¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒáÅÐ
ÇÔà¤ÃÒÐËÀ ÒÉÒ
·èÊÕ ÃÒ§áç
ºÑ¹´ÒÅã¨¼Ò ¹
Ê×èÍ»ÃÐàÀ·
µÒ § æ
รายงาน
เรื่อง การศึกษาและวิเคราะหภ์ าษาที่สรา้ งแรงบนั ดาลใจผ่านสอ่ื ประเภทต่าง ๆ
เสนอ
คุณครูสายฝน โหจนั ทร์
นางสาวอรอนงค์ โดย ชน้ั ม.๖/๑ เลขท่ี ๓
นางสาวฉตั รตญิ า ชัน้ ม.๖/๑ เลขท่ี ๖
นางสาวไอรินลดา คำสยุ่ ชน้ั ม.๖/๑ เลขท่ี ๙
นางสาวชนิกานต์ กรวเิ ชียร ชั้น ม.๖/๑ เลขที่ ๑๑
นางสาวสุตนนั ท์ พสิ ิฐทวีโชติ ชน้ั ม.๖/๑ เลขท่ี ๑๓
นางสาวจิรชั ยา ชำนาญดี ชน้ั ม.๖/๑ เลขที่ ๑๘
นางสาวธนนั พชั ร์ เทพขวัญยนื ชัน้ ม.๖/๑ เลขที่ ๒๐
กัลยาณะวัตร
หริ ัญปณุ ยโชติ
รายงานน้ีเปน็ ส่วนหนงึ่ ของวิชาภาษาไทยพนื้ ฐาน (ท๓๓๑๐๑)
ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕
โรงเรียนมารยี ์อปุ ถมั ภ์ อ.สามพราน จ.นครปฐม
ก
คำนำ
รายงานเรื่อง การศึกษาและวิเคราะห์ภาษที่สร้างแรงบันดาลใจผ่านสื่อประเภทต่าง ๆ เป็นส่วนหน่ึง
ของรายวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน ท๓๓๑๐๑ จัดทำขนึ้ เพื่อศกึ ษาและวิเคราะห์ภาษาทส่ี ร้างแรงบันดาลใจผ่านสื่อ
ต่าง ๆ ให้กับผู้ศึกษาที่ท้อแท้ หมดหวัง หมดไฟในการทำงานให้กลับมามีพลังกายพลังใจในการทำสิ่งที่
ตั้งเป้าหมายไว้ไดต้ อ่ ไปอยา่ งมีความสุขและสามารถประสบความสำเรจ็ ในสิ่งที่ตัง้ เป้าไวไ้ ด้ อีกทั้งยังเปน็ ส่วนใน
การให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาแก่ผู้ที่สนใจในด้านนี้มากยิ่งขึ้น มีขอบข่ายเนื้อหา ภาษา อิทธิพลของภาษา การ
สร้างแรงบันดาลใจ สื่อ การวิเคราะห์สื่อที่สร้างแรงบันดาลใจโดยใช้แหล่งเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ ตำราวิชาการ
ส่ืออิเลก็ โทรนกิ ส์ วทิ ยานพิ นธ์
คณะผ้จู ัดทำหวงั เป็นอย่างย่ิงว่า รายงานเล่มนจี้ ะเอ้ือประโยชน์ให้แก่ผู้ทสี่ นใจ หากมีข้อเสนอแนะยินดี
น้อมรบั
คณะผู้จดั ทำ
๒๔/๐๘/๒๕๖๕
สารบญั ข
หวั เรือ่ ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
บทนำ ง
๑.ภาษา ๒
๒
๑.๑ ท่ีมาของภาษา ๒
๑.๒ การเกดิ ของภาษา ๓
๑.๓ ประเภทของภาษา ๓
๑.๔ บทบาทและหน้าท่ีของภาษา ๔
๑.๕ ลกั ษณะของภาษา ๕
๒.อทิ ธพิ ลของภาษา ๕
๒.๑ ความหมายของอิทธพิ ล ๕
๒.๒ อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศต่อประเทศไทย ๙
๒.๓ อทิ ธพิ ลของภาษาต่อสังคมและวัฒนธรรม
๒.๔ อิทธพิ ลของภาษาตอ่ ความคดิ ของมนุษย์ ๑๐
๓.การสรา้ งแรงบันดาลใจ ๑๔
๓.๑ ความหมายของแรงบันดาลใจ ๑๔
๓.๒ ที่มาของแรงบนั ดาลใจ ๑๕
๓.๓ สาเหตุของการเกิดแรงบันดาลใจ ๑๖
๓.๔ วธิ ีการสร้างแรงบนั ดาลใจ ๑๗
๔.สอื่ ๒๐
๔.๑ ความหมายของสอ่ื ๒๐
๔.๒ ประเภทของส่อื ๒๐
๔.๓ ตัวอยา่ งของส่อื ๒๒
๕.การวิเคราะห์สื่อท่สี รา้ งแรงบนั ดาลใจ ๒๔
๕.๑ เพลง ๒๔
๕.๒ คำคม ๒๕
๕.๓ ไลฟ์โค้ช ๒๖
๕.๔ ภาพยนตรช์ วี ประวตั ิ ๒๗
๕.๕ หนงั สือจิตวิทยา ๒๙
บทสรุป ค
ภาคผนวก
บรรณานกุ รม ๓๑
๓๒
๓๘
ง
บทนำ
การสื่อสารของมนษุ ย์เป็นกระบวนการที่ดำเนินต่อเน่ืองอยู่ตลอดเวลา อาจกล่าว ได้ว่าไม่มีพฤติกรรม
ใด ๆ เลยที่จะแพร่หลายได้มากเท่ากับการสื่อสาร ตั้งแต่วินาทีแรกที่เราตื่นนอน ในตอนเช้าจวบจนกระทั่งถึง
เวลาท่ีเรานอนในตอนค่ำ เวลาสว่ นใหญท่ เี่ ราใชไ้ ปในแตล่ ะวนั คือ การติดต่อสือ่ สารกบั ผ้อู นื่ เคยมกี ารคานวณไว้
วา่ มากกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ของกิจกรรมตา่ ง ๆ ทเี่ ราประพฤติ ปฏิบตั เิ ปน็ ประจำวันน้นั เกยี่ วข้องกับการสื่อสารเชิง
วัจน (verbal communication) นั่นก็คือการพูด การฟัง การอ่าน และการสอน การคาดคะเนนี้ในครั้งแรก
อาจรู้สึกว่าเป็นอัตราที่สูงมากทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ นับรวมการสื่อสารเชิงอวัจนะ (nonverbal communication)
ตัวอย่างของการส่ือสารเชิงอวจั นะ เชน่ การโบกมือทักทายคนใดคนหนง่ึ ท่เี รารู้จักคนุ้ เคย การขับรถไปหยุดท่ีสี่
แยกเมื่อมีสัญญาณไฟแดง เป็นต้น เห็นได้ชัดแล้วว่ามนุษย์เป็นสัตว์โลกที่มีการสื่อสาร (communicating
animal) คณุ ลักษณะ พิเศษของมนุษย์กค็ อื ความสามารถในการสื่อสารนน่ั เอง (รจติ ลกั ขณ์ แสงอุไร, ๒๕๔๘)
ดังนั้นจะเห็นได้ว่ามนุษย์ทำการสือ่ สารอยู่ตลอดไม่ว่าจะสื่อสารภายในตัวเองหรอื ส่ือสารกบั ผู้อ่ืน และ
การสื่อสารกับผู้อื่นนัน้ ก็มีช่องทางการสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาการของสื่อดังทีก่ ล่าวไป ข้างต้น แม้
ช่องทางจะเปลี่ยนแต่การสื่อสารก็ยังคงหมายถึงการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูลความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น
ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการรับรู้ร่วมกันและมีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งครอบครัวถือเป็น พื้นฐานการเรียนรู้ที่ส ำคัญของ
บุคคลในสังคมชุมชนก่อนยุคสมัยใหม่ เป็นแหล่งการอบรมและขัดเกลา (socialization) ถ่ายทอดวัฒนธรรม
โลกทัศน์ จริยธรรม ฯลฯ ให้เด็กเป็นสมาชิกใหม่ของครอบครัว และชุมชน สามารถเข้าใจความเป็นจริงของ
ระบบชีวิต (เกิด แก่ เจ็บ ตาย) และระบบความสัมพันธ์กับ สังคมภายในและภายนอกในระดับต่าง ๆ (อรศรี
งามวิทยาพงศ,์ ๒๕๔๙)
การสื่อสารระหว่างบุคคลถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มนุษย์ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทั้งในรูปแบบที่เป็นวัจนะ
และอวจั นภาษา ภาษาเปน็ ตัวกำหนดพฤติกรรม ลักษณะความเปน็ ปจั เจกบุคคลของมนษุ ย์ รวมทัง้ มอี ทิ ธิพลต่อ
มนุษย์ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย เป็นต้น
มนุษณ์ใช้ภาษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้แก่กันและกัน แรงบันดาลใจในที่นี้หมายถึง “Inspiration”
แปลว่า “แรงบันดาลใจ” หมายถึง “ลมหายใจ” ซึ่งเป็นรากศัพท์ของคาว่า “Spirit” ที่แปลว่า “จิตวิญญาณ”
คำกริยา “To inspire” โดยรากศัพท์แปลว่า “การผ่านลมหายใจหรือการผ่านจิตใจของคนหนึ่งเข้าไปใน อีก
คนหน่งึ ” ลมหายใจหรือจิตใจท่ีผา่ นเข้าไปนี้ จึง เปรยี บเสมือนสิ่งที่ทำให้ผู้รับน้ัน ดำเนินชีวิตหรือดำรงชีวิต อยู่
ได้ (ดุษฎี โยเหลา, วิไลลักษณ์ ลังกา, ศรัณย์ พิมพ์ทอง และ นริสรา พึ่งโพธิ์สภ, ๒๕๕๖) จากนิยามดังกล่าว
แสดงให้ เห็นวา่ แรงบันดาลใจเกี่ยวข้องกบั การที่บุคคลหนึ่งมีความ จับใจ ประทับใจ เลื่อมใส ศรทั ธา ในแง่คิด
ที่กำกับให้คน ๆ หนึ่ง มีพฤติกรรมหรือทัศนคติอย่างใดอย่างหนึ่งอันเหนียวแน่น จนกลายเป็น พลัง หลักการ
และเป็น ตัวตน ในที่สุด สอดคล้องกับที่อริสโตเติล (Aristotle) นักปรัชญาชาวกรีก ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมไว้ ว่า “มนุษย์ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้โดยลาพัง หากมนุษย์นั้น อยู่อย่างโดด
เดี่ยว การดาเนินชีวิตก็จะเป็นไปอย่างจากัด ซึ่ง การอยู่กันเป็นสังคมนั้นจะเพิ่มโอกาสในการอยู่รอดจาก
สภาวะแวดลอ้ มมากข้นึ ”
จ
และภาษาที่สร้างแรงบันดาลใจเหล่านี้มีปรากฏในรูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น สื่อออนไลน์ สื่อวิดีโอ สื่อ
สิ่งพิมพ์ สอื่ บคุ คล จงึ เปน็ เหตผุ ลสำคัญท่ีคณะผู้จัดทำสนใจศกึ ษาและวเิ คราะหภ์ าษาเหล่านี้
๒
๑. ภาษา
๑.๑ ที่มาของภาษา
ที่มาของภาษา, (๒๕๖๔) กล่าววา่ ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาตขิ องคนไทยมาแลว้ ชา้ นาน ถงึ แม้คน
ไทยจะถูกชาติอนื่ รกุ ราน ต้องถอยรน่ ลงมาทางใต้ จนถงึ ทอี่ ยู่ปจั จุบัน แตค่ นไทยก็ยังรักษาภาษาของตนไว้ได้
หลกั ฐานแสดงว่าภาษาไทยเป็นภาษาของคนไทยโดยเฉพาะ กค็ อื ภาษาไทย มลี กั ษณะพิเศษไม่ซำ้ แบบของ
ภาษาใดในโลก ท่ีมผี ู้กลา่ ววา่ ภาษาไทยเป็นตระกลู เดยี วกับภาษาจีน เนอ่ื งจากเป็นภาษาคำโดดดว้ ยกัน และมี
คำพ้องเสียงและความหมายเหมอื นกันอยู่หลายคำ เช่น ขา โตะ๊ เกา้ อ้ี เข่ง หรือ จำนวนเลข การที่ภาษาไทยกบั
ภาษาจีนมลี ักษณะตรงกันบางประการดังกล่าว ใช่วา่ ภาษาไทยมาจากจีนหรือจนี มาจากไทย แต่คงเป็นเพราะ
ชาติไทยกับจีนเคยมีความสัมพนั ธ์กนั อย่างใกลช้ ดิ ช้านาน และคงเคยใช้อักษรจนี เขียนภาษาไทย ภาษาไทยกบั
จนี จึงมสี ่วนคลา้ ยคลงึ กันได้ ข้อสังเกตทีว่ า่ ภาษาไทยกบั จนี เป็นคนละภาษาต่างหาก จากกนั กค็ ือ ระเบยี บการ
เข้าประโยคตา่ งกัน เช่น คำวิเศษณ์ในภาษาไทยส่วนใหญ่ อยู่หลังคำทป่ี ระกอบหรือขยาย สว่ นภาษาจนี สว่ น
ใหญ่อยู่ข้างหน้า
จากการศึกษาทมี่ าของภาษาสรุปได้ว่า ภาษาไทยเปน็ ภาษาประจำชาตขิ องคนไทยมาแล้วช้านาน โดยมผี ู้
กล่าวว่าภาษาไทยเปน็ ตระกลู เดยี วกันกับภาษาจนี เนือ่ งจากเปน็ ภาษาคำโดดเหมือนกัน มีคำพ้องเสยี ง มคี ำท่ี
ความหมายเหมือนกนั หลายคำ และมหี ลายคำที่ยืมมาจากภาษาจีน นอกจากนเ้ี ราต้องศกึ ษาเกย่ี วกับการเกดิ
ของภาษาไทย ซึ่งมีตน้ เหตุการณเ์ กดิ ของภาษาดังน้ี
๑.๒ การเกดิ ของภาษา
Teacher Guru, (๒๕๖๒) กล่าวว่า เดิมทที ี่มนุษยย์ ังไม่มภี าษาพูดและภาษาเขยี นเหมอื นในปจั จบุ ัน
นักภาษาศาสตร์มแี นวคดิ วา่ มนษุ ย์สอ่ื สารโดยใชท้ ่าทางตา่ ง ๆ เช่น โบกมือ ชีน้ ว้ิ พยกั หนา้ สน่ั ศรี ษะ ตอ่ มามีการ
กำเนดิ ภาษาข้นึ หรือเรียกว่าสาเหตุการเกิดของภาษา โดยภาษามีสาเหตุการเกิด คือ ภาษาเกิดจากการเลยี น
เสียงทมี่ นษุ ย์ได้ยนิ ได้ฟงั แลว้ นำมาเปน็ ถ้อยคำในภาษาเกิดจากการเลยี นเสียง ซ่ึงอาจจะเลียนเสยี งบางส่วน
ท้งั หมดหรืออาจผิดเพยี้ นไปจากเสียงจริงได้ จึงไม่สามารถบอกได้ว่า เสยี งใดชดั เสียงใดไม่ชดั
การเลยี นเสียงในภาษาไทยสามารถแบง่ ไดต้ ามต้นกำเนิดของเสียง ดังน้ี
-การเลยี นเสียงรอ้ งของสตั ว์ เชน่ เมือ่ สตั วส์ ่เี ท้ารอ้ งเหมียว ๆ หรอื แมว ๆ เราจงึ เรยี กสตั ว์ชนดิ นวี้ า่ แมว
-การเลยี นเสียงวตั ถุ เครื่องมือและเครื่องใช้ต่าง ๆ เชน่ เม่ือได้ยนิ เสยี งเครอ่ื งดนตรดี ัง ฉ่งิ ...ฉบั เราจงึ เรียก
เคร่ืองดนตรชี นดิ นี้วา่ ฉิง่ หรือ ฉาบ
-การเลยี นเสยี งธรรมชาติ เชน่ เสียงฟา้ ร้อง เสียงฝน เสยี งลม เสยี งนำ้
-การเลียนเสียงเด็ก เด็กในระยะแรกเกิดจะส่งเสียงร้อง แว้ ว้าก อ้อแอ้ อือ อา เออ เมื่อถึงระยะเวลาท่ี
เร่ิมเรยี นรู้การพูดเปน็ คำ เด็กจะออกเสียงเป็นคำ เชน่ แม่ หรอื พ่อ เมอื่ ศกึ ษาภาษาอน่ื ๆ พบว่ามกี ารออกเสียง
คล้ายกัน คำว่า แม่ ในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า มาม้า ส่วนคำว่า พ่อ ในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า ปาป้า
ซึ่งเป็นเสยี งทอี่ อกงา่ ยท่ีสุด สมั พนั ธ์กับการเรียนรกู้ ารใชอ้ วยั วะตา่ ง ๆ ของเด็ก
๓
-การเลียนเสียงอทุ าน เปน็ เสียงท่เี ปลง่ ออกมาโดยไมร่ ู้ตวั เปล่งเสียงออกมาด้วยอารมณ์และความร้สู ึก จน
กลายเปน็ คำพูดหรือภาษา เชน่ เปล่งสยี ง โอ๊ย เม่ือรสู้ ึกเจบ็ เปล่งเสียง ว้าย เมือ่ รูส้ กึ ตกใจ นอกจากน้ันยงั มกี าร
เลยี นเสยี งอุทานอืน่ ๆ อีก เชน่ อุ๊ย เอะ๊ ออ๋ เฮ้อ โอ้โฮ โวย้ โธ่ เป็นตน้
จากการศึกษาการเกิดของภาษาสรุปได้วา่ เดิมทีมนษุ ยย์ งั ไมม่ ภี าษาพูดและภาษาเขียน นักภาษาศาสตร์มี
แนวคิดว่ามนษุ ย์ส่อื สารโดยใช้ทา่ ทางต่าง ๆ ต่อมามีการกำเนดิ ภาษาขึน้ โดยมสี าเหตุการเกดิ คือ เกิดจากการ
เลยี นเสยี งที่มนุษย์ไดย้ นิ ได้ฟงั แล้วนำมาเปน็ ถ้อยคำ การเลยี นเสียงในภาษาไทยสามารถแบ่งไดต้ ามตน้ กำเนิด
ของเสยี ง คือ การเลยี นเสียงรอ้ งของสัตว์ การเลยี นเสียงวัตถุ เคร่ืองมือและเคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ การเลียนเสียง
ธรรมชาติ การเลยี นเสยี งเดก็ การเลียนเสียงอทุ าน นอกจากนภี้ าษายังแบ่งออกเป็นหลายประเภท
๑.๓ ประเภทของภาษา
ประเภทของภาษา, (๒๕๖๕) กลา่ วว่า ประเภทของภาษาแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทด้วยกัน ไดแ้ ก่
๑.วัจนภาษา ภาษาทส่ี อ่ื สารโดยใชถ้ อ้ ยคำ อยใู่ นรูปการพูดหรือการเขยี น
๒.อวัจนภาษา ภาษาท่ีสือ่ สารโดยไม่ใชถ้ ้อยคำ แบ่งได้ ๓ ประเภท คือ
๒.๑ สญั ลกั ษณ์ สงิ่ ทแี่ ทนความหมายของสิง่ ใดสิ่งหนึ่ง โดยสญั ลกั ษณ์ต้องไม่ใช่ถ้อยคำ เช่น ปา้ ยห้องนำ้
สัญญาไฟจราจร
๒.๒ อาการ ทา่ ทางท่ใี ชแ้ ทนความหมายอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เชน่ การย้มิ การพยักหน้า การลูบศีรษะ
๒.๓ เสียงและนำ้ เสยี ง เสียงทีแ่ ทนความหมายอย่างใดอย่างหน่งึ โดยต้องไมใ่ ชถ่ ้อยคำ และนำ้ เสยี งที่สื่อ
ถึงความรู้สกึ ต่าง ๆ โดยทีต่ ้องตคี วามจากถอ้ ยคำ เช่น เสยี งไอ เสยี งตบมือ เสยี งแตรรถ เสียงไซเรน
จากการศึกษาประเภทของภาษาสรุปได้ว่า ประเภทของภาษาแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทด้วยกัน คอื วัจ
นภาษา ภาษาทีใ่ ชถ้ ้อยคำ อยู่ในรูปการพดู หรือการเขยี น และอวจั นภาษา ภาษาท่ีไม่ใชถ้ ้อยคำ แบง่ ได้ ๓
ประเภท คือ สัญลักษณ์ อาการทา่ ทาง เสียงและนำ้ เสียง ซง่ึ ประเภทของภาษา ๒ ประเภทน้ี มีการใช้งานท่ี
แตกต่างกนั ก่อใหเ้ กิดบทบาทและหนา้ ทข่ี องภาษา
๑.๔ บทบาทและหนา้ ทข่ี องภาษา
หน่ึงฤทัย จันทร์เครือยิ้ม, (ม.ป.ป.) กลา่ ววา่ บทบาทและหน้าท่ีของภาษามีดว้ ยกนั ๕ อย่าง คือ
๑) ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการสอ่ื สาร มนษุ ย์ตอ้ งใช้ภาษาพดู จาสื่อสารกบั คนท่ีอยรู่ อบขา้ งเพ่ือให้ผู้อ่ืนเขา้ ใจ
ความคดิ ความตอ้ งการ เพื่อบอกเลา่ ไตถ่ ามความรู้และอ่นื ๆ
๒) ภาษาเปน็ พลังในการรวมตัวเป็นอันหน่งึ อันเดียวกนั ของคนในสงั คม ภาษามีบทบาทสำคัญทท่ี ำใหค้ นในชาติ
ซึง่ พูดภาษาเดยี วกันมีความผูกพันต่อกนั มีความสำนกึ ในเชอ้ื ชาติ เผา่ พันธ์ุ ซง่ึ สง่ ผลต่อการพัฒนาทั้งด้าน
การเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม
๓) ภาษาเปน็ ภาพสะท้อนความเจริญทางสังคม ภาษาประจำชาตทิ ใ่ี ช้สบื ต่อถา่ ยทอดกันมานั้นจะผูกพันกบั
สงั คมของผใู้ ช้ภาษาอยา่ งใกล้ชิด คำศัพทท์ ี่มีในภาษาจะแสดงให้เหน็ ลักษณะความเป็นอยู่ อาหารการกิน ความ
๔
เชือ่ ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ ของสงั คมน้ัน ความเจริญก้าวหนา้ ของสังคมยอ่ มมีผลตอ่ ภาษาด้วย ดังนั้นภาษา
จงึ เป็นหลักฐานแสดงอารยธรรมตา่ ง ๆ ของสงั คม เชน่ ศิลปะ ศาสนา วทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ
๔) ภาษาเปน็ เครือ่ งมอื ในการบนั ทึกและถ่ายทอดทางวฒั นธรรม โดยท่ภี าษาเปน็ สัญลักษณ์ที่กำหนดเพื่อแสดง
ความรูส้ ึกนกึ คดิ และความรสู้ ึกนึกคดิ ของมนุษย์ก็เปน็ ผลติ ผลของวัฒนธรรมหรือแบบแผนชวี ติ ของสงั คมมนุษย์
ดังนั้น ภาษาย่อมจะแสดงความรู้สึกนกึ คิด ทศั นะ และค่านิยมทางสังคมไว้ไม่มากกน็ ้อย
๕) ภาษาเป็นศลิ ปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา กระบวนการใชภ้ าษานนั้ มีระดบั และลีลา ขึ้นอย่กู ับ
ปัจจัยตา่ ง ๆหลายดา้ น เช่น บคุ คล กาลเทศะ ประเภทของเรอื่ ง ฯลฯ การที่จะเขา้ ใจภาษา และใช้ภาษาได้ดี
จะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้เข้าถงึ รสของภาษาด้วย
จากการศึกษาบทบาทและหน้าที่ของภาษาสรุปไดว้ า่ บทบาทและหนา้ ที่ของภาษามี ๕ อย่าง คือ ภาษา
เป็นเครือ่ งมอื ในการส่ือสาร ภาษาเปน็ พลังในการรวมตัวเป็นอันหน่ึงอันเดยี วกนั ของคนในสังคม ภาษาเปน็ ภาพ
สะท้อนความเจรญิ ทางสงั คม ภาษาเป็นเครอ่ื งมือในการบนั ทกึ และถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ภาษาเปน็ ศิลปะ ซงึ่
ภาษามบี ทบาทและหนา้ ท่ีอย่างมากมาย เราจึงต้องศึกษาเก่ียวกับลักษณะของภาษา เพือ่ นำไปต่อยอดในการ
เขยี น การพูดและการใช้ภาษา ซึง่ มีลกั ษณะต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี
๑.๕ ลกั ษณะของภาษา
ลักษณะของภาษา, (ม.ป.ป.) กล่าวว่า ลกั ษณะทว่ั ไปของภาษา คอื
๑) ภาษาใชเ้ สียงส่ือความหมาย
๒) หนว่ ยในภาษาประกอบกันเปน็ หน่วยทใ่ี หญ่ข้นึ
๓) ภาษามกี ารเปลยี่ นแปลง
๓.๑ การเปล่ยี นแปลง เกดิ จากธรรมชาตขิ องการออกเสยี ง ได้แก่ การกลืนเสียง การกลายเสยี ง การ
ตัดเสียง การกร่อนเสียง การสับเสียง
๓.๒ การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ จากอิทธิพลภายนอก มลี กั ษณะดังน้ี การยืมคำ การใชค้ ำและสำนวนตา่ ง
ไปจากเดิม
๓.๓ การเปลีย่ นแปลงของส่งิ แวดล้อม
๓.๔ ภาษาต่าง ๆ มีลักษณะที่ตา่ งและคล้ายกนั ดังน้ี
- ภาษาแตล่ ะภาษาใช้เสยี งสื่อความหมาย
- ภาษาแต่ละภาษาสามารถสร้างศพั ท์ใหม่จากศัพท์เดิม
- ภาษาแตล่ ะภาษามีสำนวนและมีการใชค้ ำในความหมายใหม่
- ภาษาแต่ละภาษามีคำชนิดต่าง ๆ คล้ายกนั
- ภาษาแต่ละภาษามีวิธีขยายประโยคให้ยาวออกไปได้เร่ือย ๆ
- ภาษาแตล่ ะภาษามวี ิธีแสดงความคิดคล้ายกันได้
- ภาษาแต่ละภาษาต้องมีการเปล่ยี นแปลงตามกาลเวลา
๕
๓.๕ ภาษาย่อมมสี ว่ นประกอบทเ่ี ป็นระบบมีระเบียบแบบแผน
จากการศึกษาลักษณะของภาษาสรปุ ได้วา่ ลักษณะทั่วไปของภาษา คือ ภาษาใช้เสยี งสอื่ ความหมาย หน่วย
ในภาษาประกอบกนั เปน็ หน่วยท่ีใหญข่ ้ึน ภาษามีการเปล่ยี นแปลงเกิดจากธรรมชาติ เกิดจากอิทธิพลภายนอก
การเปลยี่ นแปลงของส่ิงแวดล้อม ภาษาตา่ ง ๆ มลี ักษณะท่ีตา่ งและคลา้ ยกนั ดังน้ี ภาษาแต่ละภาษาใช้เสียงสื่อ
ความหมาย ภาษาแตล่ ะภาษาสามารถสร้างศัพท์ใหม่จากศพั ท์เดิม ภาษาแตล่ ะภาษามีสำนวนและมกี ารใช้คำใน
ความหมายใหม่ ภาษาแต่ละภาษามคี ำชนิดต่าง ๆ คลา้ ยกัน ภาษาแต่ละภาษามวี ธิ ีขยายประโยคใหย้ าวออกไป
ได้เรื่อย ๆ ภาษาแตล่ ะภาษามวี ิธแี สดงความคิดคล้ายกันได้ ภาษาแตล่ ะภาษาต้องมกี ารเปลยี่ นแปลงตาม
กาลเวลา และภาษาย่อมมีส่วนประกอบทเี่ ปน็ ระบบมรี ะเบียบแบบแผนและมีอิทธพิ ลดา้ นตา่ ง ๆ
๒. อิทธิพล
๒.๑ ความหมายของอิทธพิ ล
พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน, (๒๕๔๒) หมายถึง น. กําลงั ทีย่ ังผลให้สําเร็จ, อาํ นาจซงึ่ แฝงอย่ใู น
บคุ คลหรอื รัฐซงึ่ สามารถบนั ดาลใหเ้ ปน็ ไปตามความประสงค์, อาํ นาจทสี่ ามารถบันดาลใหผ้ ู้อ่นื ต้องคล้อยตาม
หรือทําตาม, อํานาจท่ีสามารถบนั ดาลให้เปน็ ไปได้ต่าง ๆ เชน่ อทิ ธิพลของดวงดาว
ป๊อปไทย, (ม.ป.ป) หมายถงึ น. กำลังท่ยี ังผลให้สำเรจ็ , อำนาจซ่ึงแฝงอยู่ในบคุ คลหรือรฐั ซงึ่ สามารถ
บนั ดาลใหเ้ ป็นไปตามความประสงค์, อำนาจทีส่ ามารถบนั ดาลให้ผู้อ่นื ตอ้ งคลอ้ ยตามหรือทำตาม, อำนาจที่
สามารถบันดาลให้เป็นไปไดต้ ่าง ๆ เชน่ อทิ ธพิ ลของดวงดาว, อำนาจนอกเหนือหนา้ ท่ี เช่น ใชอ้ ิทธิพลบังคบั ให้
ยอม
พจนานกุ รมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน , (ม.ป.ป.) หมายถึง น.กาํ ลังทยี่ งั ผลให้สาํ เรจ็ อํานาจซึ่ง
แฝงอยูใ่ นบุคคลหรอื รฐั ซง่ึ สามารถบนั ดาลใหเ้ ปน็ ไปตามความประสงค์ อํานาจที่สามารถบนั ดาลให้ผู้อืน่ ต้อง
คลอ้ ยตามหรือทําตาม อํานาจทส่ี ามารถบันดาลให้เป็นไปไดต้ ่าง ๆ เช่น อทิ ธิพลของดวงดาว อํานาจนอกเหนือ
หนา้ ที่ เชน่ ใช้อทิ ธิพลบังคับใหย้ อม
จากการศึกษาความหมายของอทิ ธพิ ล สรุปได้วา่ อิทธพิ ล หมายถึง น. กําลังท่ียังผลให้สาํ เรจ็ , อาํ นาจ
ซ่งึ แฝงอยู่ในบุคคลหรือรัฐซ่ึงสามารถบนั ดาลใหเ้ ป็นไปตามความประสงค์, อํานาจทสี่ ามารถบันดาลใหผ้ ้อู ื่นต้อง
คล้อยตามหรือทาํ ตาม, อํานาจทีส่ ามารถบันดาลใหเ้ ป็นไปได้ต่าง ๆ เชน่ อิทธพิ ลของดวงดาว อทิ ธิพลของ
รฐั บาล
นอกจากนแ้ี ล้วอิทธิพลไม่ไดไ้ ด้รบั เพียงในประเทศไทยเทา่ นั้นยงั มีการรบั เอาอทิ ธิของภาษาต่างประเทศเข้ามา
๒.๒ อทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศท่ีมตี ่อภาษาไทย
บ้านจอมยทุ ธ, (๒๕๔๓) ภาษาตา่ งปะเทศท่ีเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตตุ ่าง ๆ ดงั กล่าวข้างตน้
มีอิทธิพลต่อภาษาไทย คอื ทำใหล้ กั ษณะของภาษาไทยเปล่ียนไปจากเดิม ดงั น้ี
๒.๒.๑ คำมพี ยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาตระกลู คำโดด คำส่วนใหญเ่ ป็นคำพยางค์เดียว เชน่ พ่อ แม่ พ่ี
นอ้ ง เดิน ยนื นง่ั นอน เมือง เดอื น ดาว ช้าง แมว ม้า ปา่ น้ำ เปน็ ตน้ เมื่อยมื คำภาษาอื่นมาใช้ ทำให้คำมีมาก
พยางค์ขน้ึ เช่น
๖
-คำสองพยางค์ เชน่ บดิ า มารดา เชษฐา กนิษฐา เป็นต้น
-คำสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน เป็นต้น
-คำมากกว่าสามพยางค์ เชน่ สาธารณะ อทุ กภยั วนิ าศกรรม ประกาศนียบัตร เป็นตน้
๒.๒.๒ มคี ำควบกล้ำใช้มากขึ้น โดยธรรมชาตขิ องภาษาไทยจะไม่มีคำควบกล้ำ เมื่อรบั ภาษาอื่นเขา้ มาใช้เป็น
เหตใุ ห้มคี ำควบกลำ้ มากขึ้น เช่น บาตร ปราชญ์ ปราศรยั ปลูก เกรด เคลยี ร์ เอ็นทรานซ์ ดรัมเมเยอร์ เป็นต้น
๒.๒.๓ มีคำไวพจน์ใช้มากข้นึ (คำไวพจน์ คอื คำท่มี ีความหมายเหมือนกนั ) ซ่งึ สะดวกและสามารถเลือกใชค้ ำได้
เหมาะสมตามความตอ้ งการและวตั ถุประสงค์ เชน่ นก บหุ รง ปักษา ปักษิน สกณุ า วหิ ค ม้า พาชี อาชา สินธพ
หัย อัศวะ ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ บุหงา ผกา สุมาลี ท้องฟา้ คคนานต์ ทิฆัมพร นภดล โพยม อมั พร นำ้
คงคา ชลาลยั ธารา มหรรณพ สาคร พระจันทร์ แข จันทร์ นศิ ากร บุหลัน รัชนกี ร
๒.๒.๔ มตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตรา คำไทยแท้สว่ นใหญ่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เมื่อได้รับอทิ ธิพล
ภาษาต่างประเทศ คำใหมจ่ งึ มตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตราจำนวนมาก เช่น โลหติ สงั เขปนเิ ทศประมาณ ผจญ
กปั ตัน คริสต์ เคเบลิ ดีเซล โฟกัส เป็นตน้
๒.๒.๕ ทำใหโ้ ครงสร้างของภาษาเปลย่ี นไป เช่น
- ใช้คำ สำนวน หรอื ประโยคภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เช่น
สำนวนภาษาต่างประเทศ เขาพบตวั เองอยูใ่ นห้อง
สำนวนภาษาไทย เขาอยใู่ นห้อง
สำนวนภาษาตา่ งประเทศ นวนยิ ายเรอ่ื งนี้เขียนโดยทมยนั ตี
สำนวนภาษาไทย ทมยันตเี ขยี นนวนิยายเรื่องนี้
สำนวนภาษาต่างประเทศ มนั เปน็ เวลาบ่ายเม่ือข้าพเจ้ามาถงึ อยุธยา
สำนวนภาษาไทย ขา้ พเจา้ มาถึงอยุธยาเมื่อเวลาบ่าย
- ใชค้ ำภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ทบี่ างคำมีคำภาษาไทยใช้ เช่น
เธอไม่แคร์ ฉันไม่มายด์ เขาไม่เคลยี ร์
วรศกั ด์ิ มหทั ธโนบล , (๒๕๖๐) อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
๑) ทำใหค้ ำในภาษาไทยมีหลายพยางค์เนอื่ งจากการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่น
- ภาษาเขมร เชน่ เผด็จ เสวย กังวล บำเพ็ญ ถนน
- ภาษาจีน เชน่ ตะหลวิ กว๋ ยเตย๋ี ว เลา่ เตง เอีย้ มจุน๊
- ภาษาองั กฤษ เชน่ คลินิก สนกุ เกอร์ เนกไท แคชเชียร์
- ภาษาบาลี-สันสกฤต เชน่ ปรชั ญา กรีฑา อัคนี วิทยา พร ประเสรฐิ
๒) ทำให้คนไทยมีเสยี งควบกล้ำมากข้นึ เชน่ จันทรา นิทรา ทรานซิสเตอร์ เอนทรานซ์ และเพม่ิ เสยี งควบกลำ้ ซง่ึ
ไม่มีในภาษาไทย เช่น ดรมั เมเยอร์ ดรา๊ ฟ เบรก บล็อก ฟรี แฟลช ฟลูออรนี
๓) ทำให้คำไทยมีตวั สะกดมากข้นึ ปกติคำไทยแท้ ตวั สะกดจะตรงตามมาตรา ซ่ึงมีเพยี ง 8 แม่ แต่คำยืมจาก
ภาษาต่างประเทศจะสะกดไม่ตรงตามมาตรา ดังตัวอยา่ ง
๗
- แมก่ ก เช่น สขุ เมฆ เช็ค สมัคร
- แมก่ ด เช่น กฎ รฐั กอล์ฟ ฤทธิ์ พุทธ
- แมก่ น เช่น เพ็ญ เพยี ร สญู บอล คณุ กุศล
- แมก่ บ เชน่ รปู โลภ กราฟ กอลฟ์
๔) ทำให้คำในภาษาไทยมคี ำศพั ท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ไดต้ ามความเหมาะสม เชน่
- ผหู้ ญงิ - นงเยาว์ นงคราญ อิตถี สตรี กลั ยา สุดา สมร วนิดา
- พระอาทติ ย์ - สรุ ิยา รพี รวิ ภากร
- ดอกไม้ - มาลี บปุ ผา บุหงา โกสุมคำแจกความหมายละเอียดขึน้ เชน่ อาคาร คฤหาสน์ ปราสาท วมิ าน
กระท่อม กระต๊อบ มีคำแสดงฐานะหรือระดบั ของบุคคลมากขึน้ เชน่
- ผัว - สวามี สามี ภราดา
- เมีย - ภรรยา ภริยา ชายา
เจรญิ ศรี ศรแี สนยง , (๒๕๕๓) สาเหตทุ ่ีทำใหภ้ าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปะปนในภาษาไทย ไดแก่ สภาพ
ทางภูมศิ าสตร์ คือการมีอาณาเขตใกลเ้ คียงกัน ทำใหม้ ี การตดิ ตอ่ สื่อสารกัน โดยการเจริญสมั พันธไมตรีระหวา่ ง
ประเทศ การ ติดต่อคา้ ขายระหว่างกนั และการรบั เอาวฒั นธรรมประเพณตี ่าง ๆ และ ความคดิ ความเชื่อทาง
ศาสนา จงึ มีการยืมคำในภาษาต่าง ๆ มาใช้ มากมาย เช่น ภาษาเขมร จีน พม่า ชวา มลายู อังกฤษ เปน็ ตน้ คํา
ยมื จากภาษาเขมร
- ไทยกับเขมรมคี วามสมั พันธก์ นั มานบั พนั ปี ต่างถ่ายทอด วัฒนธรรมและอารยธรรมซ่งึ กนั และกนั ในสมยั
โบราณ ไทยรับเอา “ อักษรขอมบรรจงและขอมหวัด” มาใช้ ไทยถือว่าศกั ดสิ์ ิทธ์ิ จงึ มกั บนั ทกึ เรือ่ งราวเกี่ยวกบั
ศาสนาลงบนแผ่นหนิ ใบลาน ใชต้ วั อักษรขอม เขยี นคาถาอาคมตา่ ง ๆ ปรากฏตามพระพิมพ์ เหรียญพระเครอ่ื ง
ตะกรดุ ผ้ายันต์ตา่ ง ๆ คํายืมจากภาษาจนี
- ไทยกับจนี มีความสมั พนั ธก์ ันทางการทูตและการค้าขายมา ต้ังแตส่ มยั สุโขทัยสบื มาจนถึงปัจจบุ ัน ชาวไทยมา
ทำมาหากนิ ใน ประเทศไทย แตง่ งานกบั คนไทยจนกลายเป็นพลเมืองไทย เชื้อสายจนี เป็นจํานวนมาก มีการ
ผสมทางดา้ นวัฒนธรรมประเพณีตา่ ง ๆ ตลอดมา คำยืมในภาษาจนี ส่วนใหญ่เป็นสำเนียงแต้จิว๋ มักเป็นคา่ เรียก
ส่งิ ของ เครื่องใช้ อาหาร พชื ผกั ผลไม้ รวมทัง้ คำที่เกีย่ วกับวฒั นธรรมจีน ไทย นยิ มนำคำจากภาษาจีนมาใช้ใน
ภาษาพูด ไมน่ ยิ มใช้ในภาษาเขยี น คำยืมจากภาษาองั กฤษ
คนในโลกยอมรับภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางและนยิ มใช้กนั มากทส่ี ดุ ไทยเร่ิมติดต่อกับชาติตะวนั ตก
ที่พดู ภาษาองั กฤษมาต้งั แต่ สมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาโดยทางการค้า เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ ในสมยั สมเดจ็ พระ เอกาทศรถ
ในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นมีทตู จากประเทศทางตะวันตก มาเจรจาเรอื่ งการค้ากบั รัฐบาลไทย พ่อค้าชาว
องั กฤษช่อื Hunter เข้ามาคา้ ขายเปน็ คนแรกในกรงุ เทพฯ
ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เรมิ่ มีคณะทตู สอนศาสนาเขา้ มา และได้นำวิทยาการ
ใหม่ ๆ เชน่ การพิมพ์ การแพทย์ เข้ามาเผยแพร่ คำภาษาอังกฤษจึงเรมิ่ ปรากฏในเอกสารภาษาไทย ตั้งแตส่ มัย
รัชกาลท่ี ๓ มากมาย เชน่ ชอ่ื ชนชาติ ชือ่ บุคคล ชื่อยศ, บรรดาศกั ด์ิ ชอ่ื ประเทศ ชอ่ื เมือง ช่อื ศาสนา เป็นตน้
๘
ในสมยั รัชกาลที่ ๔ มคี า่ ยมื ภาษาองั กฤษปรากฏมากข้นึ ใน เอกสารประเภทจดหมายเหตุ พระ
ราชหัตถเลขา พงศาวดาร และคำ สามัญ คำเรยี กเครื่องมอื เครื่องใช้ เรยี กทะเลมหาสมทุ รก็มากข้นึ ดว้ ย สมยั
รัชกาลท่ี ๕ ภาษาอังกฤษขยายวงกว้างออกไปสู่ ประชาชน เพราะมีโรงเรียนสอนภาษาองั กฤษและวิชาการตา่ ง
ๆ มศี พั ท์ ทางวิทยาศาสตร์ พฤกษศาตร์ สัตวศาสตร์เกดิ ขึ้นมากมาย
สงครามโลกคร้ังที่ ๒ คำยืมภาษาอังกฤษหลัง่ ไหลเข้ามา ในภาไทยอย่างกวา้ งขวาง เพราะมนี กั เรียน
ไทยไปเรยี นศึกษาใน ประเทศแถบยโุ รป และอเมริกา การเดนิ ทางระหวา่ งประเทศ การ สื่อสาร การตดิ ตอ่
คา้ ขาย และการขยายตัวของอุตสาหกรรมการคา้ ใน โลก ตลอดทัง้ การรับเอาวัฒนธรรมตะวันตกดา้ นตา่ ง ๆ เช่น
ดา้ นบันเทิง กีฬา แฟชั่น การแตง่ กาย เป็นไปอยา่ งรวดเร็ว ในโลกยุคโลกาภวิ ัตน์ ภาษาอังกฤษเขา้ มามีอิทธิพล
ตอ่ ภาษาไทยเปน็ อยา่ งมาก เรานำมาใช้ ในชวี ติ ประจำวันมากขึน้ เรามีคำยมื ภาษาอังกฤษทกุ รปู แบบ ท้งั คำทบั
ศัพท์ คำแปลศัพท์ และศัพท์บัญญัติ การยมื คำภาษอังกฤษมาใช้ใน ภาษาไทยช่วยเปดิ และขยายโลกทัศน์ด้าน
วชิ าการ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และวัตถนุ ยิ มแก่คนไทย ทำให้เกิดคา่ นิยมใหมว่ า่ “ภาษา องั กฤษเป็นภาษาของผู้
มีการศึกษา มีความทันสมัย และอยใู่ นสงคมชั้น สูง"
คำยืมจากภาษาชวา – มลายู ภาษาชวา – มลายู ทย่ี ืมมาใช้สว่ นใหญเ่ ป็นคำ ๒ พยางค์ หรือมากกว่า
สว่ นมากเป็นคำหมายถึงพืช สตั ว์ สงิ่ ของ สถานท่ี และ ศิลปวฒั นธรรม หรอื คำกรยิ าทีม่ ีความหมายเฉพาะ เชน่
กระดังงา ทุเรียน มังคดุ น้อยหน่า งกู ะปะ หอกกะพง ปลากเุ ลา โลมา ลิงอุรงั อตุ งั กอและ กรชิ กำยาน ปาเตะ๊
สลกั ว่าว จบั ปง้ิ ฆอ้ ง บหุ งารำไป ประทัด โสรง่ โกดัง มสั ยดิ เบตง ภเู ก็ต ตะเบ๊ะ คำยืมจากภาษาโปรตเุ กส
ตวั อยา่ งคำทยี่ ืมมาจากภาษาโปรตุเกส ได้แกค่ ำว่า กระดาษ (สนั นษิ ฐานวา่ เพย้ี นมากจาก “กราตสั ”) กะละแม
กะละมงั (ขนม)ปัง ปน้ั เหน่ง หลา เหรียญบาทหลวง เลหลงั สบู่ คำยืมจากภาษาเปอร์เชีย
ตวั อย่างคำที่ยมื มาจากภาษาเปอร์เชยี เชน่ คำวา่ กุหลาบ (มา จากคำว่า Gul Gol แปลวา่ กหุ ลาบ, ดอกไม้ทัว่ ไป
สแี ดง เตมิ suffix - ab เปน็ กลุ ลาพ แปลวา่ น้ำกุหลาบหรือน้ำดอกไม้เทศ ไทยนำมาใช้ แทนดอกไม้ขนาดย่อม
มกี ล่นิ หอม นอกจากน้ียังมคี ำอ่นื ๆ เชน่ เกด คาราวาน ชุกชี ตาด เยยี รบบั ตรา ตราชู ฝรั่ง ราชาวดี ศาลา สนม
สักหลาด สหุ ร่าย อง่นุ คำยืมจากภาษาอาหรบั
ตัวอยา่ งคำท่ยี ืมมาจากภาษาอาหรับได้แก่ กะลาสี โกหรา่ น (พระคัมภรี ก์ รุ อาน) ระยำ (การลงโทษโดยใชก้ ้อน
หินขว้างใหต้ าย เพราะทำผิดประเพณี ไทยนำมาใช้ในความหมายว่า ชวั่ ชา้ เลวทราม) คำยืมจากภาษาทมิฬ –
มลายู
ตัวอย่างคำท่ียมื มาจากภาษาทมฬิ ได้แก่คำวา่ กะไหล่ กลุ ี กานพลู กำมะหยี่ จงกลนี ตรยี มั ปวาย ปะวะหลำ่
อาจาด กะละออม กะหรี่ (แกงแขกชนดิ หน่ึง) ตัวอย่างคำท่ยี ืมมาจากภาษามลายู ได้แก่ คำวา่ กว้าน พลาย
เพลาะ ฝาละมี กำมะลอ สะบ้า สมิง กระแจะ ตวัก
อิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
๑) ทำใหค้ ำในภาษาไทยมีหลายพยางค์เนอื่ งจากการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ เชน่ ภาษาเขมร เช่น เผดจ็
เสวย กงั วล บำเพ็ญ ถนน ภาษาจนี เช่น ตะหลวิ กว๋ ยเต๋ยี ว เลา่ เตง เอี้ยมจนุ๊ ภาษาองั กฤษ เช่น คลินิก สนกุ เกอร์
เนกไท แคชเชียร์ ภาษาบาลี-สนั สกฤต เช่น ปรัชญา กรีฑา อคั นี วทิ ยา พร ประเสริฐ
๙
๒) ทำให้คนไทยมเี สยี งควบกล้ำมากขึ้น เชน่ จนั ทรา นิทรา ทรานซสิ เตอร์ เอนทรานซ์ และเพ่ิมเสียงควบกลำ้ ซง่ึ
ไมม่ ีในภาษาไทย เชน่ ดรัมเมเยอร์ ดรา๊ ฟ เบรก บรอนซ์ บล็อก ฟรี แฟลช ฟลอโชว์ ฟลอู อรนี
๓) ทำใหค้ ำไทยมีตัวสะกดมากขนึ้ ปกติคำไทยแท้ ตัวสะกดจะตรงตามมาตรา ซ่งึ มเี พียง 8 แม่ แต่คำยืมจาก
ภาษาต่างประเทศจะสะกดไม่ตรงตามมาตรา ดงั ตวั อยา่ ง แมก่ ก เช่น สขุ เมฆ เชค็ สมัคร
แมก่ ด เชน่ กฎ รฐั กอล์ฟ ฤทธิ์ พุทธ แม่กน เช่น เพ็ญ เพยี ร สญู บอล คณุ แม่กบ เช่น รูป โลภ กราฟ กอลฟ์
๔) ทาํ ให้คา่ ในภาษาไทยมีคำศพั ท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ได้ตาม เชน่ ชล ชโลธร อุทก วารี คงคาสาคร ธาร
กัลยา สดุ า สมร วนิดา ผู้หญิง นงเยาว์ นงคราญ อติ ถี สตรี พระอาทิตย์ - สุรยิ า รพี รวิ ภากร ดอกไม้ - มาลี บุป
ผา บุหงา โกสุมคา่
แจกความหมายละเอียดขน้ึ เชน่ อาคาร คฤหาสน์ ปราสาท วมิ าน กระท่อม กระต๊อบ มคี ำแสดงฐานะ
หรือระดับของบุคคลมากขึ้น เช่น ผัว - สวามี สามี ภราดา เมีย - ภรรยา ภรยิ า ชายา มเหสี
นำภาษาตา่ งประเทศบางคำไปใช้เป็นคำ ราชศัพท์ เชน่ เสด็จ เสวย โปรดเกล้า ฯ กระหมอ่ ม
จากการคน้ ควา้ หาความรู้เร่ืองอทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศทม่ี ตี อ่ ภาษาไทย พบว่าภาษาต่างปะเทศท่ี
เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ มอี ิทธิพลต่อภาษาไทย คือ ทำให้ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไป
จากเดมิ เชน่ การมีพยางคม์ ากขน้ึ มีคำควบกลำ้ ใช้มากขึ้น เป็นตน้
ดังน้ันอิทธิพลของภาษาไมว่ ่าจะเป็นภาษาไทยหรืออังกฤษ ไม่เพียงแตเ่ ป็นการส่อื สารอย่างเดียวเท่าน้ัน ยัง
สามารถส่ือถึงความคดิ ของมนุษย์ได้อีกดว้ ย
๒.๓ อทิ ธิพลของภาษาต่อความคิดของมนุษย์
วรรณวิสา รดั ที , (ม.ป.ป.) การใชภ้ าษากับความคดิ เกีย่ วข้องกันอยา่ งไร ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาษา
กบั ความคิดภาษากับมีอิทธพิ ลต่อความคิดหรือความคิดควบคมุ การใช้ภาษายังเปน็ ท่ีถกเถียงกนั อยา่ งไม่มีขอ้ ยตุ ิ
ว่า แทจ้ รงิ แลว้ ภาษาเป็นตัวกำหนดความคิดของมนษุ ยห์ รือความคิดเปน็ ตัวกำหนดการใช้ภาษาของมนุษย์
อยา่ งไรกต็ ามนักภาษาต่างเห็นตรงกนั วา่ ภาษากับความคิดมีความสมั พันธ์กันอย่างแยกจากกนั มิไดใ้ นระหว่างท่ี
มนุษยค์ ดิ ก็ต้องอาศัยภาษาและในขณะที่ใช้ภาษาก็ต้องอาศัยการคดิ ควบคู่ไปด้วย ภาษากับความคดิ มี
ความสมั พันธก์ นั ดังน้ีคือ
๑) ภาษาเป็นเครื่องมือส่อื ความคดิ
มนษุ ยต์ ดิ ต่อกนั โดยอาศยั ภาษาซงึ่ เป็นระบบสญั ลักษณ์อาจเป็นการพูด การเขยี น การแสดงทา่ ทางและอื่นๆ ถา้
มนุษยไ์ ม่มีภาษาแลว้ กค็ งติดต่อกนั ด้วยความลำบากเพราะ“การที่มนุษย์คิดประดิษฐภ์ าษาข้นึ ใชท้ ำใหม้ นุษย์
สามารถใชภ้ าษาเป็นเคร่ืองมอื ในการรวบรวมประสบการณ์การเรียนรขู้ องมนุษย์ต้ังแต่อดีตเร่อื ยมาจนปัจจบุ ัน
ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการพฒั นาระบบความคดิ ให้มนุษยค์ ิดเปน็ ภาษาและใชภ้ าษาเป็นเครอื่ งมอื ถ่ายทอด
ความคดิ ให้เป็นระบบระเบียบ” เชน่ การบันทกึ เร่ืองราวตา่ งๆ ไว้ ทำให้คนรุน่ ใหม่รเู้ รื่องราวของคนรนุ่ เกา่ ได้
๒) ภาษาเป็นสง่ิ สะท้อนความคิดใหป้ รากฏ
ไมว่ า่ มนุษย์จะใชภ้ าษาลักษณะใดก็ตามในขณะท่ใี ชภ้ าษาถ่ายทอดความตอ้ งการของตนน้ัน จะทำให้ผู้รบั สาร
รับรวู้ า่ ผู้สง่ สารคิดอะไรอยา่ งไร “ภาษาย่อมเป็นเครอ่ื งสะท้อนความคดิ อ่านของคนเรา ไม่ว่าจะพูดหรือจะ
๑๐
เขยี นเราย่อมตอ้ งใชภ้ าษาเป็นสอ่ื เพ่ือบอกสิง่ ท่ตี ้องการใหผ้ ู้อื่นไดเ้ ขา้ ใจหรอื ได้รบั ทราบส่ิงที่ตอ้ งการน้ี”แต่ใน
บางคร้ังการใช้ภาษาของมนุษยก์ อ็ าจไม่ได้สะท้อนความคิดทแี่ ท้จรงิ ออกมากไ็ ด้ ท้ังนเ้ี พราะมนุษย์รู้จักปกปิด
บิดเบือนความคิดที่แทจ้ รงิ ของตนเอง
๓) ภาษามอี ิทธพิ ลต่อความคิดและความคดิ ก็มอี ิทธิพลตอ่ ภาษา
แม้วา่ ภาษาจะเปน็ เพียงสญั ลักษณ์ท่ีมนุษย์กำหนดขน้ึ ใช้ แตส่ ว่ นหน่ึงมนุษยก์ ็เข้าใจวา่ ภาษาคือส่ิงที่แทนนน้ั ทำ
ให้การใชภ้ าษามสี ่วนช่วยกำหนดความคิดของมนษุ ย์ได้ดว้ ย ดว้ ยเหตนุ ภี้ าษาจึงมีอิทธพิ ลตอ่ ความคดิ เช่น การ
ตั้งชื่อของคนไทยจะตอ้ งเลือกชื่อท่ีมีความหมายดีเพ่อื เป็นสิรมิ งคลแกช่ วี ิตในทางตรงขา้ มความคิดกเ็ ปน็ ตวั
กำหนดการใชภ้ าษาของมนุษย์ เม่ือมนุษย์ต้องการถ่ายทอดความตอ้ งการของตนใหผ้ อู้ ืน่ รับรู้ ก็จะต้องเลือกเฟ้น
ถ้อยคำทม่ี ีความหมายสื่อความใหต้ รงกับความคดิ ของตน
๔) ภาษาช่วยพัฒนาความคดิ และความคิดกช็ ว่ ยพฒั นาภาษา
สมรรถภาพในการคิดและสมรรถภาพในการใชภ้ าษาของบุคคลจะมีผลต่อเนื่องกันเป็นปฏกิ ิริยาลูกโซ่
ขณะทีม่ นษุ ย์คดิ นัน้ จะต้องอาศัยภาษาเป็นเครื่องมือในการคิดและจะตอ้ งเลือกถ้อยคำนำมาเรียบเรยี งถ่ายทอด
ซึ่งการทำเช่นน้ีความคดิ จะถูกขัดเกลาให้ชัดเจนเหมาะสม ความคดิ กจ็ ะพัฒนายิ่งขน้ึ ด้วยและขณะที่มีความคิด
กว้างไกลกจ็ ะรู้จักใช้ภาษาไดก้ ว้างขวางขน้ึ ความคิดจึงช่วยพฒั นาภาษาเช่นกนั เราจะเหน็ อย่างชัดเจนวา่ ภาษา
สมั พันธ์กับความคดิ
จากการสบื ค้นข้อมลู อิทธพิ ลของภาษาต่อความคิดของมนุษย์ พบว่าภาษากบั ความคิดมีความสมั พนั ธ์
กนั อยา่ งแยกจากกนั มิได้ ในระหวา่ งทีม่ นุษย์คิดก็ต้องอาศัยภาษาและในขณะท่ใี ช้ภาษาก็ตอ้ งอาศัยการคดิ
ควบคู่
เพราะฉะนน้ั แล้วอทิ ธพิ ลของภาษาสื่อได้ทงั้ ความคดิ และวฒั นธรรม
๒.๔ อิทธิพลทางสังคมทีม่ ีผลตอ่ ภาษาและวัฒนธรรม
อิทธพิ ลทางสังคมท่มี ผี ลตอ่ ภาษาและวัฒนธรรมไทย สามารถแบง่ ได้ ดังนี้
๑) อิทธิพลต่างชาติท่มี ีผลตอ่ ภาษาและวัฒนธรรมไทย
๑.๑ อิทธพิ ลอนิ เดยี
ไดเ้ ข้ามาทางศาสนาเป็นหลักใหญ่ โดยเฉพาะภาษาบาลสี นั สกฤต ทำใหภ้ าษาเปลย่ี นแปลงไปในลักษณะดงั นี้
๑.๑.๑ มีคำหลายพยางคเ์ กิดขนึ้ แต่เดิมคำในภาษาไทยจะมคี ำหรือพยางค์เดียวแต่ ต่อมาเมื่อไดร้ บั
อทิ ธพิ ลอินเดีย จงึ ทำให้เกิดคำหลายพยางค์ข้ึน
๑.๒ อิทธพิ ลตอ่ ระบบเสียง
- ระบบเสียงของคำในภาษาไทยเปลี่ยนไป เดิมภาษาไทยจะมสี ระ “อะ” อย่างเดยี วในพยางค์แรกของคำสอง
พยางค์ เชน่ มะมว่ ง มะพรา้ ว ตะขาบ แตเ่ ม่ือรบั ภาษาบาลีสนั สฤตจะมสี ระ“อิ” “อุ” ปรากฏนำหน้าในคำสอง
พยางค์เช่นวชิาจฑุ า
- เสียงพยัญชนะควบ“ทร”เดิมในภาษาไทยไมม่ เี สยี งน้ีเมื่อได้รับอิทธิพล ทำให้เกดิ คำทีม่ ี“ทร”เปน็ พยญั ชนะต้น
เชน่ นทิ ราจนั ทรา และบางคำจะออกเสียง เป็น“ซ”เช่นมัทรี แทรก ไทร ทรัพย์
๑๑
- มีการเปลย่ี นแปลงด้านการออกเสียง คือออกเสยี งให้เสียงพยญั ชนะข้างหน้านำพยัญชนะที่ตามมาเช่น หิริ
โอตัปปะออกเสียงหิ-หร-ิ โอด-ตบั -ปะ , เอกิ เกริกออกเสียงวา่ เอกิ -กะ-เหริก
๑.๓ อทิ ธพิ ลตอ่ ระบบคำ
อิทธพิ ลอินเดยี ทำให้มีการรบั เอาอุปสรรคปัจจยั มาสรา้ งคำในภาษาไทยซ่ึง เดมิ ภาษาไทยจะใช้วิธีการประสมคำ
หรอื คำซำ้ เช่น กาย กายา กายี กาเยศ หมายถึง ร่างกาย นคร นครา นคเรศ นครินทร์ หมายถงึ เมืองใหญ่
๑.๔ อิทธพิ ลในด้านการเขียน คือ มีการใช้การันต์
๒). อิทธิพลตอ่ ระบบเสยี ง
พบวา่ คำทีย่ ืมมามาจากภาษาจนี เมือ่ เข้ามาอย่ใู นภาษาไทยจะมคี ำอยจู่ ำพวกหน่ึงท่ี มีลกั ษณะเสยี งผดิ แผกไป
จากระบบภาษาไทยคอื พยญั ชนะเสียงระเบดิ ไม่กอ้ งไมม่ ี
๓). อิทธพิ ลต่อระบบคำ
ภาษาไทยไม่ได้รับอิทธิพลภาษาจีนมาจากวรรณกรรมเท่านั้นแต่รับคำจากทางด้านการค้าขายเช่น กุ๊ก ไชโป๊
แปะ๊ ซะ
๔). อิทธพิ ลในเร่อื งสำนวน
คนไทยมกี ารแปลวรรณกรรมจนี มาต้ังแต่รัชกาลที่ 1 เรือ่ งสามกก๊ แต่การแปลนน้ั ไมไ่ ดร้ ักษาสำนวนจีนเอาไว้แต่
แปลเป็นสำนวนไทยและเลือกใช้คำให้เหมาะสมกับท่ีเป็นวรรณกรรมจีน เช่น หากจะเปรียบกับสัตว์ก็จะเป็น
มงั กร
๕). อิทธิพลต่อวฒั นธรรมไทย
-ทางด้านการดำรงชีวติ
เชน่ อาชีพ อาชพี ทค่ี ู่กับคนจีนคือค้าขาย เชน่ ตังเก จบั กัง และเกดิ อาชพี พ่อค้าคนกลางเรยี กว่า “ยี่ป๊วั ” ท่ีอาศยั
อยู่ห้องงแถวหรือตึกแถวก็มีอิทธพิ ลทไ่ี ดร้ ับจากจีนเพราะลักษณะ อาคารบ้านเรอื นเชน่ นี้ทกให้สะดวกต่อการค้า
ขาย ประหยดั เน้อื ที่ ประหยดั ค่าขนส่ง การแต่งกาย ไดร้ ับอิทธิพลมาจากจีนบางสว่ น เชน่ กางเกงขากว๊ ย ชดุ กี่
เพา้ เสื้อคอจีน อาหาร เช่น กว๋ ยเตี๋ยว ซาลาเปา ปาท่องโก๋ ขนบจบี เครอื่ งอปุ โภคในการรับประทานอาหารหรือ
ประกอบอาหาร เช่นตะเกียบ ตะหลิว ลงั ถงึ เข่ง การออกกาลงั กาย มักนิยมการรำมวยจนี
- ทางด้านศิลปกรรม
การสร้างวัดตามแบบสถาปัตยกรรมของจีน การปันรูปปูนปันประดับตามศาสนสถานหรือตามอาคารเช่นรูป
ยกั ษ์หรือเทพเจา้ ลายดอกไม้แบบจนี ประดับหนา้ บนั ไดของอุโบสถ การตกแต่งด้วยกระเบ้ืองประดับตกแต่งด้วย
มุก เกง๋ จีนตุ๊กตาจนี สิงโตจนี เครอื่ งสงั คโลก
-ทางดา้ นวรรณกรรม
ส่งผลใหเ้ กดิ การเปรยี บเทยี บโดยการต้งั สมญานามให้กบั บุคคลอ่ืน เชน่ ซ่อื สตั ย์
- ความเชอ่ื
ความเช่ือของคนไทยเชื่อกันว่า คนเขมรน้ันเป็นชนชาติทีใ่ จกลา้ แข็ง ดรุ า้ ย มีความสามารถทางด้านไสยศาสตร์
๑๒
• การตัง้ ช่ือเพลง เพลงไทยนั้นมีอยสู่ ่วนหน่ึงทไี่ ดร้ ับอทิ ธิพลเขมร อาจจะเป็น ในดา้ นทำนอง เนอ้ื ร้อง เม่ือ
แตง่ แลว้ กจ็ ะตั้งชอ่ื เพลงเพ่ือบ่องบอก เชน่ เขมร ไทร ไยค เขมรลออองค์ เขมรปากท่อ
บุญกว้าง ศรีสุทโธ, (ม.ป.ป.) วัฒนธรรมกับภาษาเป็นวัฒนธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อชีวิต
มนุษย์ แม้ว่าภาษาเป็นสิ่งที่จับตอ้ งไม่ได้ แต่ภาษาก็เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน เนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์สังคม จำเป็นต้องอยู่ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์และติดต่อสื่อสาร มนุษย์จึง
จำเปน็ ตอ้ งใชภ้ าษาเพอื่ เปน็ สอ่ื กลางในการสอ่ื ความหมายให้เกิดความเข้าใจต่อกัน
ดงั น้ันจะเห็นไดว้ ่า ในทกุ สงั คมของมนุษย์จะมีภาษาของตนเองอยู่ทวั่ ไป แม้วา่ ในแต่ละภาษานั้นจะมี
ความแตกตา่ งกนั กต็ ามภาษาไทยเป็นเครอื่ งมือในการส่ือสารของคนไทยทีม่ ีความเปน็ เอกลกั ษณ์ มีคุณค่าความ
งามที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นวิถไี ทยอย่างเด่นชัด สิ่งท่ีเป็นลักษณะเฉพาะตวั ท่แี สดงถึงวัฒนธรรมทางภาษาซึง่ มลี กั ษณะ
ดงั น้ี
๑) ภาษาไทยเป็นเปน็ สง่ิ ทแ่ี สดงถงึ ความเป็นชาติ คนไทยมภี าษาและอักษรเป็นของตัวเอง แมจ้ ะมีการรบั
อิทธิพลจากภาษาอืน่ เข้ามา แตก่ เ็ ปน็ การรับมาแต่เพยี งบางส่วนเทา่ นน้ั เพ่อื ใหเ้ กดิ ความหลากหลาย และ
เหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทย คนไทยจงึ ควรภมู ิใจในภาษาไทย และรักษาภาษาไทยโดยการใชภ้ าษาไทยได้
ถูกต้องตามหลักภาษา และช่วยกนั อนุรักษ์ภาษาไทยให้คงอยคู่ ่กู ับสงั คมไทยตลอดไป
๒) ภาษาไทยมีระดับการใชภ้ าษาในสังคม สังคมไทยมลี กั ษณะเปน็ สังคมอุปถมั ภ์ มีการใหค้ วามเคารพนับถือ
ผู้อาวุโสลดหลั่นกันไป นอกจากนี้ยังเป็นสังคมที่ให้ความเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย์ และยึดมั่นใน
ศาสนา ดงั น้ันการใช้ภาษาไทยจึงมีการลดหลน่ั กันไปตามความเคารพในแต่ละระดบั ของบคุ คล ซ่งึ การใช้ภาษา
ตามระดับของบุคคล เพื่อแสดงความเคารพนบนอบ และการให้เกียรตินี้ถือเป็นวัฒนธรรมทางการใช้ภาษา
รูปแบบหนึ่ง เราจะเห็นได้ว่าภาษาไทยมีการแบ่งระดับของภาษาอย่างชัดเจน เช่น มีภาษาที่ใช้สำหรับ
พระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ หรือเรียกว่า “คำราชาศัพท์” มีคำเฉพาะสำหรับพระภิกษุสงฆ์ หรือแม้แต่แต่
บุคคลทั่วไปก็ยังมีระดับของภาษาที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น คำว่า กิน หากใช้กับ
พระมหากษัตริย์จะใช้คำว่า เสวย พระภิกษุสงฆ์ ใช้คำว่า ฉัน และสำหรับสุภาพชนทั่วไปใช้คำว่า
รบั ประทาน เปน็ ตน้
๓) ภาษาไทยมีลกั ษณนาม เป็นหน่วยที่ใช้เรียก คน สัตว์ สิ่งของ เมื่อจะต้อบอกให้ทราบถึงจำนวนซึ่งจะมี
ลักษณนามที่แตกต่างกันออกไป เช่น ขลุ่ย ๑ เลา มีด ๒ เล่ม เลื่อย ๓ ปื้น นอกจากนี้ลักษณนามใน
ภาษาไทยยังมีลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมือนภาษาอื่น คือลักษณนามยังมีระดับในการใช้ที่แตกต่างกัน
ออกไป เช่น คำว่า ช้าง หากอาศัยอยู่ตามธรรมชาติมลี ักษณนาม เป็น ตัว แต่หากเป็นช้างที่มีคนเล้ียงจะมี
ลกั ษณนามเปน็ เชอื ก
๔) ภาษาไทยมีการรบั ภาษาต่างประเทศเข้ามาใชใ้ นภาษาไทย สาเหตทุ ีท่ ำให้ภาษาตา่ งประเทศ เขา้ มาปนใน
ภาษาไทยเน่ืองมาจากอิทธพิ ลทางด้านตา่ ง ๆ ได้แก่ อิทธิพลทางดา้ นภูมิศาสตร์ ด้านประวัตศิ าสตร์ ดา้ นการ
พาณชิ ย์ ดา้ นศาสนา ด้านเทคโนโลยี ดา้ นธุรกจิ ส่วนตวั และอ่ืน ๆ ภาษาเปน็ เร่ืองของวฒั นธรรมยอ่ มมีการ
๑๓
ถา่ ยทอดกนั ไดเ้ สมอทำให้มภี าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปนอยูใ่ นภาษาไทยเป็นจำนวน
มาก เช่น ภาษาจีน ภาษาญ่ปี นุ่ ภาษาชวา – มลายู ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษามอญ เป็นต้น
การรบั ภาษาต่างประเทศเข้ามานัน้ คนไทยได้ปรับภาษาและสำเนยี งพูดจนกลายเปน็ คำและสำเนียงไทย บาง
คำอาจไม่มเี ค้าสำเนยี งเดิมเลย ซึง่ เปน็ ลักษณะท่ีชาญฉลาดของบรรพบรุ ษุ ไทย เช่น
- เตี้ยะหลวิ (จีน) ไทยใช้ ตะหลวิ , เปอะเนียต (ชวา – มลาย)ู ไทยใช้ เพนียด
- กระเวน (เขมร) ไทยใช้ ตะเวน, คาเฟ่ (ฝร่งั เศส) ไทยใช้ กาแฟ
๕) ภาษาไทยนยิ มใช้คำสัมผสั ทำใหเ้ กิดสำนวนตา่ ง ๆ และเป็นวัฒนธรรมทางภาษาอย่างหน่ึง คนไทยเป็นคน
เจ้าบทเจา้ กลอนและมีเอกลกั ษณ์ทางภาษา มักใช้คำท่มี ีเสยี งสมั ผัส ถือว่าเปน็ ลกั ษณะทที่ ำใหภ้ าษาเกดิ ความ
ไพเราะทางเสยี ง การใชถ้ ้อยคำคลอ้ งจองนน้ี ยิ มใชก้ นั มาตงั้ แตส่ มัยสุโขทยั ดังจำเหน็ ได้จากหลกั ศิลาจารึกพ่อ
ขุนรามคำแหงมหาราชทจ่ี ารึกไวว้ า่ “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เพอื่ นจูงววั ไปค้า ข่มี ้าไปขาย”ในปัจจบุ นั เรามี
ถอ้ ยคำท่ที ่ีคล้องจองในการพูดจากันมาก เช่น ฟงั เทศนห์ าวนอนดูละครตาสวา่ ง ไฟในอยา่ นำออกไฟนอกอย่า
นำเข้า จะบีบก็ตายจะคลายกร็ อด คนรักเทา่ ผนื หนงั คนชงั เท่าผนื เสือ่ เปน็ ต้น
นอกจากนป้ี ระเพณีการตง้ั ชื่อในสมยั กอ่ นจะต้ังชื่อสถานที่ บุคคล ราชทินนามให้คลอ้ งจอง
กนั เชน่ ชอ่ื ประตูพระบรมมหาราชวงั ตงั้ ให้สมั ผสั คลอ้ งจอง วเิ ศษไชยศรี มณีนพรตั น์ สวัสดโิ สภา เทวา
พิทกั ษ์ ศักด์ชิ ยั สทิ ธ์ิ วจิ ติ รบรรจง ชอ่ื สะพานในกรุงเทพมหานคร เช่น ผา่ นพิภพลลี า ผา่ นฟา้ ลีลาศ เป็นตน้
๖) ภาษาไทยมีคำที่เกี่ยวกับคำศัพท์วิชาการต่าง ๆ เพื่อการศึกษาและถ่ายทอดความรู้ การศึกษาของไทย
เจริญก้าวหน้ามากขึ้น ชาวไทยมีการติดต่อกับชาวต่างชาติมากขึ้น ความเจริญ ก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
สูงข้นึ จึงรบั เอาเคร่ืองมือเครือ่ งใช้ ความรู้ทางวิชาการเฉพาะอย่างเข้ามาในประเทศไทย ชื่อและศัพท์เฉพาะ
ทางดา้ นวิชาการบางคำเข้ามารวมอยู่ในภาษาไทยด้วย ทำให้ภาษาไทยมถี ้อยคำใช้ในการศึกษา และถ่ายทอด
ความรูศ้ ิลปะวทิ ยาการแขนงต่าง ๆ เช่น
ด้านการกีฬา เช่น โค้ช ทีม เซต สแตน สตาร์ท วอร์ม ลูกสักหลาด จบเกม เป็นต้น ด้าน
การแพทย์ เช่น เอกซเรย์ อายุรกรม กุมารเวช สูตินารีเวช ชันสูตร วิสัญญีแพทย์ เป็นต้น ด้านการ
ดนตรี เช่น หน้าทับ เป็นจังหวะเพลง ทางของเพลง (หมายถึงแบบหรือวิธีที่นักดนตรีถนัด) เช่น ทางใน ใช้
เป็นทางนำปี่พาทย์ ทางหวาน เปน็ การบรรเลงทเี่ สียงยืด คล้ายเลียนเสียงทำนองร้อง ด้านศิลปกรรม มีคำท่ี
ใชท้ างศลิ ปกรรม เช่น กระจัง ชอ่ ฟ้า บราลี นาคปัก คนั ทวย บนั แถลง เรือนแก้ว ลงรกั ปิดทอง ประดับ
กระจก ลายรดน้ำ ลายดอกประจำยาม เป็นต้น ด้านวิชาการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิชา
การศึกษา การแพทย์ การเกษตร การค้า จะมีวงศัพท์ที่ใช้ในวิชาการแต่ละแขนง และรู้กันเฉพาะคนที่
สนใจ หรือผูท้ ีเ่ รียนมาในแขนงนน้ั ๆ
๗) ภาษาไทยมีภาษามาตรฐานเพื่อใช้สื่อสารทางราชการ ภาษามาตรฐาน เป็นภาษาที่คนทั้งชาติที่ได้รับ
การศึกษาสามารถเข้าใจได้เป็นอย่างดี โดยปกติเราถือว่าภาษาไทยที่ใช้กันอยู่ในเมืองหลวงเป็นภาษไทย
มาตรฐาน ทั้งนี้เพราะเป็นศูนย์กลางการติดต่อของคนทั่วไป เป็นภาษาของสุภาพชน และใช้ใน
ราชการ เช่น แถลงการณ์ของรัฐบาล ประกาศของทางราชการ ใช้ในการตดิ ต่อราชการ ภาษาที่ใช้ต้องเป็น
๑๔
ภาษาท่งี า่ ย ทุกท้องถ่ินสามารถเข้าใจได้ ไม่ใช้ภาษาถน่ิ ไมใ่ ช้คำหยาบ ไมใ่ ชภ้ าษาเกา่ ที่เลกิ ใชไ้ ปแล้ว หรอื คำ
ตลกคะนอง นอกจากนีภ้ าษาไทยมาตรฐานยังใช้สอนในโรงเรยี นอีกดว้ ย
๘) ภาษาไทยมภี าษาถนิ่ ใชส้ ื่อสารกันแตล่ ะท้องถ่ิน ภาษาถ่ินบางท้องท่ีมีเสยี งเพ้ียนไปจาก ภาษาไทย
มาตรฐานเทา่ นน้ั ดงั นนั้ ภาษาถน่ิ ในประเทศไทยจึงผดิ เพีย้ นกันไม่มากนัก ท้องถ่นิ ที่อยู่ใกล้กันยอ่ มมสี ำเนยี ง
ภาษาใกล้เคียงกัน ถา้ หา่ งไกลกนั สำเนยี งภาษาก็ย่อมแตกต่างกนั มาก แตส่ ำหรับประเทศไทยยังสามารถ
ติดตอ่ สื่อสารกันรเู้ รอื่ ง จะแตกตา่ งกันในระบบเสยี งพยญั ชนะ และเสยี งสระ เช่น ภาษาไทยภาคกลางใช้
เสียง “ช” เชน่ ชา้ ง ช่ือ เชอื ก ภาษาไทยถิ่นเหนือใช้เป็นเสียง “จ” จ้าง จื้อ เจือก ภาษาถ่นิ
อสี าน จะใชเ้ สยี ง “ซ” ซา้ ง ซอ่ื เซือก เปน็ ตน้ อย่างไรก็ตามความแตกตา่ งเหล่านย้ี ังสามารถสอ่ื สารกัน
ได้ ภาษาถ่นิ เปน็ วฒั นธรรมอย่างหนง่ึ ทที่ ำใหเ้ ราสามารถศกึ ษาประวัติของคำได้ เพราะภาษาถิ่นหลายๆ คำ
เป็นภาษาท่ปี รากฏใช้อยู่ท่ัวไปตามภูมิภาคต่างๆ ในอดีต แตป่ จั จบุ นั ใช้ในบางภมู ภิ าคเท่าน้นั เชน่ ภาษาทาง
ภาคอสี าน ส่วนมากจะเรยี กผลไมข้ ้ึนตน้ วา่ หมาก เช่น มะละกอ เรยี กวา่ หมากฮุ่ง เป็นตน้
นอกจากนี้ ภาษาถน่ิ ยังทำใหเ้ กดิ วรรณกรรมพื้นบ้าน เช่น เพลงโคราช ซึ่งเปน็ เพลงพนื้ บ้านของชาว
นครราชสีมา ซอและค่าวซอ เป็นเพลงพื้นบ้านของทางภาคเหนือ เพลงโนรา เป็นเพลงพื้นบ้านของ
ภาคใต้ เป็นตน้
จากการสืบค้นหาความรู้เกี่ยวกับอิทธิพลทางสังคมที่มีผลต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย พบว่าภาษาเป็น
วัฒนธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตมนุษย์ ภาษาก็เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตมนุษย์ตั้งแต่อดีต
จนถึงปจั จบุ ัน เนอ่ื งจากมนุษย์เปน็ สตั วส์ งั คม จำเป็นต้องอยรู่ ่วมกนั มีปฏิสัมพันธ์และติดต่อสอ่ื สาร
จากอทิ ธิพลที่มผี ลหลากหลายด้าน ลว้ นสง่ ผลตอ่ จติ ใจและความคิด และสามารถสร้างแรงบนั ดาลใจได้
๓. การสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
๓.๑ ความหมายของการสร้างแรงบนั ดาลใจ
แรงบันดาลใจ (Inspiration) หมายถึง พลงั อำนาจในตนเองชนดิ หนึง่ ทีใ่ ช้ในการขับเคล่ือนการคดิ และ
การกระทําใด ๆ ทพ่ี ึงประสงค์ เพือ่ ให้ บรรลผุ ลสำเร็จไดต้ ามตอ้ งการโดยไม่ต้องอาศยั แรงจูงใจ (Motivation)
ดุษฎี โยเหลา และคณะ (๒๕๕๖) กล่าวว่า แรงบนั ดาลใจ หมายถึง พลังอานาจใน ตนเองชนิดหนึ่งที่ใช้ในการ
ขบั เคลอ่ื นความคิดและการกระทาใด ๆ เพ่ือให้บรรลุผลสำเร็จไดไ้ มว่ า่ สงิ่ ที่ ตนกระทำน้นั จะยากสักเพยี งใดตนก็
พร้อมทจ่ี ะฝ่าฟนั อปุ สรรคท้ังหลายสู่ความสำเร็จท่ีต้องการใหจ้ งได้ แมจ้ ะต้องเสียสละบางสิ่งของตนเองไปบา้ ง ก็
พรอ้ มท่ีจะเสยี สละไดเ้ สมอ ถ้าจะชว่ ยนามาซ่งึ ผลสำเร็จที่ ต้องการนน้ั (พรรณพร บุอทศ ๒๕๕๘)
หมายถงึ จดุ เร่ิมต้น ของความปรารถนาพิเศษจำเพาะ ซง่ึ อยู่เหนอื กว่าความปรารถนาพ้ืนฐานโดยทั่วไป เพราะ
แรงบนั ดาลใจไม่อาจเกดิ ขนึ้ ได้บ่อย ๆ แต่มันจะต้องมีจังหวะและส่ิงที่บุคคลเห็นว่าพเิ ศษจนกอ่ ใหเ้ กดิ เจตจานง
อนั แน่วแน่วา่ จะคดิ หรือการทาบางส่งิ บางอย่างข้นึ มา ซงึ่ แอบแฝงไวด้ ว้ ยนัยพิเศษ มิใช่เป็นนัยท่วั ไป ความ
ปรารถนาพื้นฐานท่ัวไปน้นั เป็นเรอื่ งทีเ่ กดิ ขน้ึ ได้ในชีวติ ประจำวนั ตลอดเวลา หรอื อาจจะเรยี กว่าเกิดขึ้น ไดง้ ่าย
แตส่ ำหรบั ความปรารถนาพิเศษจำเพาะหรือแรงบนั ดาลใจแลว้ มันเปน็ เร่ืองที่เกิดขึน้ ได้ยากกว่า เพราะต้องใช้
ศกั ยภาพและความพยายามอันมหาศาลกว่าท่ีจะก้าวไปสคู่ วามสำเรจ็ ดังกลา่ วได้ (เอส.เอส.อนาคามี ๒๕๕๕)
๑๕
“แรงบนั ดาลใจ” (inspiration) วา่ มาจากภาษาละตนิ วา่ สไปราเร่ (Spirarae) หมายถึง ลมหายใจ ซึง่
เปน็ รากศัพท์ของคาวา่ Spirit ที่ แปลวา่ จิตวิออาณ คาวา่ Inspire จงึ แปลวา่ การผ่านลมหายใจ หรอื การผา่ น
จิตใจของคนหนึ่งเข้าไปในอีกคนหนึ่ง ลมหายใจหรือจติ ใจทผี่ ่านเข้าไปน้ี จงึ เปน็ สงิ่ ท่ีทาให้ผ้รู ับน้นั ดาเนินชวี ิตได้
นอกจากน้นั ยงั ระบวุ า่ แรงบันดาลใจน่าจะจัดเป็นแรงจูงใจ (Motivation) แตว่ ่าตาราและแนวคดิ ทฤษฎไี มไ่ ด้
กล่าวถงึ การสรา้ งแรงจูงใจด้วยการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ มเี พียงประเด็นภาวะผ้นู า ท่กี ล่าวถงึ เทคนิคการ สรา้ ง
แรงจงู ใจท่ีเชอื่ มโยงกับเทคนิคการเป็นผนู้ า โดยมีหลกั คดิ วา่ การเป็นผูน้ าต้องรจู้ กั การจูงใจคนดว้ ย วิธีการต่าง ๆ
ดังเช่น การอธิบายตามแนวคิดทฤษฎลี าดบั ข้ันความต้องการของ Maslow ทฤษฎี EGR ของ Clayton Alderfer
ทฤษฎสี องปจั จยั ของ Herzberg เปน็ ต้น อย่างไรกต็ าม แรงบนั ดาลใจ อาจ ไมเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ความต้องการขนั้ ใด
ๆ ไม่มีสง่ิ ตอบแทนจากภายนอกมาให้เปรยี บเทยี บกับความ ต้องการเพื่อบอกว่าเท่ากับท่ีคาดหวังหรือน้อยกว่า
ทค่ี าดหวัง ในทางกลบั กันแรงบันดาลใจเกย่ี วข้องกับ การท่ีบคุ คลหน่งึ เกิดความรู้สกึ ประทบั ใจ เล่ือมใส ศรทั ธา
ในคาพูด แง่คดิ หรือการกระทาบางอยา่ ง ของบคุ คลใดบุคคลหน่งึ จนกระท่ังสามารถมากากบั ทัศนคติและ
พฤติกรรมของตน และกลายเปน็ พลัง หลกั การ และตวั ตน เช่น โอบามา สรา้ งแรงบันดาลใจใหช้ าวอเมริกันด้วย
คาวา่ Change และ We can (ภเู บศร์ สมุทรจักร ๒๕๕๒)
จากการศกึ ษาความหมายของแรงบันดาลใจสรุปได้วา่ แรงบนั ดาลใจคอื การทบี่ ุคคลหน่ึงเกิดความรู้สึก
ประทับใจ เลื่อมใส ศรัทธาในคำพูด แง่คิด หรือการกระทาบางอย่างใช้เป็นพลังอำนาจที่ใช้ขับเคลื่อนด้าน
ความคิดและการกระทำ เพื่อให้จุดประสงค์ที่ต้องการสำเร็จตามเป้าหมาย แม้ต้องเสียสละบางสิ่งหรือมี
อุปสรรคมากแค่ไหน ก็พร้อมที่จะฝ่าฟันเพื่อให้ทุกสิ่งสำเร็จ นอกจากนี้ที่มาของแรงงบันดาลใจยังเป็นอีกหนึ่ง
ประเดน็ ทีจ่ ำเป็นต้องศกึ ษาเพมิ่ เตมิ
๓.๒ ที่มาของแรงบันดาลใจ
พจน์ ใจชาอสขุ กิจ , (๒๕๕๐) แรงบนั ดาลใจสามารถเกิดข้ึนไดภ้ ายในสภาวการณ์ท่ีหลากหลายขึน้ อยู่
กบั ปจั จยั ต่าง ๆ รอบตวั และความต้องการทแี่ ตกตา่ งของบคุ คล โดยได้ จำแนกท่มี าของแรงบนั ดาลใจไว้ ๔
ประเภท ดงั น้ี
๑) แรงบันดาลใจจากเป้าหมาย (Inspiration by Goal) การตั้งเป้าหมายของแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะเป็น
เป้าหมายทสี่ ูงหรอื ตำ่ สอดคล้องกับความสามารถของตนหรือไม่จะเป็นแรงบันดาลใจให้แตล่ ะบคุ คลปฏิบัติและ
พยายาม บรรลเุ ปา้ หมายที่ตนตง้ั ไวจ้ นได้ซ่ึงระดบั การปฏบิ ัติและความพยายามจะข้ึนอยู่กบั ระดับความสามารถ
และระดบั เปา้ หมายท่ีตั้งไว้ ถ้าบุคคลท่ีมคี วามสามารถสูงตง้ั เป้าหมายสงู ยอมมีการปฏบิ ัตแิ ละความ พยายามใน
การถงึ เปา้ หมายน้อยกว่าคนที่ความสามารถตั้งเปา้ หมายไวส้ ูง แต่ความสำเร็จตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้จะเป็นส่ิงมี
คา่ ซึง่ แตล่ ะบคุ คลนั้นจะมแี รงบนั ดาลใจคอยกระตนุ้ ไมใ่ ห้เกิดท้อแท้ แรง บนั ดาลใจจากเป่าหมายก่อให้เกิดการ
วางตกแหน่งทีเ่ หมาะสมกับตนเอง การตัดสินใจการเลือกอาชีพ การเลือกสังคม ที่ตรงกับเส้นทางในการเขา้ ถงึ
จุดมุ่งหมายในชวี ิต
๒) แรงบันดาลใจจากตน้ แบบ (Inspiration by Role Model) แรงบันดาลใจจากตน้ แบบเป็นแรงบนั ดาลใจท่ี
เกิดจากบุคคลทแี่ ต่ละบุคคล
๑๖
ชืน่ ชอบและชื่นชม ซึง่ เปน็ ได้ทัง้ บคุ คลท่รี ูจ้ ักและบคุ คลท่ีไม่ร้จู ัก เช่น บคุ คลในครอบครวั ครูอาจารย์ หรือ ดารา
นักรอ้ ง นักกีฬา เปน็ ตน้ แรงบันดาลใจในลักษณะนีจ้ ะเกิดจากการรับรู้ขา่ วสาร การเข้าไปมสี ่วนรว่ ม การฏ็ ิ
สมั พันธก์ ับผ้ใู ด ไมว่ ่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อมกต็ าม จนเกิดเป็นความรัก ความ ศรทั ธา ความเชอื่ ถือ ความ
ประทบั ใจ และพฒั นาเป็นนความร้สู ึกทตี่ ้องการยึดถอื ไวเ้ ป็นแบบอยา่ ง แรง บันดาลใจจากตน้ แบบย่อมมผี ลต่อ
การใชช้ วี ิต การเลอื กทางเดนิ ให้กับชีวิต ทศั นคติ มุมมอง ความคิด รวมถึงการตดั สินใจจากเรอื่ งต่าง ๆ ในทิศทาง
ท่สี อดคล้องกับตน้ แบบ
๓) แรงบันดาลใจจากแรงกระตุ้น (Inspiration by Motivation) แรงบนั ดาลใจจากแรงกระตุ้นเป็นแรงบนั ดาล
ใจที่เกิดขน้ึ โดยฉับพลนั จาก
เหตุการณ์ สถานการณ์ ช่วงจังหวะเวลา เงื่อนไขต่าง ๆ ซึ่งไม่ได้ตั้งใจหรือเตรียมการเอาไว้ลว่ งหน้า การใช้แรง
บันดาลใจในลักษณะนี้ออาจนำมาใช้ในการตัดสินใจ การเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อาจมี ความสำคัญต่อวิถีชีวิต
องค์กรหรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง จึงต้องอาศัยความรอบคอบ แม่นยำและต้อง คำนึงถึงประสิทธิผลมากกว่าแรง
บันดาลใจอื่น
๔) แรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อน (Inspiration by Dynamic) แรงบันดาลใจจากการขับเคลื่อน
เป็นนแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และสิ่งที่ได้ประสบในแต่ละเวลาซึ่งจะส่งผลและมีอิทธิพลใน
ช่วงเวลานั้น ๆ แรงบันดาลใจที่เกิดจากการ ขับเคลื่อนนี้อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้บ่อย และมีผลต่อชีวิตใน
ช่วงเวลาสน้ั ๆ
ซง่ึ แรงบนั ดาลใจ ๔ ประเภทดังกลา่ วนั้นเกิดขึ้นมาโดยมสี าเหตุมาจากส่งิ ต่าง ๆ
๓.๓ สาเหตุของการเกิดแรงบนั ดาลใจ
จากการทบทวนเอกสารงานวิจยั ทเี่ กย่ี ว ข้องกับตัวแปรเชงิ สาเหตุของแรงบันดาลใจ สรปุ ได้วา่ ตวั แปร
ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อแรงบันดาลใจน้นั อาจแยกได้ ๒ ส่วน คอื สว่ นที่ ๑ ตัวแปรทเี่ กิดจากตัวบคุ คล ซึ่งอาจเปน็ ตวั
แปรลักษณะทางจติ การรคู้ ิด หรอื เป็นตัวแปรลักษณะบุคลิกภาพ เช่น ทัศนคตทิ ่ีมตี อ่ การสร้างสรรคง์ าน ความ
สนใจตอ่ สง่ิ เร้าหรอื เป้าหมาย ความต้องการความสำเร็จ การเหน็ คุณค่าในตนเอง ความคดิ สร้างสรรค์ ผล
ทางบวก (Positive Affect) หรอื บุคลกิ ภาพ เปน็ ตน้ ส่วนที่ ๒ เปน็ ตวั แปรที่เกิดจากส่ิงแวดล้อม เชน่ สภาพ
แวดลอ้ มทางการศึกษา สภาพการจัดการเรียนรู้ การเห็นแบบอย่างของผูท้ ่ีประสบความสำเรจ็ ในชีวิต เป็นตน้
นอกจากนผ้ี ลจากการศกึ ษาเอกสารที่เก่ยี วข้องยงั พบวา่ มีปัจจยั ทางจติ อกี ๓ ตัว ที่มคี วาม เกย่ี วขอ้ งกับการ
สรา้ งแรงบันดาลใจ ได้แก่
๑) ความเช่อื มัน่ ในตนเองเพราะเหน็ ได้ว่าถ้าบุคคลหนึง่ มี ความเช่อื มนั่ ในตนเองว่าผลสำเรจ็ ทีต่ อ้ งการจะไดร้ บั
จากการคิดหรอื จากการกระทาน้นั เขาสามารถ ทาได้อยา่ งแน่นอน
๒) ความมงุ่ มั่นในการลงมือทำถา้ เมื่อบุคคลมีความเช่ือมน่ั ในตนเองสูงจนเป็นที่
พอใจได้แล้ว บคุ คลนนั้ จะเกิดความมุ่งมัน่ ในการกระทำทจ่ี ะให้ส่ิงนั้นบรรลุผลสำเร็จไม่วา่ จะตอ้ งทุม่ เท แรงกาย
แรงใจ และกำลงั สติว่ามากน้อยแคไ่ หน
๑๗
๓) ความมีศรัทธาในผลสำเร็จที่มุ่งหวังเป็น การมองเห็นผลสำเร็จที่จะได้จากการกระทาที่มีคุณค่าสูงสุดและ
ความรู้สึกวา่ ถ้าเขา้ ถึงมนั ได้จะเป็นสิ่งทีท่ า้ ทายทสี่ ุดในชีวติ (ดุษฎี โยเหลาและคณะ ๒๕๕๖)
วธิ สี ร้างแรงบนั ดาลใจมี ๕ วิธดี ังนี้
๓.๔ วธิ กี ารสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
น้ำทพิ ย์ วภิ าวนิ , (๒๕๕๑) การสรา้ งแรงบันดาลใจสำหรับผ้นู ำไว้ ๕ ข้อ ดงั น้ี
๑) รับฟังความคิดเห็นและให้คุณคา่ ของบุคคล (Appeal to the person’s ideals and values) การรบั ฟงั
ความคิดเหน็ ของบุคคลจะทาให้บุคคลรสู้ ึกวา่ เปน็ คนสำคญั เป็นคนทม่ี ีคณุ ค่า เปน็ คนทปี่ ระสบความสำเรจ็ ได้
ช่วยเหลือผู้อ่นื มสี ่วนรว่ มในความสำเร็จ แรงบันดาลใจจากการรับฟัง ความคิดเห็นและใหค้ ณุ คา่ ของบุคคลเปน็
พืน้ ฐานทด่ี ีสาหรบั การดงึ ดูดทางอารมณ์เพ่ือสรา้ งแรงบันดาล ใจ
๒) เชอื่ มโยงความต้องการกับภาพลกั ษณ์ของบุคคล (Link the request to the person’s self-image) การ
สร้างภาพลักษณ์ของบุคคลตามความต้องการของแต่ละบุคคลเป็นการ สรา้ งแรงบันดาลใจท่เี กิดจากความรู้สึก
เปน็ ตัวตนของตนเองตามบทบาทหน้าท่ีที่ควรเปน็ เชน่ นักวทิ ยาศาสตร์สว่ นมากค้นพบวทิ ยาการใหม่ ๆ ซง่ึ มี
คุณค่าต่อมนุษยชาติจงึ มีแรงบันดาลใจในการ พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ หรอื แพทย์และพยาบาลมีคุณค่าต่อการ
รกั ษาสขุ ภาพของผู้คนจึงมีแรงบนั ดาล ใจในการพัฒนาความรู้ใหก้ า้ วหน้า ช่วยพัฒนาการดูแลสุขภาพทาให้
องค์กรมปี ระสิทธิภาพ เปน็ นตน้
๓) เชอ่ื มโยงความต้องการกับการทำวิสยั ทัศน์ให้เปน็ จริง (Link the request to the clear and appealing
vision) เป็นแรงบันดาลใจท่เี กดิ จากความพยายามนาเสนอการ เปล่ยี นแปลงและนวัตกรรมท่จี ะทาให้ประสบ
ความสำเร็จตามวสิ ัยทัศน์ที่กาหนดไว้ เปน็ แรงบนั ดาลใจ
ท่มี ผี ลตอ่ ส่วนรวมมากกว่าสว่ นตน การสร้างวิสัยทศั นโ์ ดยวธิ นี ้จี งึ เกี่ยวข้องกับความมุ่งมั่น การทำงานเป็นทมี
๔) ใช้การตืน่ เต้นเร้าใจและการแสดงออกทางการพดู (Use a dramatic, expressive of speaking) การ
แสดงออกทางคำพดู จะช่วยเพ่ิมความรูส้ ึกดา้ นอารมณ์ ความรู้สึก ต่าง ๆ มกั แสดงทางน้าเสียง การสร้างแรง
บันดาลใจด้วยวิธนี ี้ควรใชค้ ำพูดท่หี นักแน่น มีระดบั เสียงสงู ต่ำ เวน้ ระยะอย่างเหมาะสม เว้นช่วงสำคญั เพอ่ื สรา้ ง
ความรสู้ กึ สนใจ
๕) ใชค้ ำพูดทเี่ ป็นบวก มองโลกในแงด่ ี (Use positive, optimistic language) การ ใชภ้ าษาสอื่ สารทเี่ ป็นบวก
การสร้างความมั่นใจวา่ การเปล่ยี นแปลงนัน้ จะนามาซึ่งความสำเรจ็ สามารถส่ือสารจากบคุ คลหนึง่ ไปยังบุคคล
อนื่ ได้ โดยเฉพาะเพื่อการสนับสนนุ งานทที่ ายากให้ผูป้ ฏิบัติท่ี ขาดความเช่ือม่นั สามารถปฏบิ ตั ิงานสำเร็จลลุ ่วง
ได้
Beau_Monde , (๒๕๖๑) วธิ กี ารสร้างแรงบนั ดาลใจมี ๘ ขอ้ ดังนี้
๑) มคี วามเชอื่ ม่ัน
ก่อนอนื่ นัน้ เราควรมีความเช่ือม่นั ในตัวเองก่อนค่ะ โดยการสรา้ งทัศนคตดิ ีๆ เช่น เช่ือมน่ั ว่าตนเองทำได้และ
สามารถผา่ นปัญหาท่ีกำลงั เจออย่ตู อนน้ีไปได้ ซ่ึงหากเรามคี วามเชื่อมน่ั ในตวั เองแล้ว เราก็จะเกิดความม่นั ใจ
และสามารถเอาชนะปญั หาได้ในที่สดุ
๑๘
๒) มเี ป้าหมายทชี่ ัดเจน
การจะทำอะไรให้ประสบความสำเร็จนั้น นอกจากจะต้องมั่นใจในสิ่งที่ทำแล้ว การวางแผนและตั้งเป้าหมายที่
ชดั เจนก็เป็นอีกทางที่ชว่ ยใหเ้ ราประสบความสำเร็จไดง้ า่ ยข้ึน เพราะจะช่วยให้เราไม่ไขว้เขวทำใหเ้ รามีแรงจูงใจ
ที่จะไปใหถ้ ึงเปา้ หมายได้
๓) หาแบบอยา่ งหรือบุคคลตัวอยา่ ง
ลองหาแบบอย่างหรือบุคคลตัวอย่างที่เราชื่นชอบมาเป็นแรงบันดาลใจของเรา โดยเราอาจชื่นชมบุคคล
เหล่านั้นจากการกระทำ แนวคิด หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ที่บุคคลเหล่านั้นได้ถ่ายทอดออกมา เราสามารถ
เลอื กบุคคลเหลา่ น้นั มาเป็นแรงบลั ดาลใจของเราได้ ถือเปน็ การให้กำลังใจตวั เองอกี ทาง
๔) เรียนรจู้ ากความผดิ พลาด
"ไมม่ ีใครไม่เคยทำพลาด" คนทุกคนยอ่ มเคยผ่านความผิดพลาดมาแล้วทง้ั นัน้ ค่ะ เพยี งแตเ่ ราควรนำความ
ผดิ พลาดนนั้ มาเป็นประสบการณแ์ ละเตือนตวั เองว่าไม่ควรทำผดิ ซ้ำแลว้ ซ้ำเล่าในเรื่องเดิม ๆ รวมถงึ เรายงั ไม่
ควรจมปลักอยู่กบั ความผิดพลาดนั้น ๆ เราควรปล่อยวางแล้วก้าวต่อไป เพ่ือความสำเรจ็ ในวันข้างหน้า
๕) รจู้ กั บริหารเวลา
ในบางคร้ังเราก็จำเป็นต้องทำอะไรหลาย ๆ อย่างในเวลาจำกัด ซึง่ เราจะไม่สามารถทำให้สำเร็จไดเ้ ลยหากไม่
รจู้ ักบรหิ ารจัดการเวลาท่ีดีคะ่ การเรียงลำดับวา่ สิง่ ใดควรมากอ่ นและสิ่งใดควรทำทหี ลัง เป็นนิสัยหนง่ึ ของคนท่ี
ประสบความสำเรจ็ ซ่งึ หากเราอยากจะประสบความสำเรจ็ กค็ วรฝกึ ตนเองให้มนี ิสยั แบบน้ีด้วย
๖) เปดิ ใจ ลองทำสิง่ ที่ไม่เคยทำ
การตดิ อยู่กับความเคยชนิ เกา่ ๆ ทำให้เราไม่มีประสบการณ์ที่หลากหลาย ซึ่งหากเราอยากเป็นคนท่เี รยี นรู้อะไร
หลายๆ ดา้ น ก็ควรจะเปดิ ใจทดลองทำอะไรใหมๆ่ หรือเรียนรอู้ ะไรใหม่ ๆ ด้วยเชน่ กนั เพราะประสบการณ์ท่ี
หลากหลายจะชว่ ยเราให้รบั มือกบั อุปสรรคในรปู แบบตา่ ง ๆ
๗)มองโลกในแง่ดี
ลองยิม้ รบั กับปัญหาและมองว่านนั่ คอื ประสบการณใ์ หม่ ๆ ทีท่ ำให้เราเขา้ ใกล้ความสำเรจ็ มากขึ้น ซงึ่ การจะยิ้ม
รบั ปญั หาไดน้ ัน้ เราก็ควรเปล่ยี นตวั เองใหเ้ ป็นคนทีม่ องโลกในแงด่ ีเสียกอ่ น เพราะเม่ือมองทุกอย่างเป็นไปใน
ด้านบวกแลว้ จะชว่ ยทำให้เรามีจิตใจโปรง่ ใสและเกิดแรงบนั ดาลใจท่ดี ีเกิดขึ้นมาได้
๘) อยา่ เสยี เวลากับเรื่องที่ไม่เป็นเรือ่ ง
เรอ่ื งบางเรื่องหรือแม้แตค่ นบางคนก็ไมค่ วรทเี่ ราจะไปเสยี เวลาด้วย เพราะนอกจากจะไม่ไดป้ ระโยชน์อะไร กลับ
มีแต่เสียกับเสีย ซ่งึ หากเรารูอ้ ยา่ งนีแ้ ล้ว เราก็ควรจะเอาเวลาทมี่ ีไปทำส่งิ ที่มีประโยชน์
บริษัท Adecco , (ม.ป.ป.) วธิ ีการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ มี ๕ ขอ้ ดงั น้ี
๑) ทบทวนเป้าหมาย
การท่คี นๆ นงึ จะมีแรงบนั ดาลใจในการทำงานนั้นเกิดจากการมแี รงจูงใจภายในที่
เรยี กวา่ intrinsic motivation ซง่ึ เปน็ แรงขบั เคลื่อนท่ีทำใหเ้ ราเกดิ พฤติกรรมตา่ ง ๆ เพื่อไปสเู่ ป้าหมาย ดังนนั้
กอ่ นอนื่ เราอาจตอ้ งมาทบทวนกอ่ นวา่ ตอนนเ้ี ปา้ หมายของเราคอื อะไร เปา้ หมายเดิมท่วี างไวย้ ังเหมือนเดมิ หรือ
๑๙
เปล่า การมองเหน็ เปา้ หมายที่ชดั เจนจะทำให้เรามที ิศทางในการ ทำงานท่ีชัดเจนขึน้ ร้วู า่ ตอ้ งทำอะไร และมี
แรงจงู ใจในการทำงานมากขึ้น
๒) สรา้ งความท้าทายใหต้ ัวเอง
การทำงานเดิมซ้ำ ๆ บ่อย เราก็จะรู้สึกวา่ งานงา่ ยข้ึนความท้าทายลดลง เหมอื นเราเล่นเกมในดา่ นงา่ ย ๆ
ด่านเดิมซ้ำ ๆ จึงทำให้เรารู้สึกเบื่อและขาดแรงจูงใจในการทำงาน ดังนั้นเราอาจต้องสร้างความท้าทายให้
ตัวเอง โดยตั้งคำถามกับตัวเองว่าจะพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร ลองหาไอเดียใหม่ ๆ ขอฟีดแบคจาก
หัวหน้า เพื่อนร่วมงานหรือนำฟีดแบคของลูกค้ามาปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น ลองอาสาริเริ่มโปรเจกต์ใหม่
ๆ หรือรับผิดชอบงานใหม่ ๆ เปิดใจเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ตามความถนัดและความสนใจก็จะช่วยให้เรามีแรง
บนั ดาลใจและสนุกกบั การทำงานมากยิ่งขนึ้
๓) แวดล้อมดว้ ยพลังบวก
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ราอยู่น้นั มผี ลอย่างมากกับแรงบันดาลใจ หากเราได้อยู่กบั คนทคี่ ิดบวก มี passion ท่ี
ตรงกนั มีหวั หน้าคอยสนับสนนุ อยใู่ นองค์กรทมี่ วี ัฒนธรรมการทำงานทีเ่ อื้อใหเ้ ราพฒั นาความรู้ความสามารถ
และปลอดปล่อยศักยภาพไดเ้ ตม็ ทีเ่ ราก็มีแรงบนั ดาลใจในการทำงานมากข้นึ ดังน้นั หากมโี อกาสควรพยายามใช้
เวลากบั คนที่มีพลงั บวกแบบนี้ให้มากข้ึนและเลือกองค์กรท่ีเหมาะสมกบั ตัวเรา สว่ นตวั เราเองนนั้ กต็ ้องกลบั มาดู
ภายในความคดิ และจิตใจของตัวเราเองดว้ ยเพราะเม่ือเราเบื่องานก็อาจโฟกสั กับความคดิ ดา้ นลบและบน่ เรื่อง
งานมากเกินไปจนทำให้ละเลยการมองด้านดี ๆ จนทำให้มองไม่เห็นคณุ ค่าในการทำงานและหมดแรงบันดาลใจ
ในการทำงาน
๔) เปิดมมุ มองใหม่ ๆ ใหต้ ัวเอง
การที่เราจะมีแรงบันดาลใจในการทำงาน เราควรคอยหาความรูแ้ ละประสบการณเ์ พิ่มเติมเพื่อเปิดมมุ มองใหม่
อยู่เสมอเพื่อที่จะเอาความรู้และประสบการณ์เหล่านั้นมาตกผลึกเชื่อมโยงและต่อยอดกับงานที่ทำอยู่ได้
กิจกรรมที่น่าสนใจ เช่น การอ่านหนังสือ ดูหนัง ดูสารคดี ไปท่องเที่ยว ทำความรู้จักกับคนใหม่ ๆ พูดคุยกับ
ผคู้ น ลงเรียนคอร์สทีส่ นใจ ศกึ ษาแนวคิดของธุรกิจอืน่ อ่านสมั ภาษณ์ของคนเก่งในวงการตา่ ง ๆ เป็นตน้
๕) เพ่มิ กิจกรรมใหม่ๆ ในแต่ละวนั
การที่เรามีกิจวัตรเดิม ๆ ในการทำงานและใช้ชีวิตจะทำให้เรารู้สึกว่าชีวิตอยู่ในกรอบเดิม ๆ รู้สึกเบื่อและขาด
แรงบันดาลใจ ดังนั้นเราจึงควรรีเฟรชตัวเองอยู่เสมอโดยลองทำกิจกรรมที่ตัวเองไม่เคยทำหรือไม่ค่อยมีโอกาส
ได้ทำลงไปในตารางเวลาของแต่ละวันของคุณ อาจทำเป็นเหมือนภารกิจเล็ก ๆ แทรกในแต่ละวันให้ไม่
จำเจ เชน่ ลองตน่ื เช้ามาออกกำลังกาย ทำอาหารทานเองทบ่ี ้าน เปลีย่ นจากฟังเพลงในรถมาฟังพอดแคสต์บ้าง
พักกลางวันลองร้านอาหารใหม่ ๆ ลองพูดคุยกับเพื่อนร่วมงานที่เราไม่ค่อยได้คุย ลองอ่านบทความวันละ
ชิ้น ออกไปทำกิจกรรมใหม่ ๆ ในวันหยุด เช่น นั่งสมาธิ ไปพิพิธภัณฑ์ เล่นเกมใหม่ ๆ ดูหนังแนวใหม่ ๆ ซื้อ
หนังสือที่น่าสนใจที่เราไม่เคยลองดบู ้าง การเปลี่ยนกิจวัตรทีเ่ คยชินวันละน้อยจะช่วยให้คุณมชี ีวิตชีวาและกล้า
เปิดใจทดลองทำอะไรใหม่ ๆ และได้เรยี นรอู้ ะไรใหม่ ๆ มากข้ึน
๒๐
จากการศึกษาวิธีสร้างแรงบันดาลใจ ผู้ศึกษาสามารถนำไปปรับใช้ได้หลากหลายวิธี โดยเริ่มต้นจาก
ตนเอง เช่น การใช้คำพูดที่ดี การแสดงออกทางคำพูดจะช่วยเพิ่มความรู้สึกด้านอารมณ์ ความรู้สึกต่าง ๆ มัก
แสดงทางน้ำเสียง การสร้างแรงบันดาลใจด้วยวิธีนี้ควรใช้คำพูดทีห่ นักแน่น สามารถทำโดยร่วมกันผู้อื่น อยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่ดี เริ่มทำสิ่ง ใหม่ ๆ และในเมื่อทุกคนต้องการแรงบันดาลใจในการประสบความสำเรจ็ ในชวี ติ
หากสญู เสยี แรงบนั ดาลใจ ตอ้ งพลิกฟืน้ กลบั คนื มาใหไ้ ด้
นอกจากการเสรมิ สรา้ งแรงบันดาลใจจากการเริ่มทีต่ นเองแล้วนน้ั ผูศ้ ึกษายงั สามารถสร้างแรงบนั ดาล
ใจไดจ้ ากสงิ่ รอบตวั ที่พบในชีวิตประจำวัน ซง่ึ ประเดน็ ที่ทางคณะผู้จัดทำสนใจศึกษาคอื การสรา้ งแรงบันดาลใจ
จากสอื่ ประเภท ตา่ ง ๆ
๔. สื่อ
๔.๑ ความหมายของส่ือ
สือ่ หมายถึง สิง่ ใด ๆ กต็ ามที่เปน็ ตวั กลางระหว่างแหล่งกำเนดิ ของสารกบั ผูร้ ับสาร เปน็ สิ่งทีน่ ำพาสาร
จากแหล่งกำเนนิ ไปยังผรู้ ับสาร เพือ่ ใหเ้ กิดผลใด ๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการสื่อสาร คำว่า “สอ่ื ” ตาม
พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓ และ พ.ศ. ๒๕๒๕ หมายถึง ทำการติดต่อให้ถึงกนั ชักนำให้
รจู้ กั กนั ในกระบวนการส่อื สารมวลชน คำวา่ “ส่ือ” (Channel or Medium) คือ พาหนะนำข่าวสาร (Message
Vehicles) หรือพาหนะของสารหรือสง่ิ ทข่ี นสง่ สาร (Carrier of Messages) จากผ้สู ง่ สารไปยงั ผรู้ ับสาร
Heinich และคณะ (๑๙๙๖) Heinich เป็นศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีระบบการเรยี นการสอน
ของมหาวิทยาลัยอินเดยี น่า (Indiana University) ให้คำจำกัดความคำวา่ "media" ไวด้ งั นี้ "Media is a
channel of communication." ซงึ่ สรปุ ความเปน็ ภาษาไทยได้ดงั น้ี "สื่อ คือช่องทางในการติดต่อสือ่ สาร"
Heinich และคณะยงั ได้ขยายความเพิ่มเตมิ อีกวา่ "media มรี ากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า
ระหวา่ ง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซ่ึงทำการบรรทุกหรือนำพาขอ้ มูลหรอื สารสนเทศ สอ่ื เปน็ สิ่งท่ีอยู่
ระหวา่ งแหล่งกำเนิดสารกับผู้รบั สาร"
จากการศึกษาความหมายของสื่อสรุปได้ว่า สื่อคือตัวกลางในการสื่อสารระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร
เพ่อื ใหไ้ ดร้ บั เน้อื หาและเขา้ ใจตรงกนั โดยส่ือทีน่ ัน้ แบ่งไดห้ ลายประเภท
๔.๒ ประเภทของส่อื
นฤมล โลท่ องคำ, (๒๕๕๕) ส่ือการเรยี นรสู้ ามารถจำแนกออกตามลกั ษณะไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื
๑) สื่อสง่ิ พิมพ์ หมายถึง หนงั สือและเอกสารสง่ิ พมิ พต์ า่ ง ๆ ท่แี สดงหรือเรียบเรียงสาระความร้ตู า่ ง ๆ โดยใช้
ตัวหนงั สือที่เปน็ ตัวเขยี น หรือตวั พิมพ์เป็นสื่อในการแสดงความหมาย สือ่ ส่ิงพิมพ์มีหลายชนดิ ได้แก่ เอกสาร
หนังสอื เรียน หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร วารสาร บันทกึ รายงาน ฯลฯ
๒) ส่ือเทคโนโลยี หมายถึง สื่อการเรียนรทู้ ีผ่ ลติ ข้นึ ใช้ควบคู่กับเคร่ืองมือโสตทัศนวัสดุ หรือเคร่ืองมือท่เี ปน็
เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น แถบบันทึกภาพพร้อมเสียง (วดิ ีทศั น์) แถบบนั ทึกเสยี ง ภาพนิ่ง ส่อื คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นอกจากนี้สื่อเทคโนโลยี ยงั หมายรวมถึงกระบวนการต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั การนำเทคโนโลยีมาประยกุ ตใ์ ช้ใน
กระบวนการเรยี นรู้ เชน่ การใช้อินเทอรเ์ น็ตเพื่อการเรียนรู้ การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม เปน็ ต้น
๒๑
๓) ส่อื อนื่ ๆ นอกเหนือจากสื่อ ๒ ประเภทที่กลา่ วไปแล้ว ยงั มีสอ่ื อ่ืน ๆ ทสี่ ง่ เสริมการเรยี นร้ขู องผ้เู รยี นซ่ึงมี
ความสำคัญไมย่ ่ิงหย่อนไปกวา่ สื่อสงิ่ พิมพแ์ ละส่อื เทคโนโลยี สื่อทีก่ ลา่ วนี้ ได้แก่
๓.๑ บคุ คล หมายถึง บุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ซึง่ สามารถถ่ายทอด สาระ
ความรู้ แนวคดิ และ ประสบการณไ์ ปสบู่ ุคคลอนื่ เชน่ บคุ ลากรในท้องถิน่ แพทย์ ตำรวจ นกั ธุรกจิ เป็นตน้
๓.๒ ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม หมายถึง ส่ิงมีอยู่ตามธรรมชาตแิ ละสภาพแวดล้อมตวั ผู้เรียนเชน่ พืชผกั ผลไม้
ปรากฏการณ์ ห้องปฏบิ ัตกิ าร เป็นต้น
๓.๓ กจิ กรรม / กระบวนการ หมายถึง กิจกรรมหรอื กระบวนการทีผ่ ู้สอนและผู้เรยี นกำหนด ขึน้ เพ่ือสรา้ งเสรมิ
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ใชใ้ นการฝึกทักษะซ่งึ ต้องใชก้ ระบวนการคิด การปฏิบัติการเผชญิ สถานการณ์และ
การประยุกต์ความรู้ของผูเ้ รียน เชน่ บทบาทสมมติ การ สาธิต การจันทิ รรศการ การทำโครงงาน เกม เพลง
เปน็ ตน้
๓.๔ วสั ดุ เครอื่ งมือและอุปกรณ์ หมายถึง วสั ดทุ ีป่ ระดิษฐข์ ้นึ ใช้เพื่อประกอบการเรียนรู้ เชน่ หมุ่ จำลอง
แผนภมู ิ แผนที่ ตาราง สถติ ิ รวมถงึ สอื่ ประเภทเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จำเป็นตอ้ งใช้ในการปฏบิ ัติงานตา่ ง ๆ
เชน่ อุปกรณ์ทดลองวิทยาศาสตร์ เครือ่ งมือช่าง เปน็ ตน้
สริ พิ ชั ร์ เจษฎาวโิ รจน์ , (๒๕๕๐) จำแนกประเภทของส่ือไดเ้ ปน็ ๖ ประเภทใหญๆ่ ดงั น้ี
๑) สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ มที งั้ พมิ พ์ทจ่ี ัดทำข้ึนเพื่อสนองการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรโดยตรง เชน่ หนังสือเรยี น คูม่ ือ
ครู แผนการเรยี นรู้ หนงั สืออา้ งองิ หนงั สอื อ่านเพิ่มเติม แบบฝกึ กจิ กรรม ใบงาน ใบความรู้ ฯลฯ และ
สงิ่ พิมพท์ ัว่ ไปท่ีสามารถนำมาใช้ในกระบวนการเรยี นรู้ เช่น วารสาร นิตยสาร จลุ
สาร หนงั สอื พมิ พ์ จดหมายขา่ ว โปสเตอร์ แผ่นพบั แผ่นภาพ เปน็ ตน้
๒) สอ่ื บคุ คล หมายถงึ ตวั บคุ คลท่ที ำหนา้ ที่ถา่ ยทอดสาระความรู้ แนวคดิ และวิธีปฏบิ ตั ติ นไปสูบ่ คุ คล
อื่น นบั เปน็ ส่อื การเรียนรู้ท่ีมีบทบาทสำคัญ โดยเฉพาะในดา้ นการโน้มนา้ วจติ ใจของนักเรยี น สอื่ บุคคลอาจ
เป็นบุคลากรท่ีอยใู่ นสถานศึกษา เช่น ผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา คนทำอาหาร หรอื ตวั นกั เรียน
เอง หรอื อาจเปน็ บุคลากรภายนอกที่มคี วามเช่ยี วชาญในสาขาตา่ ง ๆ
๓) ส่อื วัสดุ เป็นสื่อท่ีเก็บสาระความรู้อยู่ในตัวเอง จำแนกออกเปน็ ๒ ลกั ษณะ คอื
๓.๑ วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้อยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วย
เชน่ รปู ภาพ หนุ่ จำลอง เปน็ ต้น
๓.๒ วสั ดุประเภททไ่ี ม่สามารถถ่ายทอดความรไู้ ดโ้ ดยตนเองจำเปน็ ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์อนื่
ชว่ ย เช่น ฟลิ ม์ ภาพยนตร์ เทปบนั ทึกเสียง ซีดีรอม แผ่นดิสก์ เป็นตน้
๔) สื่ออปุ กรณ์ หมายถงึ สิ่งท่ีเปน็ ตัวกลางหรอื ตวั ผ่าน ทำใหข้ ้อมลู หรือความรู้ท่ีบนั ทึกในวัสดุสามารถถา่ ยทอด
อกมาให้เหน็ หรอื ไดย้ ิน เชน่ เคร่อื งฉายแผน่ โปรง่ ใส เคร่ืองฉายสไลด์ เครอ่ื งฉายภาพยนตร์ เครอ่ื ง
คอมพวิ เตอร์ เครื่องบันทกึ เสียง เปน็ ตน้
๕) ส่ือบรบิ ท เป็นสื่อทีส่ ง่ เสริมหรือสนบั สนุนการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ ม และสถานการณต์ ่าง ๆ
เช่น หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั ิการ แหลง่ วทิ ยาการหรือแหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆ เช่น ห้องสมดุ หรือเปน็ ส่งิ ทเ่ี กดิ ข้นึ เอง
๒๒
ตามธรรมชาตใิ นรปู ของสงิ่ มชี ีวติ เชน่ พชื ผัก ผลไม้ สตั ว์ชนิดต่าง ๆ หรอื อยใู่ นรปู ของปรากฏการณ์หรือ
เหตกุ ารณท์ ่ีมีอย่หู รือเกิดขึ้นรอบตวั ตลอดจนขา่ วสารด้านต่าง ๆ เป็นต้น
๖) สื่อกิจกรรม เป็นกิจกรรมหรือกระบวนการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียน
ได้แก่ การแสดงละคร บทบาทสมมติ การสาธิต สถานการณ์จำลอง การจัดนิทรรศการ การไปทัศนศึกษา
นอกสถานท่ี การทำโครงงาน
นายมเี ดยี (นามปากกา), (๒๕๕๐) สือ่ การศึกษาท่ีแบ่งประเภทตามช่องทางการส่งและรบั สาร มี ๔
ประเภท ได้แก่
๑) สอื่ สง่ิ พิมพ์ หมายถึงส่ือการเรยี นรูท้ ่ีจดั ทำขึ้นเพ่อื สนองการเรียนรู้ตามหลกั สตู ร หรือส่ือสงิ่ พิมพ์ทว่ั ไป ไดแ้ ก่
หนังสือ- แบบเรยี น คมู่ ือครู ชุดวชิ า หนังสือประกอบการสอน หนงั สืออ้างอิง หนงั สอื อา่ นเพิ่มเติม แผนการสอน
ใบงาน แบบฝึกหดั กิจกรรม หนังสือพิมพ์ วารสาร แผน่ พบั โปสเตอร์ เปน็ ตน้
๒) ส่ือบคุ คล หมายถงึ บคุ คลท่มี คี วามรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ และทักษะตา่ ง ๆ ใหก้ บั ผู้เรยี น
เชน่ ครู ผู้เชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น(แพทย์ พยาบาล นักกฎหมาย) ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ หรือปราชญช์ าวบ้านที่มคี วามรู้
ความสามารถ ประสบการณเ์ ฉพาะเรอ่ื งหรือผู้ที่ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชพี เปน็ ต้น
๓) สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์และโทรคมนาคม หมายถงึ ส่ือทผ่ี ลิตหรอื พฒั นาขน้ึ เพ่ือใชค้ วบคู่กับเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ทาง
เทคโนโลยี เชน่ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ วทิ ยุ แผ่นรายการเสียงหรือวดิ ีทศั นร์ ปู แบบ VCD/DVD แถบบนั ทึกเสียง
หรือวดิ ที ศั น์ ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี มหรือผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
e-learning และ อนิ เทอรืเนต็ นอกจากนย้ี งั รวมไปถึงโทรศัพท์ทก่ี ำลังพฒั นาไปสู่การศึกษาผา่ นโทรศพั ท์ที่
เรียกวา่ M-learning เป็นตน้
๔) สอ่ื กจิ กรรม หมายถึงส่ือประเภทวธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการฝึกทักษะ ฝึกปฎบิ ัติ ซง่ึ ต้องใชก้ ระบวนการคิด การปฎิบตั ิ
และการประยุกต์ความรูข้ องผู้เรยี น เชน่ สถานการณจ์ ำลอง บทบาทสมมตุ ิ ทศั นศึกษา เกม การทำโครงงาน
การจดั นิทรรศการ การสาธิต เป็นตน้
จากการศึกษาประเภทของสื่อสรุปได้ว่า สื่อแบ่งออกเป็น ๓ ประเภทประกอบด้วยสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
บุคคล และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากสื่อที่มีอยู่มากนั้น ผู้จัดทำจึงยกตัวอย่างสื่อที่สร้างแรงบันดาลใจโดย
เฉพาะทีส่ ามารถพบไดบ้ ่อยในชีวิตประจำวนั เปน็ ๕ สอ่ื หลกั ดงั นี้
๔.๓ ตัวอย่างส่อื ท่ีสร้างแรงบันดาลใจ
๔.๓.๑ เพลง
นรศิ รา แสงศัพท์เพลง, (๒๕๕๗) คอื ถ้อยคำท่ีนักประพนั ธ์เรียงรอ้ ยหรอื เรยี บเรียงขน้ึ ซึง่ ประกอบด้วย
เนอื้ ร้อง ทำนอง จงั หวะ ทำให้เกิดความไพเราะสร้างความเพลิดเพลนิ ให้แกผ่ ู้ฟัง มีคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ทงั้ ด้าน
การเลอื กสรรคำท่ีใชใ้ นการแต่ง การเรยี บเรยี งประโยค และการใช้โวหาร เพลงน้นั อาจให้ข้อคดิ แก่ผู้ฟงั ในการ
ดำเนินชวี ิตด้วยสำเนียงขับรอ้ ง ทำนองดนตรี
๒๓
๔.๓.๑.๑ เพลงเพ่อื ชวี ิต
อรนุช กาสกุล และคณะ, (๒๕๖๐) เพลงเพื่อชีวิต คือ เพลงที่ถือเป็นหนึ่งในวัฒนธรรมที่ผู้แต่งสร้าง
หรือผลิตขึ้น เพื่อใช้เป็นพื้นที่สาธารณะในการสื่อสารความคิดและอุดมการณ์ของตนผ่านบทเพลงนั้น ๆ โดย
ได้รับอิทธิพลในการแต่งเพลงจากบริบทแวดล้อมทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง แต่ผลจากการ
เปล่ียนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจ และการเมืองอย่างเป็นพลวัต ทำให้กระบวนการสร้างหรือการผลิตของเพลง
เพอื่ ชวี ิตต้องปรับเปลย่ี นตามชว่ งเวลาตา่ ง ๆ
๔.๓.๒ คำคม
ปยิ ะฤกษ์ บญุ โกศล, (๒๕๕๔) คำคม คือ ถ้อยคำทห่ี ลักแหลมชวนให้คิด หรอื ถ้อยคำหรือข้อความท่ีมี
ความหมายอยใู่ นตัว ดว้ ยการกล่าวซำ้ คำ บางคำในข้อความนน้ั ๆ ให้มคี วามหมายเก่ียวพันกับเนื้อความเดิม คำ
คมท่ดี ีต้องแสดง ถงึ การใช้ความคดิ หรอื แสดงให้เกิดความรู้สกึ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ อยา่ งชดั เจนเพื่อให้ผู้อ่านเกดิ
ความลกึ ซึง้ เมื่อได้อ่าน
๔.๓.๓ วิดีโอ
VDOLearning, (ม.ป.ป.) วดิ โี อ คือ มัลติมเี ดียท่ีสามารถแสดงภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงบรรยายได้
การนำเสนอวิดโี อมหี ลายรปู แบบ เช่น วดิ โี อเพ่อื การศึกษา วิดโี อเพอ่ื ความบนั เทิง
๔.๓.๔ วดิ ีโอไลฟโ์ ค้ช
ปณชยั อารเี พ่ิมพร, (๒๕๖๐) วิดโี อไลฟโ์ ค้ช คอื วิดโี อที่จัดทำโดยไลฟ์โค้ชหรือโค้ชชีวติ หมายถงึ ผู้ทม่ี ี
ศาสตร์ในการไกด์แนวทางคนและคอยเปน็ ที่ปรึกษาให้เห็นถึงวธิ ีการแกป้ ัญหาและการไปสเู่ ปา้ หมายชวี ิต โดย
ใชเ้ ครือ่ งมือการตัง้ คำถามเพื่อสะทอ้ นแนวทางต่าง ๆ กลับไปยังตัวผู้ทร่ี บั การโคช้ เสมือนเป็นกระจกเงาบาน
หน่งึ
๔.๓.๕ ภาพยนตร์
ปิยะดนัย วิเคียน, (๒๕๖๐) ภาพยนตร์ คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายใน
ลักษณะที่แสดงให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้ว
เป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรอื แสดงอาการเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงไปทลี ะน้อยตอ่ เนื่องกันเป็น
ช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็น
การแสดงใหเ้ หมือนจริง หรอื อาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจนิ ตนาการของผ้สู รา้ งก็ได้
๔.๓.๕.๑ ภาพยนตร์ชวี ประวตั ิ
วกิ พิ ีเดีย , (๒๕๕๙) ภาพยนตร์ชวี ประวัติ คอื ภาพยนตร์ประเภทหน่ึงท่ีไดร้ บั ความนิยมสงู ที่เล่าเร่ือง
ชวี ิตของคน มักมโี ครงสร้างทค่ี ่อนขา้ งตายตวั คือเล่าตั้งแต่เกิดจนตายโดยเน้นชว่ งสำคัญในชวี ติ คนแต่ละ
ประเภทแตกต่างกัน หากเป็นศิลปนิ อาจเล่าถงึ แรงบนั ดาลใจในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน หากเป็นกีฬา หนงั อาจ
ถา่ ยทอดความกดดนั ในเกมแข่งขนั หรอื หากเปน็ นักรบ หนังกอ็ าจเลา่ ถึงช่วงเวลาที่ถือเปน็ ความพ่ายแพ้ท่สี ุดใน
ชีวติ
๒๔
๔.๓.๖ หนงั สือ
Mike LaVere , (๒๕๕๘) หนงั สอื คือ การบันทึกความรู้ ความคดิ ประสบการณ์ ลงบนแผ่นกระดาษ
ขนาดเทา่ ๆ กนั โดยใช้ถ้อยคำ สำนวนโวหารในการส่อื สารใหผ้ ู้อ่านไดร้ ับร้แู ละเข้าใจ ซ่งึ ใช้การเขยี นหรือ
พมิ พ์ แล้วนำมาเยบ็ รวมเป็นเลม่
๔.๓.๖.๑ หนังสอื จติ วิทยา
บริษัท ริคโค จำกัด , (๒๕๖๔) หนังสือจติ วทิ ยา คือ แหล่งการเรยี นรูส้ ำคัญท่ีจะชว่ ยพฒั นาความฉลาด
ทางอารมณ์ ช่วยสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง และเหมาะสมให้กับตัวคุณ อีกทั้งยังเป็นแนวทางสำคัญที่จะทำให้คุณ
สามารถบรรลุเป้าหมายในชีวิตที่คุณต้องการได้ ซึ่งหนังสือจิตวิทยาที่วางขายโดยทั่วไป ก็มีให้ได้เลือกอ่าน
มากมายหลายเลม่ แตล่ ะเล่มกจ็ ะมคี วามแตกต่างกันไป
จากการศึกษาสื่อสร้างแรงบันดาลใจที่ยกตัวอย่างมานั้น คือ เพลงเพื่อชีวิต คำคม วิดีโอไลฟ์โค้ช
ภาพยนตร์ชีวประวัติ และหนังสือจิตวิทยา ผู้จัดทำจึงมีความประสงค์ให้ผู้ศึกษาเห็นผลที่ผู้บริโภคสื่อดังกล่าว
ได้รบั เปน็ รูปธรรมมากยิ่งขึ้น โดยผจู้ ัดทำไดย้ กตัวอยา่ งความคิดเห็นส่วนหนึ่งของผู้ทบี่ รโิ ภคส่ือเหล่าน้ีสนับสนุน
ประกอบคู่กนั ดงั นี้
๕. การวเิ คราะห์สื่อทส่ี ร้างแรงบนั ดาลใจ
๕.๑ เพลง
๕.๑.๑ จากบทสมั ภาษณเ์ พลงฤดทู ี่แตกตา่ ง - BOYd ของนางสาวสริ มิ าส อินโกสุม นักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาป่ที ี่ ๖/๑ โรงเรยี นมารยี ์อุปถัมภ์ พบวา่ ผู้ฟังมคี วามคดิ วา่ ถึงจะมีอุปสรรคมากเพยี งใดก็จะสามารถ
ผา่ นไปได้ดว้ ยความเพยี รพยายาม จากสถานการณ์ทีผ่ ู้ฟังได้ย่อท้อจากการเรยี นและการเตรยี มตัวสอบเข้ามหา
ลัย สังเกตได้จากเนือ้ เพลงท่อน “อย่าไปกลวั เวลาท่ฟี ้าไม่เป็นใจ อยา่ ไปคดิ วา่ มนั เป็นวันสุดทา้ ย น้ำตาท่ีไหลยอ่ ม
มีวนั จางหาย หากไมร่ สู้ กึ เจ็บปวด กค็ งไม่ซ้ึงถึงความสขุ ใจ"
๕.๑.๒ จากบทสัมภาษณ์เพลงโตไปดว้ ยกัน - Uncle Ben ของนางสาวญาณิศา วงศส์ วุ รรณ นักเรียน
ช้นั มัธยมศึกษาป่ีที่ ๖/๒ โรงเรยี นมารยี อ์ ุปถัมภ์ พบวา่ ผูฟ้ ังมคี วามคิดเห็นวา่ เมอื่ ฟงั แลว้ รู้สึกมกี ำลงั ในการทำส่ิง
ตา่ ง ๆไม่วา่ สิง่ ท่ีเจอน้ันจะดีหรือรา้ ยก็คือบทเรยี นทผี่ ู้ฟังได้รบั และรู้สึกดีที่ในวนั ท่ีร้สู ึกแย่มาก็ยังมีคนทค่ี อยอยู่
เคยี งข้างเพื่อรับฟัง สังเกตได้จากเนือ้ เพลงท่อน “ยังมีฉันยืนอยูท่ ีต่ รงนเี้ หมือนเคยเคยี งข้างเธอ” เพราะทำให้รู้
วา่ ไมไ่ ด้อยูต่ ัวคนเดียวและยังมีคนพร้อมท่จี ะอยู่เคียงข้างเราเสมอ”
๕.๑.๓ จากบทสัมภาษณเ์ พลง Avenue - Whatcharawalee ของนางสาวบุษยมาส พุทธรักษา
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖/๑ พบวา่ ผู้ฟงั ฟังแล้วรสู้ กึ ดี ทำใหร้ ู้สกึ วา่ ไม่ได้อย่ตู ัวคนเดียวในเวลาท่ยี ่อท้อและ
ผิดหวงั อยา่ งน้อยกย็ งั มคี นอยเู่ ป็นเพ่ือนคอยใหก้ ำลงั ใจ มีกำลงั ใจเพิ่มมากขึ้น จากสถานการณท์ ผ่ี ู้ฟงั ทำอะไรที่
ตง้ั ใจไว้ได้ไมด่ ีพอหรอื รู้สึกโดดเดีย่ ว สงั เกตได้จากเนื้อเพลงท่อน “ทง้ั ท่จี ริงเขาอยกู่ บั คุณมานาน ท้งั ทจี่ รงิ เขาอยู่
กบั คุณตลอดเวลา คุณไม่ไดแ้ ค่เพยี งอยคู่ นเดียวเพื่อนคนนี้ฝากบอกว่า อาการเหงาเหงาก็แคผ่ า่ นมา (แค่อยากให้
เพลงของฉัน) เด๋ียวกผ็ า่ นไป และผ่านไป”
๒๕
๕.๑.๔ จากบทสมั ภาษณเ์ พลงOasis - Patrickananda ของนางสาวสวรนิ ทร์ ทองอว่ ม นกั เรียนช้ัม
มัธยมศึกษาปที ี่ ๖/๒ โรงเรยี นมารีย์อุปถัมภ์ พบว่าผู้ฟังมีความคิดเหน็ ว่า เนอื้ เพลงนท้ี ำให้รู้สกึ ว่าฟังแลว้ สบายใจ
ชว่ ยปลอบตอนกำลงั เศร้าหรอื ท้อใจ ถ้ามคี นสง่ มาให้กเ็ ปน็ การสอ่ื ความว่าเขาจะคอยอยู่ขา้ งเราในวนั ที่รูส้ ึกไม่ดี
สงั เกตได้จากเนื้อเพลงท่อน "ตอ่ ให้วนั ที่ฟา้ ไมเ่ ป็นใจ ต่อให้วันทล่ี มหนาวเทา่ ไร ต่อให้เธอต้องเจอเร่อื งรา้ ย ๆ สัก
แคไ่ หน ขอแค่เธอหันมา และไมว่ า่ เนนิ่ นานเทา่ ไร และไม่ว่าเธอไม่มีใคร จะมีฉนั ที่คอยดูแลเป็นทพี่ ักใจ I will
always be your Oasis" ก็เหมือนกับวา่ วันน้นั ไปเจออะไรท่ีแย่มามากมายจนผู้ฟังรู้สกึ ท้อก็อยากใหร้ ้วู ่ามีอกี
คนทจ่ี ะคอยให้กำลงั ใจอยู่
๕.๑.๕ จากบทสมั ภาษณ์เพลงกอด - Quicksand bed ของนางสาวรัฎชา กระชน้ั กจิ นักเรยี นช้นั
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖/๑ โรงเรียนมารยี อ์ ุปถัมภ์ พบวา่ ผ้ฟู ังได้รับกำลงั ใจในการใชช้ วี ติ รสู้ ึกถึงความรกั และ
ความหวังดขี องคนรอบข้างที่มใี หผ้ ฟู้ งั สงั เกตไดจ้ ากเน้ือเพลงทอ่ น “เธอเขา้ มาพดู ข้างหู คำนน้ั ที่ถามประจำวา่
เหนอื่ ยไหม เพียงอ้อมกอดที่เธอน้ันสวมให้ฉนั ไออ่นุ กายท่ีฉันได้รับ ไดส้ ัมผสั กลิน่ หอมจางๆของเธอ เพยี งไดเ้ จอ
ความล้ากห็ าย เพียงไดเ้ จอไม่ขอสิง่ ไหน ไม่จำเป็นต้องเข้าใจอะไรที่ฉนั เจอ อยากให้เธอสวมกอดฉนั ไวต้ ลอด”
๕.๒ คำคม
๕.๒.๑ จากบทสัมภาษณจ์ ากนางสาวปณุ ยนุช สขุ โสภณธน นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖/๑ โรงเรยี น
มารียอ์ ุปถัมภ์พบว่าผู้อ่านมีความกล้าและเช่ือมั่นในตัวเองมากขึ้น ไมเ่ ก็บคำพดู ของผอู้ ่นื มาใสใ่ จและนำคำติชมท่ี
ไดม้ าปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน จากคำคม “อยา่ ปล่อยใหเ้ สียงนกเสยี งกาของผู้อื่น มาบั่นทอนความเชอ่ื มั่นของ
คุณลงได้ และที่สำคญั จงมีความกล้าที่จะทำตามหัวใจ และสัญชาตญาณของตนเอง”
“Don’t let the noise of others’ opinions drown out your own inner voice. And most important,
have the courage to follow your heart and intuition.”
๕.๒.๒ จากบทสัมภาษณ์จากนางสาววิรินอร วิเศษไธสง นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖/๑ โรงเรียนมา
รีย์อุปถัมภ์พบว่าผู้อ่านใช้การสร้างแรงผลักดันจากการประสบเรื่องราวที่ยากลำบากในอดีต เนื่องจาก
ประสบการณ์เหล่านั้นจะทำให้เราเรียนรู้เพื่อเจอกับสิ่งใหม่ๆในอนาคต และไม่ทำพลาดในจุดเดิมอีกครั้ง จาก
คำคม “พายุมักจะทำให้รากต้นไม้หยั่งลึกขึ้น เปรียบเหมือนกับคนเราที่ยิง่ เจออุปสรรคถาโถมมากเท่าไหร่ก็ย่งิ
ทำให้เราเข้มแขง็ มากข้นึ ” “Storms make trees take deeper roots.”
๕.๒.๓ จากบทสัมภาษณ์จากนางสาวบุษยมาศ พุทธรักษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑ โรงเรียน
มารีย์อุปถัมภ์พบว่าผู้อ่านได้แรงบันดาลใจจากนักบาสเก็ตบอลระดับโลกคนนี้จากคำพูดของเขา ผู้อ่านเชื่อว่า
ถึงแม้เราจะเจอความผดิ พลาดหลายครั้งมากขนาดไหน แต่เมื่อไรที่เรายังไม่ยอมแพ้นั่นไม่ได้แปลว่าเราแพ้ เรา
กำลงั ชนะตนเอง จากคำคมทวี่ ่า “I’ve missed more than 9000 shots in my career. I’ve lost almost
300 games. 26 times I’ve been trusted to take the game winning shot and missed. I’ve failed
over and over and over again in my life. And that is why I succeed.” – Michael Jordan
๒๖
“ผมโยนลูกพลาดมากกวา่ ๙๐๐๐ ครงั้ ตลอดอายกุ ารเล่นอาชพี ของผม ผมพา่ ยแพเ้ กือบ ๓๐๐ เกมที่แข่งขัน
และอีก ๒๖ ครั้งท่ผี มไดร้ ับความไว้วางใจจากคนในทมี ว่าจะนำทมี ไปสู่ชัยชนะได้แต่ผมก็พลาด ในชีวิตของผม
ประสบกบั ความล้มเหลวครัง้ แล้วคร้งั เลา่ และน่ันก็คือเหตุผลวา่ ทำไมผมถึงได้ประสบความสำเรจ็ ”
๕.๒.๔ จากบทสัมภาษณ์จากนางสาวมินตรา ศรีนวล นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖/๑ โรงเรียนมารยี ์
อุปถัมภพ์ บว่าผู้อา่ นได้รบั แรงบนั ดาลใจมากขึ้น และร้สู กึ อยากนำคำพูดเหล่านี้ไปปลอบประโลมผู้ท่ีกำลังเผชิญ
ปัญหาด้านจิตใจ เนื่องจากผู้อ่านมีความคิดว่าการเป็นโรคซึมเศร้าหรือการเป็นโรคใดก็ตามนั้นไม่ใช่เรื่องที่น่า
อาย และไมค่ วรให้ความสำคัญกับคำพูดทีผ่ ู้อื่นมองเรา เราแคต่ อ้ งสู้กบั ส่ิงน้นั เพราะเรากำลังทำเพ่ือตนเองไม่ใช่
ผูอ้ ืน่ ดงั คำคม “ฉนั ไม่เคยรูส้ ึกละอายใจท่จี ะเป็นโรคซึมเศร้าเลยค่ะ ไมเ่ คยจะอายอะไรด้วย ฉันผ่านชว่ งเวลาท่ี
ยากลำบากมาจริง ๆ และฉันกภ็ ูมใิ จมากทหี่ ลุดพน้ จากส่ิงน้ัน" - เจ. เค. โรวล์ งิ
๕.๒.๕ จากบทสัมภาษณ์จากนางสาวเปรมบุญ เปรมสิริ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖/๑ โรงเรียนมา
รีย์อุปถัมภ์พบว่าผู้อ่านเห็นด้วยกับคำคมนี้ เพราะตนเองนั้นก็มีความคิดต่อการทำผิดพลาดว่าการกระทำ
เหล่านั้นทำให้เราเรียนรู้เพื่อเป็นคนที่ดีขึ้น โดยไม่เลือกที่จะมองสิ่งนั้นเป็นความผิดหวัง แต่มองเป็นการมี
ความหวงั ในการใชช้ ีวิต
“Don’t wish it was easier, wish you were better. Don’t wish for less problems, wish for more
skills. Don’t wish for less challenges, wish for more wisdom.”
“อย่าไปหวงั วา่ มนั จะง่ายขึน้ แตจ่ งหวังว่าคุณจะตอ้ งเกง่ ขึ้น อยา่ ไปหวังว่าปัญหาจะลดลง แตจ่ งหวงั ว่าคุณจะมี
ทักษะที่มากขึ้น อย่าไปหวังว่าอปุ สรรคจะลดลง แตจ่ งหวงั ว่าคุณจะต้องมปี ัญญาทม่ี ากข้ึน” - จมิ โรห์น ;
ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการพฒั นาตนเอง
๕.๓ ไลฟ์โคช้
๕.๓.๑ จากการวิเคราะหค์ ลปิ วิดีโอของท่าน ว.วชริ เมธี เปน็ การใหก้ ำลงั ใจผฟู้ งั ไดเ้ ปน็ อย่างดีสังเกตได้
จากคำพูดของทา่ นยกตวั อย่างเชน่ “สติเป็นบ่อเกิดของความสขุ ” โดยได้รบั การยืนยนั จากการยืนยันโดยผฟู้ ัง
เชน่ “ฟังแล้วเอามาปรับใช้ในชวี ติ ไดด้ ีมาก ๆ ค่ะ มกี ำลังใจ มีสตใิ นการใช้ชีวติ มากขนึ้ มีทัศนคติที่ดขี นึ้ เรื่อย ๆ
เลยดว้ ยคะ่ ” ของคุณ กมลวรรณ ศักดิ์ไพทรย์
๕.๓.๒ จากการวเิ คราะห์คลปิ วิดีโอ podcast ค่อยๆกา้ วออกจากความคดิ ลบ ความสขุ โดยสงั เกต EP.
๒๙ พบวา่ คุณ วจิ ิตรา นาคแดง ยนื ยนั ว่าสามารถให้กำลงั ใจคนไดจ้ รงิ สังเกตไดจ้ ากความคิดเห็นดงั น้ี “หนเู ปน็
โรคซึมเศรา้ พอได้ฟังคลปิ พ่ีหลายๆคลิปมนั ทำให้หนูรสู้ ึกดีข้ึนมาก โดยเฉพาะคลปิ น้ีทำให้หนรู สู้ ึกอยากมชี วี ติ
ต่อไป ขอบคุณสำหรับคลปิ ดี ๆ ค่ะ” ตามเนือ้ หาคลปิ ดงั นี้ “หากรู้สกึ เบ่อื หน่ายกบั ตัวเองหรือชีวติ ความจริงแลว้
ธรรมชาตขิ องสมองมีพลงั ซ่อนเร้นอยู่เยอะมาก แต่การทจ่ี ะใชศ้ ักยภาพของสมองไดต้ ้องมคี วาม
กระตือรอื รน้ หรือมีความหวงั ทจ่ี ะใช้ชีวิต ตอ้ งมองโลกในแง่ดี แตใ่ นบางทีชวี ติ มักจะไม่ได้เปน็ ไปได้ดีตลอด ถ้า
เรามีเรือ่ งท่ไี มส่ บายใจมาก ๆ แล้วดันไปเจออกี เร่ืองนึงในชวี ิตเพ่ิมขึ้นอีกท่ีกระทบใจมาก ๆ จะทำใหเ้ ราเป็นทกุ ข์
หนักมาก ๆ ดังนัน้ ทุกอย่างจะข้ึนอยกู่ บั ใจเรา วา่ ใจเราจัดการกบั เหตุการณ์น้ันยงั ไง ไม่ไดข้ นึ้ อยู่กบั ว่าเป็นเรอ่ื ง
เล็กหรอื เรือ่ งใหญ”่
๒๗
๕.๓.๓ จากการวิเคราะห์คลิปวีดีโดคนที่มีความฉลาดทางด้านอารมณ์ ทำไมถึงน่าดึงดูด ของ Chong
Charis พบว่านางสาวสพุ ชิ ชา วชิรวิทยากร นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖/๑ โรงเรยี นมารยี ์อุปถมั ภ์ พบว่าผู้รับ
ชมเหน็ ด้วยกับคลิปวีดโี อไลฟ์โค้ชนี้ เพราะตนเองได้ย้อนกลับไปนึกถงึ เวลาท่ีพดู คุยกับผู้อ่ืนว่าได้คิดให้ดีก่อนพูด
ออกไปไหม ใช้คำพูดที่ทำให้คนอื่นเสียความรู้สึกหรือเปล่า และเวลาพูดกับคนอื่นๆหลังจากนี้จะคิดให้ดีก่อน
มากขึ้น และคำนึงอยู่เสมอว่าจะใช้คำพูดที่ดีนอกจากจะรู้สึกดีต่อตัวเองแล้วก็ยังทำให้คนอื่นรู้สึกสบายใจเม่ือ
พูดคุยกับเราอีกด้วย จากคำพูดที่ว่า “คนที่ฉลาดทางด้านอารมณ์มักจะคดิ ก่อนที่จะพูดเสมอวา่ หากพูดออกไป
แลว้ สง่ ผลดีอย่างไร”
๕.๓.๔ จากการวิเคราะห์คลิปวีดีโอสมองที่คิดลบ ของ อติกานต์ หนุนภักดี พบว่านางสาวธนชั ญา ธน
รตั นสทุ ธ์ิ นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖/๑ โรงเรยี นมารยี ์อุปถมั ภ์ พบวา่ ผรู้ ับชมเห็นด้วยกบั คลปิ วดี โี อไลฟ์โคช้ น้ี
เพราะได้เข้าใจในมุมมองความคิดของคู่รักที่เป็นเพศชายและหญิง และจากคำพดู ทว่ี ่า “วันทีเ่ ราระแวงหรือคิด
ลบ เราไมม่ ีพื้นท่ีในสมองท่จี ะคิดบวกในเวลาเดียวกันดว้ ยเพราะมันคือการทำงานของสมองไม่ใช่เร่ืองจริง” ทำ
ให้ไดก้ ลบั ไปทบทวนตวั เองวา่ เมื่อเวลาทีต่ วั เองระแวงหรือคิดลบ ไมค่ วรที่จะพูดหรือตัดสนิ ใจทำอะไรลงไป ควร
รอเวลาให้ตัวเองกลับมามีจิตใจที่สงบ เพราะบางสิ่งบางอย่างเมื่อตัดสินใจทำลงไปแล้ว ไม่สามารถย้อนเวลา
กลบั มาแก้ไขได้
๕.๓.๕ จากการวิเคราะหค์ ลปิ วดี โี อแนวคดิ ดี ๆ ของ แจค็ หม่า อาลีบาบา พบวา่ นางสาวชนนั กานต์ ศรี
ประเสริฐ นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี6/1 โรงเรียนมารีย์อปุ ถัมภ์ พบว่าผรู้ ับชมเห็นด้วยกับคลิปวิดีโอไลฟ์โค้ชนี้
เพราะวิดีโอน้ีได้สอนให้ใช้ชีวิตแบบท่ีควรจะเป็น จากคำพูดที่ว่า “ล้มลุกคลุกคลาน มันเป็นเรื่องที่ใคร ๆ ก็ต้อง
เจอ สนุกกับสิ่งต่าง ๆ ใช้ชีวิตให้เต็มท่ี” จากคำพูดนี้ทำให้มีการไตร่ตรองว่าชีวิตคนเราไม่จำเป็นต้องราบเรียบ
เสมอไป การพบเจอเรื่องราวต่าง ๆ ทำให้เรามีเราประสบการณ์มากขึ้นและการกดดันตัวเองมากเกินไปไม่ใช่
ทางที่จะทำให้ทุกอย่างออกมาดี ดังนั้นควรจะใช้ชีวิตแบบที่ตัวเองต้องการและไม่เอาตัวเองไปอยู่กับความ
คาดหวังของคนอน่ื
๕.๔ ภาพยนตร์ชวี ประวัติ
๕.๔.๑ Moneyball (๒๕๕๔) เปน็ ภาพยนตร์ท่สี รา้ งมาจากนยิ ายเร่ือง Moneyball: The Art of
Winning an Unfair Game (๒๕๔๖) ซึง่ เขยี นเกย่ี วกับชวี ประวัตขิ อง บิลลี่ บนี (Brad Pitt) อดตี ผูจ้ ัดการดาว
รงุ่ ของทีมเบสบอล Oakland Athletics ท่ตี ้องทนเหน็ ซปุ เปอรส์ ตาร์ในทีมทยอยเดนิ จากทีมไปอยู่กบั ทีมท่ีเงนิ
หนากว่า และจำเป็นตอ้ งหาวิธสี ้กู ับทมี ทมี่ ีงบประมาณมากกว่า ๓ เทา่ ด้วยการจา้ งปีเตอร์ แบรนด์ (Jonah Hill)
นักเศรษฐศาสตรจ์ ากเยลมาช่วยวางหมากเกมผ่านการวเิ คราะห์สถติ ผิ เู้ ล่นท่เี คยถกู สโมสรเบสบอลอน่ื ๆ
มองขา้ ม มาสรา้ งทีมผู้เลน่ ที่กลายเป็นจดุ สนใจของบรรดาผู้ คร่ำหวอดในวงการ ส่อื และแฟน ๆ เบสบอลอย่าง
มาก แลว้ ยังนำไปสผู่ ลลัพธ์ที่จะทำใหบ้ ลิ ลเ่ี กดิ ความเขา้ ใจใหมท่ ข่ี า้ มขอบเขตของการแขง่ ขนั และนำเขาไปสู่
เส้นทางใหมใ่ นชีวติ อีกดว้ ย
จากบทสมั ภาษณข์ อง นางสาวสุภนดิ า ทั่งทอง นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖/๒ โรงเรียนทีปงั กรวิทยา
พัฒน์ (ทววี ฒั นา) ในพระราชูปถัมภ์ พบวา่ ผ้รู บั ชมได้รับกำลังใจ จากเรอื่ งการรักกนั ของคนสองคนทไี่ มย่ ่อทอ้ ต่อ
๒๘
อุปสรรคทเ่ี ขา้ มา เปรียบเสมือนความรักของคนในครอบครัวเชน่ พอ่ แม่ ทจ่ี ับมือกันกา้ วข้ามอุปสรรคมากมาย
มาพร้อมกัน ไมย่ อมปล่อยมอื ส้ไู ปดว้ ยกัน ความรกั สามารถทำได้ทุกอย่าง สามารถทำให้คนดำรงชวี ิตอยู่ต่อไป
ได้ ทำใหผ้ ้ชู มรสู้ ึกรักคนรักของตนเองมากยง่ิ คน เพราะทุกคนบนโลกย่อมไม่ทราบวา่ คนทีเ่ รารกั จะจากไปเมื่อไร
๕.๔.๒ ภาพยนตร์ A street cat named Bob เจมส์ โบเวน ชายเร่รอนวัย ๓๓ ปี ผู้ใช้ชีวิตไปกับการ
เล่นดนตรแี ลกเงนิ ข้างถนนและเป็นผ้ปู ว่ ยตดิ เฮโรอีน จนเมื่อโชคชะตาไดท้ ำให้เขาพบกับเพื่อนเรร่ อนส่ีขา “แมว
สีส้ม” ซ่งึ ไดร้ ับบาดเจ็บและหลงมาในแฟลตของเขา ด้วยความสงสารและเห็นแวดความฉลาดจึงทำให้เจมส์ถูก
ชะตา จึงรับเลี้ยงดูแลรกั ษาจนกระทั่งมันหายดี แต่ถึงอย่างนั้น เจ้าเหมียวก็ยังไม่ยอมไปไหน และยังเลือกที่จะ
ตามเจมสไ์ ปไหนมาไหนเช่นเดิม เจมส์จงึ ตดั สินใจนำเจ้าเหมยี วเข้ามาเป็นสว่ นหน่ึงในชวี ติ เขา ในฐานะเพ่ือนซี้ส่ี
ขาที่มีชื่อว่า “บ๊อบ“ ยิ่งนานวัน มิตรภาพจากความผูกพันของพวกเขา ยิ่งช่วยเยียวยาเจมส์ให้ก้าวผ่านปัญหา
ต่าง ๆ รวมถึงปญั หาการใชย้ าเสพติด อีกทั้งเจมส์ยังได้เรียนรู้มมุ มองชวี ิตผา่ นเจ้าเหมียวบ๊อบ แมวผู้ไม่เคยย่หี ระ
กับสิ่งใด ๆ ทร่ี ว่ มผจญภยั ฝา่ ฟันบททดสอบตา่ ง ๆ ไปกบั เขา
จากบทสัมภาษณข์ องนางสาวจิรชั ยา กลั ยาณะวตั ร นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖/๑ โรงเรยี นมารยี ์
อปุ ถมั ภ์พบวา่ ผู้รับชมพอดูจบแล้วมแี รงฮดึ อยากลกุ ข้ึนมาทำในสง่ิ ที่เคยตงั้ เปา้ หมายไว้แตย่ ังไปไมถ่ งึ อยากทำ
ใหไ้ ด้เหมือนเจมส์ โบเวนท่เี ลกิ ยาได้ เรากอ็ ยากทำบางสงิ่ ใหส้ ำเรจ็ เหมอื นกัน
๕.๔.๓ The Wolf of Wall Street (๒๕๕๖) เปน็ เร่ืองราวการข้ึนสูจ่ ุดสูงสุดและลงสจู่ ุดต่ำสดุ ของโบรค
เกอร์
หน่มุ ทถ่ี ูกทุกคนในวงการเรยี กวา่ 'หมาป่าแหง่ วอลลส์ ตรที ' ซงึ่ สร้างจากชวี ิตจริงของ จอรแ์ ดน เบลฟอร์ท
(Leonardo Dicaprio) นายหน้าค้าหุ้นหนุ่มไฟแรงในวอลล์สตรีท ต้งั แต่ชว่ งเวลาท่เี ขาทำเงินได้อยา่ งมหาศาล
ก่อนทีจ่ ะผลาญเงินไปมหาศาลย่ิงกว่ากับปาร์ตี้ เหล้ายา เซ็กซ์ จนในทส่ี ุดก็ถูกตงั้ ข้อหาฉ้อโกงหลกั ทรพั ย์และ
ฟอกเงินในปี ๒๕๔๑ ถูกขงั ๒๒ เดือนในเรือนจำของรัฐ และถูกแบนจากตลาดหุ้นไปตลอดชวี ติ โดยปจั จุบนั
เบลฟอรด์ ก็กลายเปน็ นักเขียนหนังสอื ขายดี และเปน็ นักพูดทีม่ ชี ่อื เสียงทีส่ ุดคนหน่ึงของสหรฐั
จากบทสัมภาษณ์ของ นางสาว อรทัย พงษ์สวัสดิ์ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖/๓ โรงเรียนมารยี ์
อุปถัมภ์ พบวา่ ผรู้ ับชม มีความคดิ เก่ยี วกบั ความประมาท เมื่อเราประสบความสำเรจ็ ในส่ิงใดสงิ่ หนึ่ง เรามกั จะ
มองขา้ มค่าของมัน จนอาจทำใหเ้ ราพลาด และย้อนกลบั มามองดสู ิ่งที่เราทำไป วา่ เราควรพฒั นาตรงไหน ควร
ทำอย่างไร และเกิดการวางแผน ทำให้ผชู้ มรู้สึกอยากพฒั นาตนเอง เช่น การจัดตารางเวลาอ่านหนังสอื ในแตล่ ะ
วัน
๕.๔.๔ The Theory of Everything (๒๕๕๘) เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติบคุ คลสำคัญของโลก อยา่ ง สตี
เฟน ฮอว์กงิ (Eddie Redmayne) นำเสนอความรักและชีวิตในช่วงวัยหนมุ่ ทไ่ี ดเ้ จอกบั ภรรยาคนแรก ในขณะที่
พบวา่ ตนเร่มิ มีอาการของโรคกลา้ มเนือ้ อ่อนแรง และแพทย์บอกวา่ จะสามารถมีชีวติ อยไู่ ด้เพียงอีก ๒ ปเี ทา่ น้นั
แตท่ ั้งสองก็ไม่ย่อท้อตอ่ โรคร้ายและร่วมต่อสู้ไปด้วยกนั จนทา้ ยสดุ ศาสตราจารยผ์ กู้ ็มีชวี ติ อยู่จนถึงปี ๒๕๖๑
จากบทสมั ภาษณ์ของ นางสาวอรณชิ ชา บญุ เอก นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ โรงเรยี นวัดไรข่ ิง
วิทยา พบว่าผรู้ ับชมมีความคิดเกย่ี วกบั ความรักที่บรสิ ุทธิแ์ ละยิง่ ใหญ่ ท่ีไมว่ า่ จะมีอุปสรรคมากมายเขา้ มา การมี
๒๙
คนทเี่ รารักคอยเคียงข้าง คอยให้กำลังใจ ไมจ่ ำเปน็ ที่จะต้องเปน็ แคพ่ ่อหรือแม่ แต่เปน็ เพ่ือนหรอื คนรัก ทำให้เกดิ
กำลังใจในการใช้ชีวติ ต่อ เพื่อคนในครอบครวั และตนเอง
๕.๔.๕ Hidden Figures (๒๕๕๙) เป็นภาพยนตร์เผยเรื่องจริงในอดีตกับวัฒนธรรมการเหยียดเพศ
และคนผิวสใี นองค์กรนาซา่ ผ่านเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในการส่งมนุษย์ข้ึนไปยังห้วงอวกาศเปน็ คร้ังแรก เป็น
เรือ่ งราวของนักคณิตศาสตร์หญิงชาวผิวสีที่ฉลาดปราดเปร่ืองกลมุ่ หนึ่ง ทีช่ ่วยให้อเมริกาสามารถเอาชนะคู่แข่ง
อย่างสหภาพโซเวียตได้ โดยต้องพิสูจน์ตัวเองอยู่เสมอว่า ความสามารถของพวกเธอคือสิ่งที่สำคัญที่สุด ไม่ได้
ข้นึ อยู่กับ เพศสภาพ สีผิว หรอื เช้ือชาติ
จากบทสัมภาษณ์ของ นางสาวชนวรรณ ฟจู กิ ิ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔/๒ โรงเรยี นมารีย์อุปถัมภ์
พบวา่ ผูร้ ับชม มีความรู้สึกวา่ ภาพยนตรเ์ ร่ืองทีก่ ล่าวมาให้แรงบันดานใจในด้านที่ว่า ไมว่ า่ จะเป็นเพศไหน เกดิ มา
เป็นผิวสีอะไร ก็สามารถทำงานได้อย่างเชียวชาญ ไม่ว่ายังไงสิ่งที่ต้องการในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ก็คือความสามารถในด้าน ๆ นั้น ไม่เกี่ยวกับสีผิวหรือเพศเลย ถึงเราจะยังไม่มีความสามารถขนาดนั้น ก็ยัง
พยายามไดอ้ ีก ทำให้คนอื่นเห็นวา่ เรามดี ี ไม่สนคำพดู ที่ดหู มิ่นของผ้อู น่ื มากจนเกินไป ภาพยนตรเ์ ร่ืองน้ีทา้ ยท่ีสุด
กส็ อนเรอ่ื งการมน่ั ใจในตวั เอง
๕.๕ หนงั สอื จติ วิทยา
๕.๕.๑ จากบทสัมภาษณ์หนังสือท้องฟ้ามีน้ำตาเป็นส่วนมาก - คิม เสาร์ ของนางสาวสุตนันท์ เทพ
ขวัญยืน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑ โรงเรียนมารีย์อุปถัมภ์ พบว่าผู้อ่านรู้สึกดีใจที่จะเป็นตัวเองได้เต็มที่
ไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับสิ่งที่ตัวเองมีมาตั้งแต่กำเนิด และเข้าใจสัจธรรมวา่ ทุกคนล้วนมีขอ้ ดีและข้อเสียของตัวเอง
ขน้ึ อยกู่ ับว่าจะเลอื กแสดงออกดา้ นไหนออกมามากกว่า แล้วมใี ครทสี่ ามารถยอมรบั ตัวตนของเราได้ไหม สังเกต
ได้จาก “ถ้าให้ผมไปหาคนที่ดีกว่าคุณ ผมสู้ยอมรับข้อเสียของคุณไม่ดีกว่าเหรอ เราไม่จำเป็นต้องชอบอะไร
เหมือนกันไปหมด เรื่องเล็กน้อยอย่างชอบดูหนังฟังเพลงคนละแนว มันก็สลับกันดูสลับกันฟังได้ บน
ความสัมพนั ธ์มันต้องมีความอะลุ่มอล่วย คณุ ไมเ่ พอร์เฟก็ ต์แต่คณุ ก็มีข้อดขี องคุณ มหี ลายอยา่ งทผี่ มชอบ ถ้าผม
อยากได้ส่วนดีๆของคุณ ผมก็ต้องรับส่วนเสียของคุณได้สิ จริงไหม” “ทุกวันคุณมองกระจก เห็นตัวเองจนชิน
คณุ ไมร่ หู้ รอกว่าในสายตาคนแปลกหนา้ คุณสวยแค่ไหน”
๕.๕.๒ จากบทสมั ภาษณห์ นงั สือแด่เธอผเู้ จบ็ ปวดกบั การเรียน - ปารก์ ซองฮยอก ของนางสาวภริดา
ใหม่อินทร์ นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖/๑ โรงเรยี นมารีย์อปุ ถมั ภ์ พบว่าผูอ้ ่านรสู้ กึ ว่าตนเองน้ันไม่ควรท้อกบั
ปญั หาเลก็ ๆที่เกดิ ขนึ้ กบั ตวั เราในชีวิตประจำวัน ถ้าหากจัดการปัญหาเหลา่ นน้ั ไม่ได้ก็ไม่ควรเอาแต่พรำ่ บ่นถึงผล
ของปญั หา แต่ควรหาตน้ ตอของและวธิ แี กไ้ ขปญั หา ถึงเหนอ่ื ยยังไงเราก็ต้องผา่ นมันไปใหไ้ ด้ และมีกำลังใจใน
การเริ่มต้นชีวิตใหมใ่ นวนั ต่อต่อไป สังเกตได้จากเน้ือหาในหนา้ ที่ ๒๒๓ ประโยคที่วา่ “กระน้นั ขอเพยี งหา วิธที ำ
ใหไ้ ด้ก็พอในเมื่อมชี วี ิตแค่หนเดียวจงึ ตอ้ งทำอยา่ งไรก็ไดใ้ ห้ไหว ต้องฉดุ ลุกขนึ้ ยนื ใหม่ การเอาแต่พรำ่ บ่นไม่ชว่ ย
อะไรเรา”
๕.๕.๓ จากบทสัมภาษณ์หนังสือใช้ชีวิตให้เป็นคนโชคดี - ซูซูกิ โนบุยุกิ ของนางสาวปภาดา พรรณ
ธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖/๑ โรงเรยี นมารีย์อปุ ถัมภ์ พบวา่ ผอู้ ่านได้รับแรงบันดาลใจจากหนังสือเล่มน้ี
๓๐
ในเรอื่ งของการอยู่ตวั คนเดียว และไมค่ อ่ ยกังวลในการใช้ชีวติ เพียงลำพัง เน่อื งจากคนในสังคมส่วนใหญ่อาจคิด
ว่าการไมม่ ีเพอ่ื นคอื ปญั หาใหญ่ แตส่ ำหรบั คนทพี่ บเจอกับบุคคลท่ีไม่ดหี รือประสงคร์ า้ ย การอยคู่ นเดยี วอาจเป็น
หนทางหนึ่งที่คนบางส่วนสบายใจที่จะเลือกทางนี้ สังเกตได้จากเนื้อหาในหน้าที่ ๔๑ “ คนสมัยนี้ต้องมี
ความสามารถในการใช้เวลาเพียงลำพัง พูดอีกอย่างคือ ความสามารถในการอยู่อย่างสันโดษ เพื่อให้ได้
ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเข้มแข็ง ราบรื่น และสร้างสรรค์ โดยความสามารถเหล่านี้จะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้นใน
อนาคต กลา่ วได้ว่า คนท่รี ักสันโดษจะมีข้อได้เปรยี บอยา่ งมากเม่ือไดใ้ ชช้ ีวิตอยา่ งเตม็ ที่”
๕.๕.๔ จากบทสมั ภาษณห์ นังสือเปลี่ยนน้อยนดิ เพอื่ พชิ ติ ทุกเปา้ หมาย - BJ Fogg, PhD ของนางสาว
ภธิรา ออ่ นศรี นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖/๑ โรงเรียนมารียอ์ ปุ ถมั ภ์ พบว่าผอู้ ่านมีแรงบนั ดาลใจที่จะทำตาม
เป้าหมายต่อไปเร่ือยๆ จากท่ีชอบผลัดวนั ประกันพรุ่ง ไมส่ ามารถทำตามเป้าหมายทีต่ ั้งไวไ้ ดเ้ นอ่ื งจากเปา้ หมาย
ใหญเ่ กนิ ไป ไม่มกี ารวางแผน พอผู้อ่านได้อ่านแล้วทำใหท้ ราบว่าคนเราต้องเริม่ ต้นจากจุดเลก็ ๆก่อน ไปหาจุด
ใหญ่ ๆ เช่น การอา่ นหนังสือทุกวัน อ่านวันละ ๑-๒ ชั่วโมง ดีกว่าการมานัง่ อ่านทีเดียววนั ละหลายๆชั่วโมง
สงั เกตได้จากเน้ือหาในหน้าที่ ๓ ประโยคที่วา่ “หยดุ ตำหนิตัวเอง” “เอาเปา้ หมายของคุณมาซอยย่อยลงเป็น
พฤติกรรมเล็ก” “มองความ ผดิ พลาดเปน็ ครูแลว้ เรยี นรูท้ จ่ี ะทำให้ดีขึน้ ”
๕.๕.๕ จากบทสมั ภาษณห์ นังสอื จติ วิทยาพลกิ ชีวติ - เทวินทร์ พิมพ์ใจพงศ์ ของนางสาวณฐั กฤตา ทอง
ประเสริฐ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖/๒ โรงเรียนมารียอ์ ุปถัมภ์ พบว่าผอู้ า่ นเห็นดว้ ยกับหนังสอื เล่มนี้ เพราะ
การท่ีเราจะประสบความสำเร็จต้องมีความมุง่ ม่นั และความพยายาม ทำให้คดิ ได้ว่าไมว่ า่ จะเรียนหรือทำงานเรา
ต้องเต็มที่กับสิ่งที่ทำ จึงจะสำเร็จตามที่ตั้งใจไว้ ดั่งคำพูดที่กล่าวว่า “เส้นทางสู่ความสำเร็จ คือการมุ่งมั่นในถึง
ที่สุด” หากเราเต็มที่ในการทำทุกสิ่ง ไม่ว่าผลสุดท้ายจะออกมาเป็นเช่นไรเราก็จะไม่มานั่งเสียใจทีหลัง
เนอื่ งจากเราไดท้ ำมันไปอย่างเต็มท่ีแลว้
จากสอื่ ที่ยกตวั อยา่ งมาล้วนแล้วเปน็ สื่อท่ีสรา้ งแรงบนั ดาลใจและให้กำลังใจกบั ผรู้ ับชม ซึง่ สื่อท่ีสามารถ
สร้างแรงบันดาลใจได้จะต้องสามารถนําเสนอ แนวคิดทั้งความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมได้ ซึ่งรายการท่ี
สามารถถ่ายทอดความรู้ได้นั้น จะต้องนําเสนอข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง รูปแบบ วิธีการ กฎเกณฑ์ แนว
ปฏิบัติ สิ่งของ เหตุการณ์ หรือบุคคล ซึ่งได้มาจากการสังเกต ประสบการณ์ หรือจากสื่อต่างๆ ประกอบกัน
สามารถเชื่อมโยงความคิดของผู้ชมให้เข้ากับเหตุการณ์ที่นําเสนอได้ บุคคลส่วนมากจะรับรู้เบื้องต้นผ่าน
ประสบการณ์แล้ว จัดระบบเป็นโครงสร้างของความผสมผสานระหว่างความจํากับ สภาพจิตวิทยา ความรู้ท่ีว่า
จงึ เป็นความจําท่ีเลอื กสรรใหส้ อดคล้องกบั สภาพจติ ใจของผ้ชู ม
๓๑
บทสรปุ
ภาษาแบ่งออกได้เป็นวัจนภาษาและอวัจนภาษา ซึ่งเป็นเครื่องมือทีม่ นุษย์ใช้ในการสื่อสารระหว่างกนั
อีกทั้งภาษายังมีอิทธิพลต่อความคิดของมนุษย์เราอย่างมาก แต่ในปัจจุบันผู้คนอาจไม่ได้คำนึงถึงความสำคัญ
ของภาษามากนัก ถึงแม้ว่าความจริงแล้วภาษาจะอยู่กับเราในทุกๆที่ ทางคณะผู้จัดทำเล็งเห็นว่าสื่อ เป็น
ตัวกลางสำคัญที่สามารถนำเสนอภาษาส่งต่อไปยังผู้คนได้ ซึ่งสื่อเป็นสิ่งที่สามารถเข้าถึงได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่า
จะเป็น ส่ือส่ิงพิมพ์ สือ่ บุคคล สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื สอื่ ออนไลน์ก็ตาม โดยภาษาทท่ี างคณะผู้จัดทำศึกษาและ
วเิ คราะหค์ ือภาษาที่สรา้ งแรงบนั ดาลใจโดยมสี ือ่ เปน็ ตวั กลางระหวา่ งผู้ส่งสารกับผู้รับสาร จากการวเิ คราะห์ส่ือที่
สร้างแรงบันดาลใจผ่านการสัมภาษณ์พบว่า คนส่วนมากสามารถนำภาษาท่ีพบในส่ือตา่ งๆไปเป็นแรงบันดาลใจ
ในการใชช้ ีวติ ประจำวันในเรื่องใดเรื่องหน่ึงได้เสมอ ทำใหเ้ รารู้อย่างแน่ชัดว่า ภาษาสามารถสร้างแรงบันดาลใจ
ในรูปแบบต่างๆได้ผ่านสื่อหลากหลายประเภท
๓๒
ภาคผนวก
สื่อสรา้ งสรรค์ของการสร้างแรงบันดาลใจ
ตวั อยา่ งหนังสอื ทช่ี ว่ ยสร้างแรงบันดาลใจ
ภาพท่ี ๑ หนังสือท้องฟ้ามนี ำ้ ตาเป็นส่วนมาก ภาพท่ี ๒ หนังสือแด่เธอผู้เจบ็ ปวดกบั การเรียน
ภาพที่ ๓ หนงั สือใช้ชีวิตให้เป็นคนโชคดี ภาพที่ ๔ หนังสือจิตวิทยาพลกิ ชวี ิต
๓๓
ตวั อยา่ งภาพยนตร์ทีช่ ว่ ยสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ภาพท่ี ๕ หนังสอื เปลยี่ นนอ้ ยนิด ภาพท่ี ๖ ภาพยนตรเ์ รื่อง Moneyball
เพ่ือพิชติ ทกุ เปา้ หมาย
ภาพท่ี ๗ ภาพยนตรเ์ ร่ือง A Street ภาพท่ี ๘ ภาพยนตรเ์ รือ่ ง The Wolf
Cat Named BOB Of Wall Street
๓๔
ภาพที่ ๙ ภาพยนตร์เร่ือง ภาพท่ี ๙ ภาพยนตรเ์ ร่อื ง Hidden Figures
The Theory Of Everything
ภาพที่ ๑๐ วดิ โี อไลฟโ์ คช้ สมองที่คิดลบ จาก อติกานต์ หนุนภกั ดี
ภาพท่ี ๑๑ วดิ โี อไลฟ์โคช้ คนทมี่ ีความฉลาดดา้ นอารมณ์
ทำไมถงึ นา่ ดงึ ดดู ? จาก Chong Charis
๓๕
ภาพท่ี ๑๑ วิดีโอไลฟ์โค้ช แนวคดิ ดี ๆ จาก แจค๊ หมา่
ภาพท่ี ๑๑ วดิ โี อไลฟโ์ คช้ ค่อย ๆ ก้าวออกจากหลุม
ความคดิ จาก The Standard
๓๖
ภาพที่ ๑๒ บรรยากาศการสมั ภาษณ์จากการรบั ชมวดิ โี อ ภาพท่ี ๑๓ บรรยากาศการสมั ภาษณ์จากการอา่ นหนังสอื
ไลฟโ์ คช้ ของนางสาวธนชั ญา ธนรตั นสทุ ธิ์ ชนั้ ม.๖/๑ จติ วทิ ยาของนางสาวณฐั กฤตา ทองประเสริฐ ชัน้ ม.๖/๒
ภาพที่ ๑๔ บรรยากาศการสัมภาษณ์จากการรบั ชมวิดโี อ
ไลฟ์โค้ชของนางสาวสพุ ิชชา วชริ วิทยากร ช้ัน ม.๖/๑
๓๗
ภาพท่ี ๑๕ บรรยากาศการสมั ภาษณ์จากการอา่ น ภาพท่ี ๑๕ บรรยากาศการสมั ภาษณจ์ ากการอา่ น
คำคมของนางสาวปณุ ยนุช สขุ โสภณธน ชัน้ ม.๖/๑ คำคมของนางสาวเปรมบุญ เปรมศริ ิ ช้นั ม.๖/๑
๓๘
บรรณานกุ รม
ความหมายของส่ือ , (ม.ป.ป.). ความหมายของสื่อ เข้าถงึ ได้จาก
https://uto.moph.go.th/hcc/media1.html
ความหมายของอิทธิพล ,(ม.ป.ป.). ความหมายของอิทธิพล เขา้ ถึงได้จาก
https://dict.longdo.com/search/อทิ ธพิ ล
คิม เสาร์ , (๒๕๖๕). หนงั สือทอ้ งฟา้ มีน้ำตาเปน็ ส่วนมาก
จมิ โรห์น , คำคม “Don’t wish it was easier, wish you were better. Don’t wish for less
problems, wish for more skills. Don’t wish for less challenges, wish for more wisdom.”
“อย่าไปหวังวา่ มนั จะง่ายขึ้น แตจ่ งหวังวา่ คุณจะตอ้ งเก่งขน้ึ อยา่ ไปหวงั วา่ ปัญหาจะลดลง แตจ่ งหวงั วา่ คณุ จะมี
ทกั ษะทีม่ ากข้นึ อยา่ ไปหวงั ว่าอปุ สรรคจะลดลง แต่จงหวงั ว่าคณุ จะตอ้ งมปี ญั ญาทม่ี ากขึน้ ” เข้าถึงได้จาก
https://kawtung.com/40-คำคมคนดงั ระดบั โลก-สร้า/
เจ. เค. โรวล์ ิง , คำคม “ฉันไมเ่ คยรู้สกึ ละอายใจทจ่ี ะเป็นโรคซึมเศร้าเลยคะ่ ไม่เคยจะอายอะไรด้วย ฉนั ผ่าน
ช่วงเวลาที่ยากลำบากมาจริง ๆ และฉนั ก็ภูมิใจมากท่ีหลุดพ้นจากส่งิ น้นั " เขา้ ถึงได้จาก
https://themeaningful.co/quotes/j-k-rowling/
แจ็ค หมา่ อาลีบาบา , (๒๕๕๘). คลิปวีดีโอแนวคิดดี ๆ จากแจค็ หมา่ อาลีบาบา เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://youtu.be/TW1Uk2Y7Y4M
เจรญิ ศรี ศรแี สนยง, (๒๕๕๓). อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เข้าถงึ ได้จาก
https://www.slideshare.net/kruchareonsri/ss-5428886
ซซู ูกิ โนบุยุกิ , (๒๕๖๔). หนงั สอื ใช้ชีวติ ใหเ้ ป็นคนโชคดี
ดุษฎี โยเหลา และคณะ (๒๕๕๖) , พรรณพร บุอทศ (๒๕๕๘) , เอส.เอส.อนาคามี (๒๕๕๕) , ภูเบศร์ สมทุ ร
จักร (๒๕๕๒) , พจน์ ใจชาอสขุ กิจ , (๒๕๕๐) , น้ำทิพย์ วภิ าวนิ (๒๕๕๑). ความหมายของการสรา้ งแรง
บนั ดาลใจ | ทมี่ าของแรงบันดาลใจ | สาเหตขุ องการเปิดแรงบนั ดาลใจ | วิธกี ารสร้างแรงบนั ดาลใจ เขา้ ถงึ
ไดจ้ าก
https://profile.yru.ac.th/storage/journals/June2020/zjpnWtTaxo9nqL42goxo.pdf
เทวนิ ทร์ พมิ พใ์ จพงศ์ , (๒๕๖๔). หนังสือจิตวิทยาพลิกชีวิต
๓๙
ที่มาของภาษา , (๒๕๖๔). ท่ีมาของภาษา เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/rucakphasathiy/khwam-ru-phasa-thiy
นรศิ รา แสงศพั ทเ์ พลง , (๒๕๕๗). ความหมายของเพลง เข้าถงึ ได้จาก
https://sites.google.com/site/narisarano18/prawati/phelng-hmay-thung
นฤมล โลห่ ์ทองคำ , (๒๕๕๕). ประเภทของส่อื เข้าถึงได้จาก
https://www.st.ac.th/av/media_kind.htm
นายมเี ดยี , (๒๕๕๐). ประเภทของสื่อ เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://www.mediathailand.org/2012/06/blog-post.html
บริษัท Adecco , (ม.ป.ป.). วธิ กี ารสรา้ งแรงบนั ดาลใจ เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://adecco.co.th/th/knowledge-center/detail/5-ways-to-find-work-inspiration
บริษัท รคิ โค จำกัด , (๒๐๒๑). ความหมายของหนงั สือจติ วทิ ยา เข้าถึงไดจ้ าก
https://riccoprint.com/10-best-psychology-books-in-2021/
บ้านจอมยธุ , (๒๕๔๓). อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย เขา้ ถงึ ได้จาก
https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/loanwords/03.html
บุญกวา้ ง ศรสี ุทโธ , (ม.ป.ป.). อทิ ธพิ ลทางสงั คมที่มผี ลตอ่ ภาษาและวฒั นธรรม เข้าถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/wathnthrrm-kab-phasa/2-wathnthrrm-kab-phasa
ปณชัย อารเี พ่ิมพร , (๒๕๖๐). ความหมายของวดี ีโอไลฟโ์ คช้ เขา้ ถงึ ได้จาก
https://thestandard.co/news-thaiand-lifecoach/
ประเภทของภาษา , (๒๕๖๕). ประเภทของภาษา เข้าถึงได้จาก
https://www.bootcampdemy.com/content/390-ประเภทของภาษา
ปาร์กซองฮยอก, (๒๕๖๕). หนงั สือแด่เธอผเู้ จ็บปวดกบั การเรียน
ปิยะดนยั วิเคียน , (๒๕๖๐). ความหมายของภาพยนตร์ เข้าถึงได้จาก
https://krupiyadanai.wordpress.com/computer4/เทคโนโลยสี อื่ ประสม/ภาพยนตร/์
ปยิ ะฤกษ์ บญุ โกศล , (๒๕๕๔). ความหมายของคำคม เขา้ ถึงไดจ้ าก
๔๐
https://krupiyarerk.wordpress.com/tag/ความหมายคำคม/
พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน , (๒๔๙๓) , (๒๕๒๕). ความหมายของส่ือ เขา้ ถงึ ได้จาก
https://sites.google.com/site/khruprach/sux-srangsrrkh-dwy-khxmphiwtexr/sux
พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน , (๒๕๔๒). ความหมายของอิทธิพล เขา้ ถึงได้จาก
https://พจนานุกรมไทย.com/45-1761-ความหมาย-อทิ ธิพล%20.html
พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน , (ม.ป.ป.). ความหมายของอิทธพิ ล เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-institut
ลักษณะของภาษา , (ม.ป.ป.). ลักษณะของภาษา เข้าถงึ ได้จาก
http://www.satriwit3.ac.th/files/1110061212443058_1307180773504.pdf
ว.วชิรเมธี , (๒๕๖๕). คลปิ วีดีโอทำดีอย่าทอ้ ขอให้มกี ำลังใจ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://youtu.be/oAARMKmuH64
วรรณวิสา รัดที ,(ม.ป.ป.). อทิ ธพิ ลของภาษาต่อความคิดของมนุษย์ เข้าถงึ ได้จาก
https://sites.google.com/site/wanwisa14277/-kar-chi-phasa-kab-khwam-khid-
keiywkhxng-kan-xyangri
วรศักดิ์ มหัทธโนบล , (๒๕๖๐). อทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย เขา้ ถงึ ได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/616474
วกิ ิพเี ดีย , (๒๕๕๙). ความหมายของภาพยนตร์ชวี ประวตั ิ เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/ภาพยนตร์ชีวประวัติ
สริ ิพชั ร์ เจษฎาวโิ รจน์ , (๒๕๕๐). ประเภทของส่ือ เข้าถึงได้จาก
http://parnzyis.blogspot.com/2018/05/2_1.html
หนึ่งฤทยั จนั ทร์เครือยิม้ , (ม.ป.ป.). บทบาทและหน้าท่ขี องภาษา เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://nungruatai11.wordpress.com/โครงงาน-เรอ่ื งภาษากับกา/บทบาทหน้าทแี่ ละการนำไป/
อติกานต์ หนุนภกั ดี , (๒๕๖๐). คลิปวีดีโอสมองทีค่ ิดลบ เข้าถงึ ได้จาก
https://youtu.be/xutJVrGJgUU
๔๑
อรนุช กาสกุล และคณะ , (๒๕๖๐). ความหมายของเพลงเพื่อชวี ิต เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://www.thaigoodview.com/node/229064
อทิ ธพิ ลทางสงั คมทีม่ ผี ลต่อภาษาและวฒั นธรรม , (ม.ป.ป.). อิทธิพลทางสงั คมที่มผี ลต่อภาษาและวฒั นธรรม
เข้าถงึ ได้จาก
https://elfhs.ssru.ac.th/nopphawan_ng/pluginfile.php/28/block_html/content/17.
อิทธพิ ลทางสังคมทีม่ ีผลต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย.pdf
Beau_Monde , (๒๕๖๑). วธิ กี ารสร้างแรงบันดาลใจ เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://women.trueid.net/detail/rGynn0oAW8P
Bj Fogg, PhD , (๒๕๖๔). หนงั สือเปลี่ยนน้อยนดิ เพ่ือพชิ ิตทุกเป้าหมาย
BOYd , (๒๕๖๐). เพลงฤดทู ีแ่ ตกตา่ ง เขา้ ถึงได้จาก
https://youtu.be/zwUmBsBy-vg
Chong Charis , (๒๕๖๕). คลิปวดี ีโอคนท่ีมคี วามฉลาดทางด้านอารมณ์ เข้าถึงไดจ้ าก
https://youtu.be/zGhBKxMszfU
“Don’t let the noise of others’ opinions drown out your own inner voice. And most
important, have the courage to follow your heart and intuition.”
“อยา่ ปล่อยให้เสียงนกเสยี งกาของผู้อืน่ มาบ่นั ทอนความเช่อื มนั่ ของคณุ ลงได้ และทส่ี ำคัญจงมีความกล้าทจี่ ะ
ทำตามหัวใจ และสญั ชาตญาณของตนเอง” เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://www.sanook.com/campus/1395873/
Heinich ศาสตราจารยภ์ าควชิ าเทคโนโลยีระบบการเรยี นการสอนและคณะของมหาวิทยาลยั อินเดยี นา่
(Indiana University) , (๒๕๓๙). ความหมายของส่ือ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://web.facebook.com/jingjaicreation/posts/1263790293672999/
James Bowen , Garry Jenkins , (๒๕๕๙) ภาพยนตร์ A street cat named BoB เข้าถึงได้จาก
https://www.metalbridges.com/a-street-cat-named-bob-2016/
Jane Hawking , (๒๕๕๘) ภาพยนตร์ The Theory of Everything เข้าถึงไดจ้ าก
https://www.the1.co.th/the1today/articles/706
๔๒
Jordan Belfort , (๒๕๕๖) ภาพยนตร์ The Wolf of Wall Street เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://www.the1.co.th/the1today/articles/706
Margot Lee Shetterly , (๒๕๕๙) ภาพยนตร์ Hidden Figures เขา้ ถึงได้จาก
https://www.the1.co.th/the1today/articles/706
Michael Jordan , คำคม “I’ve missed more than 9000 shots in my career. I’ve lost almost
300 games. 26 times I’ve been trusted to take the game winning shot and missed. I’ve
failed over and over and over again in my life. And that is why I succeed.”
“ผมโยนลกู พลาดมากกว่า ๙๐๐๐ คร้ังตลอดอายุการเล่นอาชีพของผม ผมพา่ ยแพเ้ กอื บ ๓๐๐ เกมทีแ่ ข่งขัน
และอีก ๒๖ คร้งั ท่ีผมไดร้ ับความไวว้ างใจจากคนในทีมวา่ จะนำทมี ไปสชู่ ยั ชนะไดแ้ ตผ่ มก็พลาด ในชีวติ ของผม
ประสบกับความล้มเหลวครัง้ แล้วครั้งเลา่ และน่นั ก็คือเหตุผลว่าทำไมผมถึงได้ประสบความสำเรจ็ ” เขา้ ถงึ ได้
จาก
https://www.bigdreamblog.com/home-คำคม/สารบัญ-คำคม-คำคมคนดัง/
Michael Lewis , Stan Chervin , (๒๕๕๔) ภาพยนตร์ Moneyball เข้าถึงไดจ้ าก
https://www.the1.co.th/the1today/articles/706
Mike LaVere , (๒๕๕๘). ความหมายของหนังสอื เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/book009230/khwam-hmay-khxng-hnangsux
Patrickananda , (๒๕๖๔). เพลง Oasis เข้าถึงไดจ้ าก
https://youtu.be/otRfHGPN5vo
Podcast ค่อยๆก้าวออกจากความคดิ ลบ | ความสุขโดยสังเกต EP.๒๙ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://youtu.be/imXYv2zLyQc
Quicksand bed , (๒๕๖๑). เพลงกอด เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://youtu.be/OGZDyxtl8LA
“Storms make trees take deeper roots.”
“พายุมักจะทำให้รากต้นไม้หยั่งลึกขึ้น เปรียบเหมือนกบั คนเราทยี่ ิง่ เจออปุ สรรคถาโถมมากเทา่ ไหร่ก็ย่ิงทำใหเ้ รา
เข้มแข็งมากขึ้น” เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
๔๓
https://women.trueid.net/detail/R2Mw71lAW8My
Teacher Guru , (๒๕๖๒). การเกิดของภาษา เข้าถึงได้จาก
https://www.wordyguru.com/article/สาเหตกุ ารเกดิ ภาษา
Uncle Ben ,(๒๕๖๔). เพลงโตไปด้วยกนั เข้าถึงได้จาก
https://youtu.be/TJtnc0KJizc
VDOLearning , (ม.ป.ป.). ความหมายของวีดีโอ เข้าถึงไดจ้ าก
http://www.vdolearning.com/vdotutor/video-knowledge/89-what-is-video
Whatcharawalee , (๒๕๕๕). เพลง Avenue เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://youtu.be/bJDuQi7gVMU
ทม่ี ารูปภาพ
https://www.se-ed.com/product/Blue-ท้องฟา้ มีน้ำตาเป็นสว่ นมาก.aspx?no=9786168166031
https://www.se-ed.com/product/แด่เธอผูเ้ จ็บปวดกับการเรียน.aspx?no=9786162875250
https://www.se-ed.com/product/ใชช้ วี ติ ใหเ้ ปน็ คนโชคดี.aspx?no=9786161840839
https://www.se-ed.com/product/จติ วทิ ยาพลกิ ชีวติ .aspx?no=9786165866729
https://m.se-ed.com/Detail/เปลย่ี นนอ้ ยนิด-เพ่ือพิชิตทุกเปา้ หมาย/9786161842536
https://www.sanook.com/movie/31146/
https://www.imdb.com/title/tt3606888/