไดท้ ุกชนดิ ส่วนสารสกัดด้วย
คลอโรฟอร์มมีฤทธิ์ต้านเช้ือราได้น้อย ในขณะท่ีสารสกัดด้วยเอทานอลและน้าไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อรา และจากผล
การทดลองยังพบว่าสารประกอบหลักในน้ามันหอมระเหย และในสารสกัดด้วยเฮกเซนท่ีมีฤทธิ์ต้านเช้ือราได้ดี
คือ สาร citral

มีการจดสิทธิบัตรผลิตภณั ฑ์ตะไคร้ในรูปของ emulsion และ nanocapsule ท่ีประกอบด้วยน้ามันหอม
ระเหยจากตะไคร้ ใช้สาหรับรักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา E. floccosum, Microsporum
canis และ T. rubrum โดยไปยับย้งั การเจรญิ เติบโตหรอื ฆา่ เซลลข์ องเชือ้ ราดังกล่าว

๑๓

5.4 ฤทธ์ิตา้ นยสี ต์
สารสกัดดว้ ยเอทานอล และนา้ มนั หอมระเหยจากตะไครส้ ามารถตา้ นยีสต์ Candida albicans ได้
5.5 ฤทธิ์แก้ปวด
พบว่าน้ามันหอมระเหยสามารถบรรเทาอาการปวดได้เมื่อฉีดเข้าทางช่องท้องหนูเม้าส์ที่ถูกเหน่ียวนาให้

เกิดความเจ็บปวดด้วยความร้อน หรือหากป้อนน้ามันหอมระเหยในขนาดเท่าเดิมทางปากจะสามารถบรรเทา
อาการปวดไดเ้ มอ่ื เทียบกับยา meperidine

ชาชงตะไคร้ เมื่อป้อนให้หนูเม้าส์กินเป็นเวลา 30 นาที ก่อนท่ีจะเหนี่ยวนาหนูให้ปวดอุ้งเท้าด้วยสารคา
ราจีแนน 100 ไมโครกรัม/อุ้งเท้า หรือด้วยสาร prostaglandin E2 และ dibutyryl cyclic AMP พบว่า
สามารถยบั ย้งั อาการปวดจากการที่ถูกเหนย่ี วนาดว้ ยสารคาราจีแนน และ prostaglandin E2 ได้ แตไ่ ม่ได้ผล
ห า ก เ ห นี่ ย ว น า ใ ห้ ป ว ด ด้ ว ย dibutyryl cyclic AMP น อ ก จ า ก นี้ น้ า มั น ห อ ม ร ะ เ ห ย ต ะ ไ ค ร้ แ ล ะ
สาร myrcene เม่ือป้อนให้หนูที่ถูกเหน่ียวนาให้เกิดอาการปวดด้วย prostaglandin E2 พบว่าสามารถยับยง้ั
อาการปวดได้

5.6 ฤทธ์ิขบั น้าดี
ตะไคร้มีสารชว่ ยในการขบั นา้ ดมี าชว่ ยยอ่ ย คือ borneol, fenchone และ cineole

5.7 ฤทธข์ิ บั ลม
ยาชงตะไครเ้ มอื่ ใหร้ บั ประทานไมม่ ผี ลขับลม แต่ถ้าให้โดยฉดี ทางชอ่ งทอ้ งจะใหผ้ ลดี

6. อาการขา้ งเคียง
ยงั ไมม่ รี ายงาน

7. ความเป็นพษิ ทัว่ ไปและต่อระบบสบื พันธ์ุ
7.1 การทดสอบความเป็นพิษ

มีผู้ทดสอบพิษของชาท่ีเตรียมจากตะไคร้พบว่าเมื่อให้อาสาสมัครสุขภาพดีรับประทานชาตะไคร้ 1 ครั้ง
หรือรับประทานวันละคร้ังเป็นเวลา 2 สัปดาห์ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในเลือด เม็ดเลือดและปัสสาวะ
มบี างรายเทา่ น้นั ทีม่ ีปริมาณบิลลริ ูบิน และ amylase สงู ขึน้ จึงนับวา่ ปลอดภยั น้ามนั ตะไครเ้ มื่อผสมในน้าหอม
โดยผสมน้ามันตะไคร้ร้อยละ 0.8 พบว่ามีอาการแพ้ อย่างไรก็ตามการแพ้นี้อาจเกิดจากสารอ่ืนได้ และมี
รายงานความเป็นพษิ ต่อถุงลมปอดเมือ่ สูดดมนา้ มนั ตะไคร้

เมื่อใหน้ ้ามันหอมระเหยตรงเข้าทางกระเพาะอาหารกระต่าย พบว่ามีพิษเล็กน้อย ส่วนพิษในหนู
แรทไม่ชัดเจน และเมื่อป้อนสารสกัดใบด้วยแอลกอฮอล์และน้าในอัตราส่วน 1:1 เข้ากระเพาะอาหารหนูเมา้ ส์

๑๔

พบว่ามีพิษ แต่สารสกัดใบด้วยน้า เมื่อให้ทางปากกลับไม่พบพิษ ไม่เป็นพิษต่อตัวอ่อน และไม่มีผลต่อน้าหนัก
ตัวของหนูแรท การป้อนยาชงตะไคร้ให้หนูแรทในขนาด 20 เท่าของขนาดท่ีใช้ในคนเป็นเวลานาน 2 เดือน ก็
ไม่พบความเป็นพิษ สาหรับการศึกษาพิษเฉียบพลันของน้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ พบว่าหนูแรทกลุ่มที่ได้
ตะไคร้จะโตเรว็ กว่ากลุ่มควบคมุ แต่ค่าเคมีในเลอื ดไม่เปลีย่ นแปลง

7.2 ฤทธกิ์ อ่ กลายพันธ์ุ
สารสกัดตะไคร้ด้วยเอทานอลร้อยละ 80 สารสกัดด้วยน้า ตะไคร้แห้ง และน้าต้มใบตะไคร้กับ

เน้ือ (วัว ไก่ หมู) ไมม่ ฤี ทธิก์ ่อกลายพนั ธใุ์ น Staphylococcus typhimurium TA98 และ TA100
7.3 พิษต่อยีน
ตะไครส้ ด ไมม่ ีพษิ ต่อยีน และ b-myrcene ซงึ่ เปน็ สารสาคญั ก็ไม่พบพษิ เชน่ กัน
7.4 พิษต่อเซลล์
น้ามนั หอมระเหยและสาร citral ซ่งึ เป็นสารที่ได้จากน้ามันหอมระเหยจากใบ มคี วามเปน็ พิษต่อ

เซลล์ P388 mouse leukemia สารสกัดจากใบด้วยเมทานอล มีฤทธิ์ไม่แน่นอนต่อเซลล์มะเร็ง CA-9KB แต่
ในขนาด 20 ไมโครกรัม/มลิ ลิลติ ร ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ Raji

8. วิธีการใชต้ ะไคร้รกั ษาอาการแน่นจุกเสียด
8.1 ตามคาแนะนาของกระทรวงสาธารณสุข (สาธารณสขุ มูลฐาน)

1. นาตะไคร้ท้ังต้นรวมทั้งรากจานวน 5 ตน้ สบั เป็นทอ่ น ต้มกบั เกลอื เตมิ น้าตม้ 3 ส่วน ให้
เหลือ 1 สว่ น ดื่มครัง้ ละ 1 ถ้วยแก้ว ตดิ ตอ่ กนั 3 วนั จะหายปวดท้อง

2. นาลาต้นแกส่ ดๆทุบพอแหลกประมาณ 1 กามือ (40-60 กรมั ) ต้มเอานา้ ดม่ื
8.2 ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลกั แหง่ ชาติ

ไม่มี

๑๕

2.3 ขัน้ ตอนการสร้างแผน่ พับจาก MS-Words
(1) ไปท่ี Microsoft Office Word 2016

(2) เม่อื เปิดเขา้ มาแล้วจะไดห้ นา้ ตาของ Microsoft Office Word 2016 แบบนี้

๑๖

(3) จากน้ันไปที่เคา้ โครงหนา้ กระดาษ เลอื กการวางแนว แล้วกดต้ังคา่ ให้เป็นแนวนอน

(4) จากนัน้ ไปที่เคา้ โครงหน้ากระดาษ เลือกระยะขอบ แล้วกดต้งั ค่าท่ีแคบ

๑๗

(5) จากนน้ั ไปทเ่ี คา้ โครงหนา้ กระดาษ เลอื กคอลัมน์ แลว้ ไปคอลมั น์เพ่มิ เติม แลว้ กดเลอื กสาม

(6) จากนนั้ ติก๊ เลอื กเส้นคั่นระหวา่ งคอลัมน์ แล้วกดตกลง

๑๘

(7) เมื่อกดตกลงแลว้ กจะได้หน้าตาแบบน้พี ร้อมใส่ขอ้ มลู

(8) จากนนั้ เวลาพิมพเ์ นื้อหาใหพ้ มิ พ์ตามช่องที่เรียงไว้นะคะ

๑๙

(9) เมอื่ นาเนอ้ื หามาใสเ่ รยี บร้อยแลว้ ก็เปน็ อันเสรจ็ กับการทาแผน่ พับ

บทที่ 3

วธิ ีการศกึ ษาและปฏบิ ัติ

การศึกษาโครงงานเรอื่ ง การทาสบูเ่ หลวสมนุ ไพรออแกนิค ด้วยการจดั การเรยี นรู้แบบกลุ่มรว่ มมือของ
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบา้ นหลับมนื พรวน ผ้จู ัดทาโครงการ

ดาเนนิ การตามลาดบั ดังนี้

1. เลือกช่ือเรื่อง
2. ศึกษาแหลง่ เรียนรู้
3. นาเสนอเรื่อง ปรึกษาครูผสู้ อน
4. ศึกษาค้นคว้าจากแหลง่ เรยี นรู้
5. นาไปปรกึ ษาครูผู้สอน
6. วางแผนการดาเนนิ งานการเขียน
7. ลงมอื ปฏบิ ัติ
8. บรกิ ารสบู่ ุคลากรและชุมชน
9. ส่งผลงาน

วสั ดุ /อุปกรณ์

(1) หัวแชมพู N70 1 กโิ ลกรัม (2) ผงขน้ 2 ขีด

ภาพที่ 3.1 หัวแชมพู ภาพที่ 3.2 ผงข้น
(3) น้าหอม 10 ซซี ี (4) นา้ ผงึ้ 1 ช้อนโต๊ะ

ภาพท่ี 3.3 นา้ หอม ภาพท่ี 3.4 น้าผ้ึง

๒๑

(5) ไม้พาย (6) ขมนิ้ 5 ขีด

ภาพท่ี 3.6 ไมพ้ าย ภาพที่ 3.5 ขมิน้ ชัน

(7) หมอ้ (8) มีด

ภาพท่ี 3.7 หมอ้ ภาพท่ี 3.8 มดี

(9) ตะไคร้ 5 ขดี

ภาพท่ี 3.9 ตะไคร้

๒๒

วิธีทาสบเู่ หลวจากขมน้ิ นา้ ผง้ึ

1. นาขมิ้นมาล้างนา้ ใหส้ ะอาด และปอกเปลือกขมิ้น แล้วนาขมนิ้ มาทบุ และนาไปต้มกบั น้าเปล่า จากน้นั
กรองเอาแต่น้าขมิ้น

2. ละลายผงขน้ กบั น้าร้อน

3. กวนหวั เช้ือ N 70 จากสีครีมใหเ้ ป็นสขี าว

๒๓

4. เตมิ ผงข้นท่ีละลายกับนา้ ร้อนลงไปกวนรวมกับหัวเช้ือ N 70 จนเป็นเน้ือเดียวกนั (เติมผงขน้ ในขณะท่ี
รอ้ นอยเู่ พอื่ ให้หวั เชอ้ื จับตวั เป็นก้อน)

5. เตมิ น้าขม้นิ ลงไปทลี ะนอ้ ย กวนจนเป็นเน้อื เดยี วกัน จนครบ 3 กโิ ลกรัม

6. เตมิ น้าผ้งึ และหัวน้าหอม กวนจนเป็นเนอ้ื เดียวกัน

7. พักไวอ้ ยา่ งน้อย 4 – 6 ชั่วโมง 8. นาสบเู่ หลวท่ไี ด้บรรจขุ วด

๒๔

วิธีทาสบู่เหลวจากตะไคร้

1. นาตะไคร้มาล้างน้าใหส้ ะอาด นาตะไคร้มาทบุ และนาไปตม้ กบั นา้ เปลา่ จากนนั้ กรองเอาแตน่ า้ ตะไคร้

2. ละลายผงข้นกบั นา้ ร้อน

3. กวนหัวเชอ้ื N 70 จากสีครมี ให้เปน็ สขี าว

4. เติมผงขน้ ทลี่ ะลายกบั นา้ ร้อนลงไปกวนรวมกบั หวั เชอ้ื N 70 จนเป็นเนื้อเดียวกัน (เติมผงข้นในขณะท่ี
ร้อนอยู่เพ่อื ใหห้ ัวเช้อื จับตัวเป็นกอ้ น)

๒๕

5. เตมิ นา้ ตะไครล้ งไปทีละน้อย กวนจนเป็นเนื้อเดียวกัน จนครบ 3 กโิ ลกรัม

6. เตมิ หัวน้าหอม กวนจนเป็นเน้ือเดียวกัน

7. พกั ไวอ้ ย่างน้อย 4 – 6 ชัว่ โมง 8. นาสบูเ่ หลวท่ไี ด้บรรจขุ วด

บทที่ 4

ผลการดาเนินงานโครงงาน

ในการจดั ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การพฒั นาส่ือเพ่ือการศึกษา เร่อื ง สบเู่ หลวสมุนไพร
ออแกนคิ น้ี มผี ลการดาเนินงานดงั นี้

4.1ผลการพฒั นาสื่อเพอื่ การศึกษา

การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง สบู่เหลวสมุนไพรออแกนิค คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงาน
ตามขั้นตอนในบทที่ 3 แล้ว ได้ลงมือปฏิบัติเป็นท่เี รียบร้อย

4.2 ผลการทดลองทาสบสู่ มนุ ไพร

จากการทาสบู่พบว่าสบู่สมุนไพรขมิ้น และตะไคร้น้ัน ออกมารูปทรงท่ีสวยงามตาม
ต้องการ มีกล่ินหอมจากสมุนไพร และมีสีสันที่ได้จากธรรมชาติ ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี เช่นไม่มี
การใช้สารเพิ่มฟอง สารที่ทาร้ายผิว ซ่ึงคณะผู้จัดทาและเพื่อนๆได้ทดลองใชแ้ ลว้ พบว่าสบู่สมนุ ไพร
ท่ีมสี ว่ นผสมของขมิ้น และตะไคร้นัน้ มีคุณสมบตั ิท่ี ทาให้ผิวสะอาด ไม่แห้งตงึ มีคา่ ph ทเี่ หมาะสม
ไม่ทารา้ ยผิวอยา่ งแนน่ อน

ตวั อยา่ งผลงาน

บทที่ 5
สรุปและขอ้ แนะนา

ผู้ศกึ ษาได้ศึกษาโครงงาน เร่อื ง สบเู่ หลวสมุนไพรออแกนิค โดยมจี ุดม่งุ หมาย ดงั นี้

1. ป้องกนั และลดการแพร่ของเชอ้ื โรคที่เปน็ สาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กดิ โรคและไข้หวดั ต่าง ๆ
2. เปน็ การนาสมุนไพรใกลต้ ัวทเ่ี รารู้จักมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์
3. เปน็ การเพ่ิมรายได้
4. ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์
5. เรยี นรู้การทางานร่วมกัน เกดิ ความสามคั คี
6. ได้รับประสบการณใ์ หมๆ่

สรุป

ในการทาสบูเ่ หลวสมนุ ไพรออแกนิค ทาให้ผู้จัดทาทราบว่า เมอ่ื ทาเสร็จควรจะพักไวจ้ นกว่าสบเู่ หลว
จะหมดฟอง เพอื่ ใหง้ ่ายต่อการบรรจลุ งในผลติ ภณั ฑ์

ขอ้ เสนอแนะ

1. เราไมค่ วรคนสวนทางกัน เพราะจะทาใหผ้ ลิตภัณฑ์ไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร
2. เมื่อทาเสร็จแลว้ เราควรจะรอให้ฟองหมดไป เพราะจะทาให้ง่ายต่อการบรรจุ


Click to View FlipBook Version