The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรระดับชั้นเรียน ภาษาไทย ม.4 ภาคเรียนที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krunuch0324, 2022-09-02 18:18:38

หลักสูตรระดับชั้นเรียน ภาษาไทย ม.4 ภาคเรียนที่ 1

หลักสูตรระดับชั้นเรียน ภาษาไทย ม.4 ภาคเรียนที่ 1

หลกั สตู รระดบั ช้นั เรยี น วชิ าภาษาไทย
รายวิชาภาษาไทยเพมิ่ เติม

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑
ปีการศึกษา ๒๕๖๕

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาอุดรธานี
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ได้จดั ทาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทยฉบบั น้ี
ซงึ่ เปน็ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นไชยวานวิทยา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร-
แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพือ่ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น และ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการสอน ใหต้ รงตามมาตรฐาน
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้ ของกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โดยพจิ ารณาตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษา- ข้ันพน้ื ฐาน 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนไชย
วานวิทยา พทุ ธศักราช 2564 ซึง่ มีองคป์ ระกอบดงั น้ี

- วสิ ัยทัศน์ หลกั การ จุดหมาย
- สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น
- คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- ทักษะกระบวนการ
- คุณภาพผเู้ รยี น
- ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- รายวชิ าทเี่ ปิดสอน
- คาอธิบายรายวชิ าและโครงสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐาน
- สือ่ /แหล่งเรียนรู้
- การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
คณะผู้จดั ทาขอขอบคุณผ้ทู ม่ี สี ่วนรว่ มในการพัฒนาและจดั ทาหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ฉบับนี้ จนสาเรจ็ ลลุ ่วงเปน็ อยา่ งดี และหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์ต่อการจดั การเรียนรู้
ให้กับผู้เรียนตอ่ ไป

คณะผู้จดั ทา
ปีการศกึ ษา 256๕

วิสัยทัศนก์ ลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
"กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามรู้ ทักษะทางภาษาไทยนาไปใช้

ในการดารงชวี ติ และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรใู้ นศาสตร์อื่น ๆ รักและภมู ใิ จในภาษาไทย
ในฐานะเปน็ มรดกของชาติ”

หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ๒๕๕๑
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มงุ่ พัฒนาผูเ้ รียนทุกคน ซงึ่ เป็นกาลังของชาตใิ หเ้ ปน็ มนุษย์

ทีม่ ีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ัน-
ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีความรูแ้ ละทักษะพ้ืนฐาน
รวมท้งั เจตคติ ทจี่ าเป็นต่อการศกึ ษาต่อการประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ิต โดยมุ่งเน้นผ้เู รยี น-
เป็นสาคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่า ทกุ คนสามารถเรียนรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลกั การ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีหลักการท่ีสาคัญ ดงั น้ี

๑. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาเพื่อความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้นื ฐานของ-
ความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล

๒. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค
และมีคุณภาพ

๓. เป็นหลกั สตู รการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา
ใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถน่ิ

๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทม่ี ีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทงั้ ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้
๕. เป็นหลักสตู รการศึกษาทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั
๖. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม-
ทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มุง่ พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มคี วามสุข

มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเปน็ จุดหมายเพื่อให้เกดิ กบั ผู้เรียน
เม่อื จบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ดงั น้ี

๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏบิ ัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ
๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนสิ ัย และรักการออกกาลังกาย
๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สานกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวถิ ชี ีวติ
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๕. มจี ิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิง่ แวดลอ้ ม
มีจิตสาธารณะที่ม่งุ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งที่ดงี ามในสงั คม และอย่รู ่วมกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสุข

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ม่งุ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษา

ถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารและ
ประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอ่ รองเพ่อื ขจัด
และลดปัญหาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลอื กรบั หรือไม่รบั ข้อมลู ข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มตี อ่ ตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิดอยา่ ง-
สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนาไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรอื
สารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญ-
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรมู้ าใช้ในการปอ้ งกัน
และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่เี กดิ ขน้ึ ต่อตนเอง สงั คม
และสง่ิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการ-
ดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทางาน และการอยู่รว่ มกนั ใน
สงั คมด้วยการสร้างเสรมิ ความสมั พันธอ์ นั ดรี ะหว่างบคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ ง
เหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลกี เล่ยี ง
พฤติกรรม- ไมพ่ งึ ประสงค์ท่สี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อน่ื

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่อื ให้-

สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่นในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. ม่งุ ม่ันในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ การอา่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพือ่ นาไปใช้ตดั สนิ ใจ

แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชีวิต และมีนิสัยรกั การอ่าน

สาระที่ ๒ การเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ

และเขียนเรื่องราวในรปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้

อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ
ความรสู้ ึก ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ

สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็
คณุ คา่ และนามาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง

ทักษะและกระบวนการกลมุ่ สาระวชิ าภาษาไทย

กลุ่มสาระวชิ าภาษาไทย ได้ใช้ทักษะที่จาเปน็ ในการจัดการเรยี นรู้ และมีขนั้ ตอนดังน้ี
๑. ทกั ษะกระบวนการ ๙ ข้ัน มขี ้ันตอนดงั น้ี

๑.๑ ตระหนักในปัญหาและความจาเปน็
ครยู กสถานการณ์ตัวอย่างใหผ้ เู้ รยี นเข้าใจและตระหนักในปัญหา ความจาเป็นของเร่ืองทจ่ี ะ
ศกึ ษาหรือเหน็ ประโยชน์ ความสาคัญของการศึกษานัน้ ๆ โดยครูอาจนาเสนอเป็นกรณตี ัวอย่าง หรอื
สถานการณ์ทสี่ ะท้อนใหเ้ หน็ ปัญหาความขัดแยง้ ของเรื่องที่จะศกึ ษาโดยใชส้ อื่ ประกอบ เชน่ รปู ภาพ วิดที ัศน์
สถานการณจ์ รงิ กรณีตวั อย่าง สไลด์ ฯลฯ
๑.๒ คิดวิเคราะหว์ ิจารณ์
ครกู ระตนุ้ ให้ผู้เรียนไดค้ ิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ตอบคาถาม แบบฝึกหัด ข้อมูลและให้โอกาส
ผูเ้ รียนแสดงความคิดเหน็ เป็นกลุม่ หรือรายบคุ คล
๑.๓ สรา้ งทางเลือกใหห้ ลากหลาย
เป็นโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นแสวงหาทางเลือกในการแกป้ ญั หาอย่างหลากหลายโดยรว่ มกันคิดเสนอ
ทางเลอื ก และอภปิ รายข้อดีข้อเสยี ของทางเลือกน้นั ๆ
๑.๔ ประเมินและเลอื กทางเลือก
ใหผ้ ู้เรียนพิจารณาตัดสนิ เลือกแนวทางในการแก้ปัญหาโดยร่วมกันสรา้ งเกณฑ์ทตี่ ้องนึกถงึ ปัจจยั
วิธีดาเนนิ การ ผลผลิต ขอ้ จากัด ความเหมาะสม กาลเทศะ เพื่อใช้ในการพจิ ารณาการเลือกแนวทางการ
แกป้ ญั หา ซ่ึงอาจใชว้ ิธีระดมพลังสมอง อภปิ ราย ศึกษาคน้ ควา้ เพม่ิ เติม

๑.๕ กาหนดและลาดบั ขัน้ ตอนการปฏิบัติ
ให้ผ้เู รียนวางแผนการทางานของตนเองหรือกลุม่ อาจใชล้ าดบั ขนั้ การดาเนินงานดังน้ี

- ศกึ ษาข้อมูลพนื้ ฐาน
- กาหนดวตั ถปุ ระสงค์
- กาหนดขั้นตอนการทางาน
- กาหนดผรู้ บั ผิดชอบ (กรณีทางานรว่ มกันเปน็ กลมุ่ )
- กาหนดระยะเวลาการทางาน
- กาหนดวธิ ีการประเมินผล
๑.๖ ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความชน่ื ชม
เปน็ โอกาสให้ผูเ้ รยี นได้ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนท่ีกาหนดไวด้ ้วยความสมัครใจ ตงั้ ใจมีความ
กระตือรอื รน้ และเพลดิ เพลนิ กับการทางาน
๑.๗ ประเมินระหวา่ งปฏิบัติ
ผู้เรียนได้สารวจปญั หาอปุ สรรคในการปฏิบตั งิ านโดยการซักถามอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ มีการ
ประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามขั้นตอนและตามแผนที่กาหนดไว้ โดยสรุปผลการทางานแตล่ ะช่วง แล้ว
นาเสนอแนวทางการปรับปรุงการทางานข้นั ต่อไป
๑.๘ ปรบั ปรุงใหด้ ขี ึ้นอยู่เสมอ
ผเู้ รยี นนาผลท่ีได้จากการประเมนิ ในแต่ละขน้ั ตอนมาเปน็ แนวทางในการพฒั นางานให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน
๑.๙ ประเมินผลรวมเพ่ือใหเ้ กดิ ความภมู ิใจ
ผู้เรียนสรปุ ผลการดาเนินงาน โดยการเปรียบเทยี บผลงานกับวตั ถปุ ระสงค์ท่กี าหนดไวแ้ ละผลพลอยไดอ้ ่ืนๆ
ซง่ึ อาจเผยแพรข่ ยายผลงานแกผ่ อู้ ่นื ได้รบั ด้วยความเตม็ ใจ
๒. กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด มีข้ันตอนดังนี้

๒.๑ สังเกต
ใหผ้ เู้ รยี นรับรูข้ ้อมลู และศกึ ษาดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆโดยใชส้ อื่ ประกอบเพ่ือกระตนุ้ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ
ข้อกาหนดเฉพาะดว้ ยตนเอง
๒.๒ จาแนกความแตกต่าง
ใหผ้ ้เู รยี นบอกข้อแตกต่างของสิ่งทรี่ บั รู้และให้เหตผุ ลในความแตกตา่ งนั้น
๒.๓ หาลกั ษณะรว่ ม
ผเู้ รยี นมองเห็นความเหมือนในภาพของส่ิงที่รับรูแ้ ละสรุปเปน็ วิธกี าร หลักการ คาจากัด
ความ หรอื นิยามได้
๒.๔ ระบชุ ่ือความคิดรวบยอด
ผูเ้ รยี นไดค้ วามคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งทรี่ ับรู้
๒.๕ ทดสอบและนาไปใช้
ผ้เู รียนไดท้ ดลอง ทดสอบ สงั เกต ทาแบบฝึกหดั ปฏบิ ตั ิ เพ่ือประเมนิ ความรู้

๓. กระบวนการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ

เปน็ ความสามารถทางกระบวนการทางปัญญาท่ีเก่ียวข้องกบั การรบั รู้ เกิดความจา เข้าใจ
จนถึงขน้ั การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ ค่าตามแนวของ BLOOM แนวหนง่ึ อีกแนวหนงึ่ เป็นแนวคิด
ของ GAGNE ทีเ่ ป็นกระบวนการเริม่ จากสัญลกั ษณท์ างภาษาจนโยงเป็นความคดิ รวบยอด เป็นกฎเกณฑ์
และ นากฎเกณฑ์ไปใชแ้ ละเพื่อให้งา่ ยตอ่ การสอนซ่ึงไม่จาเปน็ ตอ้ งใชเ้ ป็นขนั้ ๆ อาจจะเลอื กใช้เทคนิคใด
ก่อนหลงั ก็ได้ขนึ้ อยู่กบั การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน แตค่ วรพยายามกระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นผา่ นข้ันตอนย่อย
ทกุ ข้นั ตอน

๓.๑ สงั เกต
เน้นการใหท้ ากจิ กรรมรับรู้แบบปรนยั เข้าใจ ได้ความคอดรวบยอด เชื่อมโยงความสัมพันธ์
ของสิง่ ตา่ งๆ สรปุ เป็นใจความสาคญั ครบถ้วน ตรงตามหลักฐานข้อมลู
๓.๒ อธบิ าย
ใหผ้ เู้ รียนตอบคาถาม แสดงความคดิ เห็น เชงิ เห็นดว้ ยไมเ่ หน็ ด้วยกบั ส่งิ ท่ีกาหนดเน้นการใช้
เหตผุ ลดว้ ยหลักการกฎเกณฑ์ อ้างหลกั ฐานข้อมลู ประกอบให้น่าเชื่อถอื
๓.๓ รบั ฟงั
ใหผ้ เู้ รียนได้ฟังความคิดเหน็ ไดต้ อบคาถามวพิ ากษว์ ิจารณจ์ ากผอู้ ่นื ทม่ี ตี ่อความคดิ ของตน
เน้นการปรบั เปลยี่ นความคดิ เดมิ ของตนตามเหตผุ ลหรือข้อมลู ท่ดี ี โดยไม่ใช้อารมณ์หรือด้ือเพ่งต่อความคิด
เดิม
๓.๔ เช่ือมโยงความสมั พนั ธ์
ใหผ้ เู้ รียนได้เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง และความคลา้ ยคลงึ ของสิ่งต่างๆให้สรปุ จดั กลมุ่ สง่ิ ท่ี
เป็นพวกเดยี วกัน เชือ่ มโยงเหตุการณ์เชิงหาเหตุและผล หากกฎเกณฑก์ ารเชอ่ื มโยงในลักษณะอุปมาอปุ มยั
๓.๕ วจิ ารณ์
จดั กิจกรรมให้วเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ คากลา่ ว แนวคิด หรอื การกระทา แล้วใหจ้ าแนกหา
จุดเด่น-จดุ ดอ้ ย สว่ นดี-ส่วนเสยี สว่ นสาคญั -ไม่สาคัญ จากส่ิงนนั้ ด้วยการยกเหตผุ ล หลักการ มาประกอบ
การวจิ ารณ์
๓.๖ สรุป
จัดกจิ กรรมให้พจิ ารณาสว่ นประกอบของการกระทาหรอื ข้อมลู ตา่ งๆท่เี ช่ือมโยงเกี่ยวข้อง
กัน แล้วให้สรปุ ผลอยา่ งตรงและถูกต้องตามหลักฐานข้อมลู
๔. กระบวนการปฏิบัติ
เป็นกระบวนการทีม่ ุง่ ใหผ้ ู้เรียนปฏิบัตจิ นเกิดทักษะ มขี นั้ ตอนดงั น้ี
๔.๑ สังเกตรับรู้
ใหผ้ ้เู รียนได้เห็นตวั อย่างหลากหลายจนเกิดความเข้าใจและสรปุ ความคิดรวบยอด
๔.๒ ทาตามแบบ
ทาตามตวั อย่างที่แสดงใหเ้ ห็นทีละขั้นตอนจากขนั้ พื้นฐานไปส่งู านท่ซี ับซ้อนขน้ึ
๔.๓ ทาเองโดยไม่มีแบบ
เปน็ การให้ฝึกปฏบิ ัตชิ นิดครบถ้วนกระบวนการทางาน ตั้งแตต่ น้ จนจนด้วยตนเอง
๔.๔ ฝกึ ใหช้ านาญ
ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ้วยตนเองจนเกิดความชานาญ หรอื ทาได้โดยอตั โนมัติ ซึ่งอาจเปน็ งานชน้ิ เดิม
หรืองานท่ีคดิ ข้ึนใหม่

๕. กระบวนการเรียนภาษา
เปน็ กระบวนการทีม่ ุ่งให้เกดิ การพฒั นาทักษะทางภาษา มีขนั้ ตอนดงั น้ี
๕.๑ ทาความเข้าใจสัญลักษณ์ สือ่ รูปภาพ รูปแบบ เคร่ืองหมาย ผ้เู รียนรับรเู้ กี่ยวกับ

ความหมายของคา กลุ่มคา ประโยคและถอ้ ยคา สานวนต่างๆ
๕.๒ สร้างความคิดรวบยอด
ผเู้ รียนเกดิ การเชอ่ื มโยงความรจู้ ากประสบการณ์ มาสคู่ วามเขา้ ใจและเกิดภาพรวมเกยี่ วกบั

สง่ิ ทเี่ รยี นด้วยตนเอง
๕.๓ สื่อความหมาย ความคิด
ผู้เรยี นถา่ ยทอดทางภาษาใหผ้ อู้ ืน่ เข้าใจได้
๕.๔ พฒั นาความสามารถ
ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ตามขนั้ ตอนคือความรคู้ วามจา เขา้ ใจ นาไปใชว้ เิ คราะห์ สงั เคราะห์

และประเมนิ ค่าได้

๖. กระบวนการกล่มุ
เป็นกระบวนการมงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นทางานร่วมกนั โดยเนน้ กจิ กรรมดังน้ี
๖.๑ มผี ้นู ากลมุ่ ซ่งึ อาจผลดั เปลย่ี นกนั
๖.๒ วางแผนกาหนดวัตถุประสงคแ์ ละวธิ กี าร
๖.๓ รับฟงั ความคิดเห็นจากสมาชกิ ทกุ คนบนพนื้ ฐานของเหตผุ ล
๖.๔ แบ่งหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบ เมื่อมกี ารปฏิบัติ
๖.๕ ติดตามผลการปฏบิ ตั ิและปรบั ปรงุ
๖.๖ ประเมินผลรวมและชนื่ ชมในผลงานของคณะ

๗. กระบวนการเรยี นความรูค้ วามเข้าใจ

ใชก้ บั การเรยี นเน้ือหาเชงิ ความรู้ตามความจรงิ มขี น้ั ตอนดงั นี้
๗.๑ สังเกต ตระหนัก
พิจารณาขอ้ มูล สาระความรู้ เพื่อความสร้างความคดิ รวบยอด กระตุ้นให้ตั้งคาถาม ต้งั

ข้อสงั เกต สังเคราะห์ข้อมูล เพอ่ื ทาความเขา้ ใจในสงิ่ ท่ีตอ้ งการเรยี นรู้ และกาหนดเป็นวตั ถุประสงค์เป็น
แนวทางท่ีจะแสวงหาคาตอบตอ่ ไป

๗.๒ วางแผนปฏิบัติ
นาวัตถปุ ระสงคห์ รือคาถามท่ีทุกคนสนใจจะหาคาตอบมาวางแผนเพ่ือกาหนดแนวทาง
ปฏบิ ัติทีเ่ หมาะสม
๗.๓ ลงมอื ปฏบิ ัติ
กาหนดให้สมาชิกในกลมุ่ ย่อย ๆ ได้แสวงหาคาตอบจากแหล่งความรดู้ ้วยวธิ ตี า่ งๆ เช่น
คน้ ควา้ ศกึ ษานอกสถานท่ี หาข้อมูลจากองค์กรในชมุ ชน ฯลฯ ตามแผนทวี่ างไว้
๗.๔ พัฒนาความร้คู วามเข้าใจ
นาความรทู้ ่ีไดม้ ารายงานและอภปิ รายเชิงแปลความ ตคี วาม ขยายความ นาไปใช้วิเคราะห์
สังเคราะห์ และประเมินค่า
๗.๕ สรปุ

คณุ ภาพของผูเ้ รยี น

จบชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถกู ต้องและเข้าใจ ตีความ แปล
ความ และขยายความเร่ืองท่ีอ่านได้ วเิ คราะห์วิจารณเ์ ร่ืองท่ีอา่ น แสดงความคดิ เหน็ โต้แย้ง และเสนอ
ความคดิ ใหม่ จากการอา่ นอย่างมีเหตผุ ล คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผัง
ความคดิ บันทึก

ย่อความ และเขยี นรายงานจากสงิ่ ท่อี ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรคู้ วามคิดจากการอา่ นมา
พฒั นาตน พฒั นาการเรยี น และพัฒนาความร้ทู างอาชพี และนาความรู้ความคดิ ไปประยุกต์ใช้แกป้ ัญหา
ในการดาเนนิ ชีวติ มีมารยาท และมนี สิ ัยรักการอา่ น

เขยี นสื่อสารในรูปแบบตา่ งๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ย่อความจากสอื่ ทม่ี ี
รปู แบบและเน้ือหาทีห่ ลากหลาย เรยี งความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรคโ์ ดยใชโ้ วหารต่างๆ เขียนบันทกึ
รายงาน-การศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขยี นทางวิชาการ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการอา้ งองิ ผลิตผลงานของ
ตนเองในรปู แบบต่างๆ ท้ังสารคดีและบนั เทิงคดี รวมทั้งประเมนิ งานเขียนของผอู้ ่ืน และนามาพฒั นางาน
เขียน- ของตนเอง

ตง้ั คาถามและแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับเร่อื งที่ฟังและดู มีวจิ ารณญาณในการเลือกเร่อื งท่ีฟงั และ
ดู วิเคราะหว์ ัตถปุ ระสงค์ แนวคดิ การใชภ้ าษา ความน่าเชอื่ ถอื ของเรื่องท่ีฟังและดู ประเมินสง่ิ ทฟ่ี งั และดู
แลว้ นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต มที ักษะการพดู ในโอกาสต่างๆ ทัง้ ทีเ่ ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ
โดย ใช้ภาษาทถ่ี ูกต้อง พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคดิ ใหมอ่ ย่างมเี หตุผล รวมทัง้ มี
มารยาท ในการฟัง ดู และพูด

เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคา-
สรา้ งประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคาประพนั ธป์ ระเภท กาพย์ โคลง รา่ ยและฉันท์ ใชภ้ าษาได้-
เหมาะสมกบั กาลเทศะ และใชค้ าราชาศพั ท์และคาสุภาพไดอ้ ย่างถูกต้อง วิเคราะหห์ ลกั การสรา้ งคาใน
ภาษาไทย อิทธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย และภาษาถิ่น วเิ คราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจาก
สอ่ื ส่งิ พมิ พแ์ ละส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์

วเิ คราะหว์ จิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรม ตามหลักการวิจารณว์ รรณคดีเบื้องตน้ รู้และเข้าใจ
ลกั ษณะ-เด่นของวรรณคดี ภูมปิ ัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้นื บา้ น เช่ือมโยงกบั การเรียนรู้ทาง
ประวตั ิศาสตรแ์ ละ วิถีไทย ประเมนิ คุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง

ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ การอ่าน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หาใน
การดาเนินชีวติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.๔-ม.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย
และบทร้อยกรองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
ไพเราะ และเหมาะสมกับเร่ืองทีอ่ ่าน - บทรอ้ ยแก้วประเภทตา่ งๆ เช่น บทความ นว
นยิ าย และความเรยี ง

- บทรอ้ ยกรอง เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน
รา่ ย และลิลิต

๒. ตีความ แปลความ และขยายความ  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เชน่

เรอ่ื งท่ีอ่าน - ขา่ วสารจากส่อื ส่งิ พิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์

๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรือ่ งท่ีอา่ น และแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ในชมุ ชน

ในทกุ ๆ ดา้ นอย่างมเี หตุผล - บทความ - นทิ าน

๔. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรื่องที่อ่าน - เรอ่ื งส้ัน - นวนยิ าย
และประเมนิ ค่าเพื่อนาความรู้ ความคดิ
ใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปัญหาการดาเนนิ ชีวิต - วรรณกรรมพนื้ บา้ น - วรรณคดใี นบทเรยี น

๕. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความ - บทโฆษณา - สารคดี
คดิ เหน็ โต้แย้งกับเร่ืองท่ีอ่าน และเสนอ
ความคิดใหมอ่ ยา่ งมเี หตุผล - บันเทงิ คดี - ปาฐกถา

- พระบรมราโชวาท - เทศนา

๖. ตอบคาถามจากการอา่ นประเภท - คาบรรยาย - คาสอน

ตา่ งๆ ภายในเวลาท่กี าหนด - บทรอ้ ยกรองรว่ มสมยั

๗. อ่านเร่ืองต่างๆ แลว้ เขียนกรอบ - บทเพลง

แนวคิดผงั ความคิด บันทึก ย่อความ - บทอาเศียรวาท

และรายงาน - คาขวัญ

๘. สังเคราะห์ความรจู้ ากการอ่าน

สอ่ื สง่ิ พิมพ์ ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ และ

แหลง่ เรยี นร้ตู ่างๆ มาพฒั นาตน

พฒั นาการเรยี น และพฒั นาความรู้

ทางอาชีพ

๙. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น

สาระที่ ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวในรูปแบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.๔-๖ ๑. เขยี นสอ่ื สารในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ
ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษา
เรยี บเรียงถกู ต้อง มีขอ้ มูล
และสาระสาคัญชดั เจน

๒. เขยี นเรียงความ  การเขียนเรยี งความ

๓. เขียนย่อความจากส่ือท่ีมรี ูปแบบ  การเขยี นย่อความจากสื่อต่างๆ เชน่

และเนื้อหาหลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี

- เรือ่ งส้ัน สารคดี นวนิยาย บทความทางวชิ าการ
และวรรณกรรมพนื้ บ้าน

๔. ผลิตงานเขยี นของตนเอง  การเขยี นในรูปแบบต่างๆ เช่น

ในรปู แบบตา่ งๆ - สารคดี

- บนั เทิงคดี

๕. ประเมนิ งานเขยี นของผู้อน่ื  การประเมินคณุ ค่างานเขียนในด้านตา่ งๆ

แลว้ นามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เช่น

- แนวคดิ ของผู้เขียน

- การใช้ถ้อยคา

- การเรียบเรยี ง

- สานวนโวหาร

- กลวิธีในการเขยี น

๖. เขยี นรายงานการศึกษาคน้ คว้า  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เรือ่ งทส่ี นใจตามหลักการเขียนเชิง  การเขยี นอา้ งอิงข้อมูลสารสนเทศ
วชิ าการ และใช้ขอ้ มลู สารสนเทศอ้างองิ
อย่างถูกต้อง

๗. บันทกึ การศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือนาไป  การเขยี นบนั ทึกความรู้จากแหลง่ เรียนรู้

พัฒนาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ ทห่ี ลากหลาย

๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น

สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ
ความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.๔-ม.๖ ๑. สรุปแนวคดิ และแสดงความคดิ เห็น  การพูดสรปุ แนวคดิ และการแสดงความ
จากเรื่องท่ีฟังและดู คิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟงั และดู
 การวเิ คราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษา
๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความนา่ เชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดู
และความน่าเช่ือถือจากเรื่องทฟ่ี งั
และดอู ย่างมเี หตผุ ล  การเลอื กเรื่องที่ฟงั และดูอย่างมี
วจิ ารณญาณ
๓. ประเมินเรื่องท่ีฟงั และดแู ล้วกาหนด  การประเมนิ เร่ืองท่ีฟังและดเู พื่อกาหนด
แนวทางนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ แนวทางนาไปประยุกต์ใช้
ชีวิต
๔. มวี จิ ารณญาณในการเลือก  การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น
เร่ืองท่ีฟังและดู - การพดู ต่อทปี่ ระชุมชน - การพดู อภิปราย
- การพดู แสดงทรรศนะ - การพดู โนม้ นา้ วใจ
๕. พดู ในโอกาสต่างๆ พูดแสดง  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ทรรศนะ โตแ้ ย้ง โน้มนา้ วใจ และเสนอ
แนวคิดใหมด่ ว้ ยภาษาถกู ต้องเหมาะสม

๖. มีมารยาทในการฟัง การดูและพดู

สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ

ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ม.๔-ม.๖ ๑. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา  ธรรมชาติของภาษา
พลังของภาษา และลกั ษณะของ  พลงั ของภาษา
ภาษา
 ลักษณะของภาษา
๒. ใช้คาและกลมุ่ คาสร้างประโยค - เสียงในภาษา - สว่ นประกอบของภาษา
ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ - องค์ประกอบของพยางคแ์ ละคา
 การใชค้ าและกลุ่มคาสรา้ งประโยค
๓. ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาส - คาและสานวน - การร้อยเรียงประโยค
กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคา - การเพม่ิ คา - การใชค้ า
ราชา-ศัพท์อย่างเหมาะสม - การเขยี นสะกดคา
๔. แต่งบทรอ้ ยกรอง  ระดับของภาษา
๕. วเิ คราะห์อิทธิพลของ  คาราชาศพั ท์
ภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน
๖. อธิบายและวิเคราะห์หลกั การ  กาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์
สร้างคาในภาษาไทย  อทิ ธพิ ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิน่
๗. วเิ คราะหแ์ ละประเมินการใช้
ภาษาจากส่ือสง่ิ พมิ พ์ และสื่อ  หลักการสรา้ งคาในภาษาไทย
อเิ ล็กทรอนิกส์
 การประเมินการใช้ภาษาจากสอื่ สงิ่ พมิ พ์ และ
สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็

คุณคา่ และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ

ม.๔-ม.๖ ๑. วเิ คราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดี  หลกั การวเิ คราะห์และวจิ ารณ์วรรณคดี

และวรรณกรรม ตามหลกั การวจิ ารณ์ และวรรณกรรมเบื้องตน้
เบอื้ งต้น
- จดุ มุ่งหมายการแตง่ - การพจิ ารณารปู แบบ

- การพจิ ารณาเน้ือหาและกลวธิ ี

- การวเิ คราะหแ์ ละการวิจารณ์

๒. วเิ คราะหล์ กั ษณะเดน่ ของวรรณคดี  การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดี

เชือ่ มโยงกับการเรียนรู้ทางประวัตศิ าสตร์ และวรรณกรรมเกย่ี วกบั เหตุการณ์
และวิถชี ีวิตของสังคมในอดีต
ประวตั ิศาสตร์ และวถิ ชี ีวิตของสังคมในอดตี

๓. วิเคราะหแ์ ละประเมินคุณค่าดา้ น  การวิเคราะห์และประเมินคณุ คา่ วรรณคดี
วรรณศลิ ปข์ องวรรณคดี และ และวรรณกรรม
วรรณกรรมในฐานะทเี่ ปน็ มรดกทาง - ดา้ นวรรณศิลป์ - ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม
วฒั นธรรมของชาติ

๔. สังเคราะห์ขอ้ คดิ จากวรรณคดี  การสังเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม
และวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ จรงิ

๕. รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บ้านและ  วรรณกรรมพื้นบา้ นที่แสดงถึง
อธิบายภมู ปิ ญั ญาทางภาษา - ภาษากับวัฒนธรรม
- ภาษาถิ่น

๖. ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน  บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่
ตามท่ีกาหนด และบทรอ้ ยกรอง- - บทอาขยานตามที่กาหนด
- บทร้อยกรองตามความสนใจ
ท่ีมคี ุณค่าตามความสนใจ

และนาไปใชอ้ า้ งองิ

รายวิชาทีเ่ ปิดสอนกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
รายวิชาพ้ืนฐาน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษา ม. 4

รหสั วชิ า ท31101 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หน่วยกิต จานวน 40 ชว่ั โมง
รหัสวชิ า ท31102 รายวชิ าภาษาไทย 1.0 หน่วยกติ จานวน 40 ชว่ั โมง

รายวิชาเพิ่มเติม ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ม. 4
รหสั วิชา ท3๐๒01 รายวิชาภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกติ จานวน 40 ชว่ั โมง
รหัสวิชา ท3๐๒0๒ รายวิชาภาษาไทย 1.0 หนว่ ยกติ จานวน 40 ชวั่ โมง

คาอธบิ ายรายวิชา

ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง

การอ่าน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับ
เรื่อง ที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองท่ีอ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องท่ีอ่านในทุกๆ ด้าน
อย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่านและประเมินค่าเพ่ือนาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหา ในการดาเนินชีวิต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเร่ืองท่ีอ่าน และเสนอ
ความคิดใหม่อย่าง มีเหตุผล ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่อง
ตา่ งๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทกึ ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรูจ้ ากการอ่านสื่อ
ส่งิ พิมพ์ สื่ออิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพฒั นาตน พัฒนาการเรียน และพฒั นาความรู้ทางอาชีพ
และมีมารยาทในการอา่ น

การเขียน เขียนส่ือสารในรูปแบบตา่ งๆ ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรยี บเรยี งถูกต้อง มี
ข้อมูลและสาระสาคัญชัด ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนามา
พัฒนางานเขยี นของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ เร่อื งท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชงิ วิชาการ และ
ใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ
และมมี ารยาทในการเขยี น

การฟัง การดู และการพูด สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟังและดู วิเคราะห์
แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเร่ืองที่ฟังและดู แล้ว
กาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีฟังและดู พูดใน
โอกาสต่างๆ พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โนม้ น้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม และ
มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

หลักการใช้ภาษาไทย ใชค้ าและกลมุ่ คาสรา้ งประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่
โอกาส กาลเทศะ และบคุ คล รวมทัง้ คาราชาศพั ท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของ
ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถน่ิ อธบิ ายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วเิ คราะห์และประเมิน
การใชภ้ าษาจากส่อื สง่ิ พมิ พ์และส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์

วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์
เบอื้ งตน้ วเิ คราะหล์ ักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรยี นรูท้ างประวตั ิศาสตรแ์ ละวถิ ีชวี ติ ของสังคม
ในอดีต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นมรดกทาง
วฒั นธรรมของชาติ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง ทอ่ งจา
และบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใช้อา้ งอิง

ตวั ชวี้ ดั
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/


ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖

รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวชวี้ ัด

กาหนดการสอนรายวชิ าภาษาไทย

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ลาดบั หนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ จานวน น้าหนกั
ที่ เรยี นรู้ เรียนรู้ / ตัวช้ีวัด ช่ัวโมง คะแนน
๑ ธรรมชาติของ
ภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๔-๖ /๑ ๑. ภาษาไทยเปน็ ภาษาคาโดด ๒ ๕
๓ ๘
๒ ภาษากับการ และ ๓ ๒. ภาษาไทยมเี สยี งสระ พยญั ชนะ และวรรณยกุ ต์
ส่ือสาร ๓ ๘
๓. ภาษาไทยมรี ะดับภาษา ๒ ๕
๓ การใชค้ าและ
กลุม่ คา ๔. ภาษาไทยมกี ารเปลี่ยนแปลง ๓ ๘

๔ การย่อความ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. การสื่อสาร ๓ ๘

๕ การเขียน และ๔ ท ๓.๑ ๒. ภาษากบั การสอ่ื สาร
เรยี งความ
ม.๔-๖/๒, ๓, ๕ ๓. อุปสรรคในการส่อื สาร
๖ จดหมายธรุ กิจ
และ ๖ ท ๔.๑ ม. ๔. วธิ แี ก้ไขอปุ สรรคของการสื่อสาร

๔-๖/๓

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. การใชค้ าให้ตรงตามความหมาย

๒ และ ๓ ๒. การใช้คาใหถ้ กู ต้องตามลักษณะภาษาไทย

๓. การใช้คาให้กะทดั รดั ชดั เจน และสละสลวย

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. ความหมายของย่อความ
และ ๓ ๒. ความสาคญั ของย่อความ

๓. สว่ นประกอบของยอ่ ความ
๔. รูปแบบการเขียนคานาย่อความ
๕. หลักการย่อความ
๖. ตัวอย่างการเขียนย่อความ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ ๑. ความหมายของเรียงความ
๒. องค์ประกอบของเรยี งความ
๓. คุณลกั ษณะของเรียงความ
๔. หลกั การเขียนเรยี งความ
๕. ขัน้ ตอนการเขยี นเรียงความ
๖. ตัวอยา่ งเรียงความ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความหมายของจดหมายธุรกิจ
และ ๘ ๒. ความสาคญั ของจดหมายธุรกจิ
๓. ประเภทของจดหมายธรุ กิจ

ลาดับ หนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ จานวน นา้ หนัก
ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู้ / ตัวช้ีวัด ช่ัวโมง คะแนน

๗ การอา่ นอยา่ งมี ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ๑. องคป์ ระกอบของการอ่าน ๒ ๕

ประสทิ ธิภาพ ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘ ๒. การอ่านตคี วาม

และ ๙ ๓. การอา่ นแปลความ

๔. การอ่านขยายความ

๘ คณุ ค่างาน ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความหมายของงานประพันธ์ ๔ ๑๐

ประพันธ์ ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๒. ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม

๖ ๓. องค์ประกอบของงานประพันธ์

๔. การพิจารณางานประพนั ธ์

๕. การวิจารณว์ รรณกรรม

๙ บทนมสั การ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความเปน็ มาของเรือ่ ง ๔ ๑๐

มาตาปติ ุคุณ ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ ๒. ประวัตผิ แู้ ตง่

และบทนมสั การ และ ๙ ๓. บทนมสั การมาตาปิตุคุณ

อาจริยคณุ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๔. บทนมัสการอาจรยิ คุณ

๒, ๓, ๔, ๕ และ



๑๐ อเิ หนา ตอน ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความเป็นมาของเรื่อง ๖ ๑๓

ศึกกะหมังกุหนิง ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ ๒. ประวตั ิผู้แต่ง

และ ๙ ๓. ลักษณะคาประพันธ์

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๔. ความรเู้ ก่ยี วกับละคร

๒, ๓, ๔, ๕ และ ๕. เร่อื งยอ่



๑๑ นิทานเวตาล ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความรเู้ กี่ยวกับเร่อื ง ๔ ๑๐

เรอื่ ง ท่ี ๑๐ ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ ๒. ประวตั ิผแู้ ตง่

และ ๙ ๓. เร่ืองย่อ

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๔. บทประพันธ์

๒, ๓, ๔, ๕ และ



ลาดบั หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ จานวน น้าหนกั
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / ตัวชวี้ ดั ชัว่ โมง คะแนน
๑๒ นิราศนรินทร์
คาโคลง ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ๑. ความร้เู ก่ยี วกบั เรอ่ื ง ๔ ๑๐

๒, ๓, ๔, ๕, ๖ ๒. ประวัตผิ ู้แตง่

และ ๙ ๓. ลักษณะคาประพันธ์

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๔. เรอื่ งยอ่

๒, ๓, ๔, ๕ และ



รวม ๔๐ ๑๐๐

กาหนดคะแนนการวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน (ท ๓๑๑๐๑)

อัตราสว่ น คะแนนเกบ็ ระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = ๘๐ : ๒๐

๑. รายละเอยี ดการวดั ผล-ประเมนิ ผล วิธวี ัด ชนิดของเครื่องมอื ตัวชีว้ ดั /ผล เวลาที่ใช้
การประเมนิ คะแนน วดั การเรียนรู้ (นาที/ครั้ง)

กอ่ นสอบกลางภาค ๒๕ -ใบงาน แบบทดสอบ
-แบบดสอบ
สอบกลางภาค ย่อย แบบทดสอบ ๖๐
หลงั สอบกลางภาค แบบทดสอบ/ ๖๐
๒๐ ทดสอบ
คณุ ลกั ษณะ ช้นิ งาน
สอบปลายภาค ๒๕ -ใบงาน
-แบบทดสอบ แบบสังเกต/
ย่อย แบบสอบถาม
แบบทดสอบ
๑๐ สังเกต/
สอบถาม

๒๐ ทดสอบ

๑. ภาระงาน/ชิน้ งาน ตัวชวี้ ดั /ผลการ ประเภทงาน กาหนดสง่
เรยี นรู้ กลมุ่ เด่ียว วัน/เดือน/
ที่ ชอ่ื งาน
⁄ ปี
๑ โครงงานวิชาภาษาไทย
กาหนดให้ ๑ เรือ่ ง ⁄⁄

๒ รายงาน/ชิน้ งาน
๓ ท่องบทอาขยาน

หากนกั เรยี นขาดส่งงาน ๓ ชิ้น และมคี ะแนนตลอดภาคเรียนไม่ถึง ๕๐ คะแนน จะไดร้ ับ
ผลการเรียน “ร” ในรายวชิ านี้

ลงชอ่ื ............................................... ลงชอื่ ...................................................
(นางสาวนงคน์ ชุ ศรีดามาตย์) (นางมนิ ตรา โดเวอร์)
ครูประจาวชิ า
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย

ลงชื่อ................................................
(นางอภญิ ญา ดเิ รกศร)ี
หวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ

ลงช่อื .........................................
(นางสาวประภสั สร ทามาลี)

ผอู้ านวยการโรงเรียนไชยวานวิทยา


Click to View FlipBook Version