The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่วิถีอนาคต Next Normal

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ekkachai.sri, 2022-05-06 02:20:14

การขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่วิถีอนาคต Next Normal

การขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่วิถีอนาคต Next Normal

รายงานการฝกประสบการณใ นสถานศึกษา

ประเด็นศกึ ษา (1) กลยุทธใ นการขบั เคลือ่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา
(2) การสรา งความเขมแข็งของระบบความรว มมือกบั สถานประกอบการ
(3) ระบบการบรหิ ารจัดการ สคู ณุ ภาพ
(4) การขับเคล่ือนระบบงานวิชาการ

นายเอกชยั ศรสี ุยงิ่ เลขที่ 4/3 กลมุ 4

รายงานการฝก ประสบการณในสถานศกึ ษา
ประเดน็ ศึกษา (1) กลยทุ ธใ นการขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา

(2) การสรางความเขม แขง็ ของระบบความรว มมือกับสถานประกอบการ
(3) ระบบการบรหิ ารจัดการ สคู ุณภาพ
(4) การขบั เคล่ือนระบบงานวิชาการ
ชื่อ – สกุล นายเอกชัย ศรสี ุยง่ิ เลขที่ 4/3 กลุม 4
วิทยากรพ่เี ลย่ี ง ผอ.เอนก สขุ สวาง

วิทยาลัยสารพัดชางปราจีนบุรี จัดต้ังขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการ เปดทําการสอนเม่ือ พ.ศ.
๒๕๓๘ ในชือ่ วทิ ยาลัยสารพดั ชา งปราจีนบุรี โดยเริม่ จดั การศกึ ษาในหลักสูตรวิชาชีพระยะสัน้ และจัดการศึกษา
เพ่ิมข้ึนอีกในระดับ ปวช. ปวส. ทั้งรูปแบบภาคปกติและแบบทวิภาคี ปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัยการ
อาชีพปราจีนบุรี ต้ังอยูเลขที่ ๓๐๖/๑ ถนนราษฎรดําริ ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี
รหัสไปรษณีย ๒๕๐๐๐ โทรศัพท ๐๓๗-๒๑๒๒๒๐ E-mail : ppc๓๖๕๙@gmail.com มีเนื้อที่ ๑๓-๐-๗๐ ไร
ดวยบริบททีเ่ ปน สถานศกึ ษาขนาดเลก็ และมจี ํานวนนกั เรียนนักศึกษานอย จาํ นวนครู บุคลากร จาํ นวนจาํ กดั จงึ
สงผลในดานงบประมาณหรือทรัพยากรในการบริหารงานที่จํากดั ตามไปดวย แตดวยสถานศึกษาไดรับความ
รว มมือจากชมุ ชน สงั คมในการรว มพัฒนาการจดั การศกึ ษาอยางดีเยี่ยมและท่ีตั้งของสถานศกึ ษาอยูในจงั หวัดท่ี
เปนแนวระบยี งเศรษฐกจิ ดานใตหรือ Southern Economic Corridor ซึง่ มบี ทบาทสาํ คัญสง เสริมดานการผลิตและ
พัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาสูตลาดแรงงาน โดยมี จุดเดนในดานหลักสูตรการเรียนรูที่มีความหลากหลายมีการ
สงเสรมิ ผเู รยี นดานการเรยี นรูเปน ชิน้ งานโครงการส่งิ ประดษิ ฐของคนรนุ ใหม ครูบคุ ลากรมีความเขมแข็งในการ
ทาํ งานเปนทมี มคี วามรักองคกรมคี วามรับผดิ ชอบ สง เสรมิ การเรียนรูเ ปนสถานศึกษาคุณธรรมและสถานศึกษา
พอเพยี งจนไดร บั รางวัลสถานศึกษาพอเพียงตน แบบในป พ.ศ.๒๕๕๙ และศูนยการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ป
พ.ศ.๒๕๖๑ จากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดานที่ตองการพัฒนาคือการแกปญหาผูเรียนออก
กลางคนั การสง เสรมิ การจดั หาเทคโนโลยที ี่ทันสมยั มาใชในการจัดการเรยี นการสอนและการบริหารจัดการ เชน
แอพพลิเคช่ันติดตามผูเรยี น เพ่ือรายงานผลไปยังผูปกครองสงเสริมการพฒั นาครแู ละบุคลากร และการพัฒนา
การศกึ ษาระบบทวิภาคี

วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี 57 ถนนสีหบุรานุกิจ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10510 โทรศัพท 02-517-2041 ชุมชนโดยรอบมีลักษณะเปนยานธุรกิจ สภาพ
เศรษฐกิจอยูใกลตลาดมีนบุรีและอยูหา งจากสํานักงานเขตมีนบุรีประมาณ 500 เมตร สภาพสังคมอยูใกลเขต
สถานที่ราชการเชน สํานักงานเขตมีนบุรี สาธารณสุข สํานักงานท่ีดิน สถานีตํารวจ ศาลจังหวัดมีนบุรี เปนตน
วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพช้ันสูงและระดับปริญญาตรี ดวยจุดเดนของสถานศึกษาท่ีมีวิสัยทัศนในดานการเปนสถานศึกษา
อาชีวศึกษาชั้นนําผลิตกําลังคนท่ีมีคุณภาพมาตรฐานสากลมีทักษะฝมือท่ีดีเย่ียม มีคุณธรรม มีความเปน
นักวิชาการและมีจิตอาสาพัฒนาสังคม ดวยความพรอมหลายประการ เชน นักเรียนนกั ศึกษาเปนผูมีระเบยี บ
วนิ ัย ครบู คุ ลากรมีความพอเพียงและมีคุณวุฒติ รงสาขาอาชีพ มีโครงสรา งสายงานการบงั คับบญั ชาที่ชดั เจน มี
การมอบหมายงานตามระเบียบการบรหิ ารอาชวี ศึกษา ๒๕๕๒ มเี อกลกั ษณในดานชางและการพิมพ

ผูบริหาร ครู บุคลากร มีสวนรวมกับชุมชน โครงสรางสถานศึกษายืดหยุนและปรับเปลี่ยนโดยการบริหารงาน
ดวยหลักธรรมมาภิบาลและการบริหารทรัพยากรอยางเปนระบบจึงทําใหสถานศึกษาประสบความสําเร็จโดย
ไดรับรางวัลเปนท่ีประจักร เชน ไดรับรางวัลสถานศึกษารางวัลพระราชทาน ๓ ปติดตอกัน ไดรับรางวัล
พระราชทาน “สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
พระราชทานรางวัลชนะเลิศ การแขง ขันหุน ยนตร ะบบอตั โนมตั ิอาชีวศกึ ษา ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๖๒ ประสบ
ความสําเร็จในดานการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีรวมกับสถานประกอบการทั้งในประเทศและตางประเทศ
และอกี ทง้ั รางวลั อ่นื ๆ

จากผลสํารวจของ WEF คาดวาอตั ราสวนการจางงานระหวางมนุษยและเคร่ืองจักรกลจะเพิ่มข้นึ อยาง
รวดเร็วจาก 67:33 ในป 2563 เปน 53:47 ในป 2568 ซ่ึงหมายถึงช่ัวโมงการทํางานของเครื่องจักรจะ
มากกวาช่ัวโมงการทํางานของมนุษย เราจึงจําเปนตองเรงปรับตัวพัฒนาทักษะการทํางานท่ีจําเปนสําหรับ
อนาคต ดวยการสรางวัฒนธรรมการเรียนรูในองคกรพรอมนาํ เทคโนโลยีใหม ๆ เขามาใชในการทํางานเพื่อให
การทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นสถานศึกษาจึงตองเรงผลิตและพัฒนาผูเรียนสูการเปนผูสําเร็จ
การศึกษาที่มีทักษาแหงอนาคต (Future skill) และเรงสรางความรวมมือกับสถานประกอบการอยางเขมแขง็
พรอมท้ังพัฒนาระบบบริหารจัดการสูคุณภาพรวมถึงการพัฒนาระบบงานวิชาการท่ีมีคุณภาพโดยไดทําการ
วเิ คราะห จดุ แข็งจุดออ น โอกาสและอุปสรรค และดาํ เนินงานตามวงจร PDCA ของสถานศึกษาแตล ะแหงดงั นี้

วิทยาลยั การอาชพี ปราจนี บรุ ี จังหวดั ปราจนี บรุ ี

Plan การวางแผน ประกอบดว ย
๑) จัดทําและแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินโครงการการศึกษาดูงานหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู
รวมกับสถานประกอบการเปน การศึกษาความตองการกาํ ลังคนของตลาดแรงงานและการสรางเครอื ขายความ
รวมมอื ของสถานประกอบการ
๒) จัดทําและแตงตั้งคณะกรรมการดําเนนิ โครงการจัดทําหลักสูตร ออกแบบหลักสูตรที่สอดคลอง
กับความตองการของตลาดแรงงานในรูปแบบคณะกรรมการซ่ึงสอดคลองกับนโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาในดานการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาในสาขาอาชีพใหม ทั้งรูปแบบ
ภาคปกติ ทวภิ าคี และหลกั สูตรระยะสัน้
- วชิ าชา งเสรมิ สวย - วิชาตดั ผมชาย
- วิชาการทองเท่ยี ว - วชิ าอาหารไทย
- วิชาส่ิงประดิษฐ - วชิ าลา งรถ
- วชิ าการทําความสะอาดเครอ่ื งปรบั อากาศ - วิชาการตดิ ตัง้ ไฟฟา
- วิชาหุนยนตเบอื้ งตน
๓) จัดทําและแตง ตงั้ คณะกรรมการดําเนนิ โครงการความรวมมือกับสถานประกอบการและชุมชน
๔) จัดทําและแตงต้ังคณะกรรมการดําเนนิ โครงการสํารวจความพรอ มของสาขาวิชาในการจัดการ
เรียนการสอนรว มกับสถานประกอบการ

๕) จดั ทําโครงการและแผนการปฏบิ ัติการครอบคลุมฝายบริหารทรพั ยากร ฝายวชิ าการ ฝายพฒั นา
กจิ การนักเรียน นักศึกษาและฝา ยแผนงานและความรวมมอื ประจําปงบประมาณ

๖) จัดทาํ และแตงตงั้ คณะกรรมการดาํ เนินโครงการนเิ ทศการเรียน การสอน
Do ลงมือทาํ ประกอบดวย

๑) จดั ทาํ ความรว มมือกบั สถานประกอบการที่รวมจัดเตรียมการสอน
๒) ดาํ เนินการพัฒนาครตู ามหลักสตู รหลักสตู รทสี่ อดคลอ งกบั ความตอ งการของตลาดแรงงาน
๓) ดาํ เนนิ การรบั สมคั รผเู รียน
๔) ดําเนินการการจัดการเรียนรูทั้งในรูปแบบภาคปกติ ระดับประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตร
ชัน้ สงู และหลักสูตรระยะสัน้
๕) สนับสนุนการพัฒนาผูเรียนดานคุณธรรม จริยธรรมในโครงการสถานศึกษาคุณธรรม
สถานศกึ ษาศกึ ษาพอเพยี ง
๖) สรางเครือขายความรวมมือผานผูมีสวนไดสวนเสียกับสถานศึกษา เชน คูคา สมาคมครู
ผูปกครอง ศษิ ยเกาหรือคณะกรรมการสถานศึกษา ผูนําทอ งถิน่ สภาหอการคา จังหวดั และหัวหนาสวนราชการ
ในจังหวัด บริษัท หางรานทั้งในบริเวณใกลเคียงสถานศึกษา ภายในจังหวัดและตางจังหวัด เชน หางหุนสวน
เอกภาพ โฮมมารท บรษิ ทั มาเวลคอรป อเรชัน่ จํากัด สถาบนั พัฒนาฝมอื แรงงานจงั หวดั ปราจนี บุรี บรษิ ัทบูรพา
ปราจีนมอเตอร หา งหนุ สว นจํากดั ประสิทธิ์มอเตอรป ราจีนบรุ ี บรษิ ทั Western Digital Thailand
๗) ลงนามความรวมมือกับสถานประกอบการ
๘) จัดต้ังศูนยทดสอบและประเมินมาตรฐานฝมือแรงงานโดยรวมกับสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน
จงั หวดั ปราจีนบรุ ี
๙) ดําเนินการอบรมครูนิเทศและครฝู กในสถานประกอบการ
๑๐) ดําเนินงานตามโครงการและแผนการปฏิบตั ิการอยา งเปนระบบ
๑๑) ตดิ ตามการสอนของครผู ูส อนอยางมรี ะบบ
Check การตรวจสอบหรอื การประเมนิ ประกอบดวย
๑) การนเิ ทศกระบวนการจดั การเรยี นการสอน
๒) การประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน
๓) การสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน
๔) การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานผานศูนยทดสอบของสถานศึกษาท่ีทําความรวมมือกับกรม
พฒั นาฝม ือแรงงาน
๕) การนเิ ทศตดิ ตามนักเรยี น นกั ศกึ ษาในสถานประกอบการ
๖) การประเมนิ ผลการฝกรว มกบั สถานประกอบการ
๗) การทดสอบมาตรฐานฝม อื แรงงานของผเู รยี นและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๘) การประเมนิ ความพงึ พอใจของสถานประกอบการตอ ผูเรยี น
๙) การประเมนิ ความพงึ พอใจของครูนเิ ทศเพื่อนําผลทไ่ี ดไปพฒั นาหลกั สตู รและบุคลากร
๑๐) ประเมินการนเิ ทศครูผูส อน

Action ปรับปรุง ประกอบดว ย
๑) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงการจัดต้ังศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือ

แรงงานเปนการแกปญหามาตรฐานการปฏบิ ัติงานของผูเรียนใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
๒) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงการพัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองตอ

ประชาชนทั่วไป
๓) สรปุ ผลการดําเนนิ งาน รายงานผลโครงการและปรบั ปรุงการพฒั นาครู บคุ ลากรอยางตอเนื่อง
๔) สรุปผลการดาํ เนนิ งาน รายงานผลโครงการและขยายบทบาทศนู ยท ดสอบและประเมิน
๕) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงโครงการพัฒนาครูนิเทศและครูฝกใน

สถานประกอบการ
๖) สรปุ ผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการ ปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสูตร
๗) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและปรับปรุง แกไขปญหาการดําเนินโครงการและ

แผนการปฏบิ ตั ิการจากปง บประมาณที่แลวใหด ีย่งิ ข้ึน
๘) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและสงเสริมใหครูผูสอนปรับปรุงการสอนอยาง

ตอเนอ่ื ง
วิทยาลัยเทคนิคมนี บุรี กรุงเทพมหานคร
Plan การวางแผน ประกอบดว ย
๑) จัดทําและแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินโครงการสงเสริมการจัดทํานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ

ของนักเรียน นกั ศกึ ษา
๒) จดั ทาํ และแตง ตั้งคณะกรรมการดาํ เนนิ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารหลักสตู รวิชาชีพระยะส้ัน
๓) จัดทําและแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินโครงการความรวมมือทางวิชาการกับสถาบัน/

มหาวทิ ยาลยั / หนว ยงานอื่น ๆ เพ่อื เผยแพรน วัตกรรมผลงานนักเรียน นกั ศึกษา ทง้ั ในและตา งประเทศ
๔) จดั ทาํ และแตงตงั้ คณะกรรมการดําเนินโครงการการนเิ ทศการเรียน การสอนภายในสถานศกึ ษา
๕) จัดทําและแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินโครงการดําเนินการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพนักเรยี น

นักศึกษาระดบั ปวช. ปวส.
๖) จัดทาํ และแตง ตัง้ คณะกรรมการดําเนนิ โครงการการสอบมาตรฐานฝมือครึ่งหลกั สูตร (Interim)

และสอบมาตรฐานฝมือเต็มหลักสูตร (Final) กิจกรรมท่ี ๓ ภายใตโครงการสงเสริมและสนับสนุนการจัดการ
เรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี

๗) จัดทําและแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินโครงการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ
สถานศกึ ษา นกั เรียน นักศึกษาที่มตี อการจดั อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

๘) จัดทําและแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินโครงการจัดสอบวัดระดับความรูทางภาษาจีน HSK
(Hanyu Shuiping Kaoshi)

๙) จดั ทาํ และแตงตงั้ คณะกรรมการดําเนินโครงการสวัสดกิ ารสาํ หรับนกั เรยี น นักศกึ ษา

Do ลงมือทาํ ประกอบดว ย
๑) สง เสรมิ ผลงานวจิ ยั นวัตกรรม ครแู ละนักเรียน นกั ศกึ ษาจดั ทํานวตั กรรมและส่งิ ประดษิ ฐ
๒) จัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นฐานสมรรถนะใหกลุมเปาหมาย (ปวช.๓ / ปวส.๒ และ กลุม

ประชาชนทัว่ ไป)
๓) ประสานความรว มมอื ทางวชิ าการกบั สถาบัน/ มหาวทิ ยาลยั / หนว ยงานภายนอกทัง้ ภาครัฐและ

เอกชนเพือ่ แลกเปลย่ี นประสบการณแ ละเผยแพรความรรู ะหวา งสถาบนั
๔) ดําเนินการนเิ ทศการเรยี น การสอนภายในสถานศกึ ษา
๕) ดําเนินการทดสอบมาตรฐานวชิ าชีพนักเรยี น นกั ศึกษาระดับ ปวช. ปวส.
๖) ดําเนินการสอบมาตรฐานฝมือคร่ึงหลักสูตร (Interim) และสอบมาตรฐานฝมือเต็มหลักสูตร

(Final) กจิ กรรมที่ ๓ ภายใตโครงการสงเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการเรยี นการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
๗) ดําเนินการศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาที่มีตอ

การจดั อาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีโดยใชแ บบสอบถามเปน เครอื่ งมอื ในการดาํ เนินโครงการ
๘) ดําเนินการจัดสอบวัดระดับความรูทางภาษาจีน HSK (Hanyu Shuiping Kaoshi) สําหรับ

นกั เรยี น นักศึกษาและผทู สี่ นใจท่วั ไป
๙) ดําเนินการจดั หาสวัสดิการสําหรับนักเรียน นักศึกษา

Check การตรวจสอบหรอื การประเมนิ ประกอบดวย
๑) ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินโครงการสงเสริมการจัดทํานวัตกรรมและ

สงิ่ ประดิษฐข องนกั เรยี น นักศกึ ษา
๒) ประเมินผลการดําเนินการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นฐานสมรรถนะใหกลุมเปาหมาย (ปวช.๓

ปวส.๒ และ กลุมประชาชนทวั่ ไป)
๓) ประเมินผลการดําเนินการความรวมมือทางวิชาการและประเมินความพึงพอใจของสถาบัน/

มหาวิทยาลัย/ หนวยงานภายนอกทง้ั ภาครัฐและเอกชนทีเ่ ขา รวมโครงการ
๔) ประเมินการนเิ ทศครูผูสอนภายในสถานศกึ ษา
๕) ประเมินผลการทดสอบมาตรฐานวิชาชพี นกั เรยี น นกั ศึกษาระดบั ปวช. ปวส.
๖) ประเมินผลการดําเนินการสอบมาตรฐานฝมือครึ่งหลักสูตร (Interim) และสอบมาตรฐานฝมือ

เต็มหลักสูตร (Final) กิจกรรมท่ี ๓ ภายใตโครงการสงเสริมและสนบั สนุนการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคี

๗) ประเมินผลความพึงพอใจของสถานประกอบการ สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาท่ีมีตอ การจดั
อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี

๘) ประเมนิ ระดบั ความรูท างภาษาจีน HSK (Hanyu Shuiping Kaoshi) และผูท ส่ี นใจทวั่ ไป
๙) ประเมนิ ผลความพงึ พอใจของนักเรียน นักศกึ ษาที่มีตอสวัสดกิ ารท่ไี ดรบั จากโครงการ

Action ปรบั ปรุง ประกอบดวย
๑) สรปุ ผลการดําเนนิ งาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงโครงการใหด ขี ึ้นในปง บประมาณตอไป
๒) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงหลักสูตรการอบรมหลักสูตรระยะส้นั

ฐานสมรรถนะใหเ หมาะสมกบั กลมุ เปา หมายในแตล ะป
๓) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและนําผลของการความพึงพอใจของสถาบัน/

มหาวิทยาลัย/ หนวยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนที่เขารวมโครงการมาปรับปรุงตามความเหมาะสมใน
ปงบประมาณตอ ไป

๔) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการ สงเสริมใหครูผูสอนและปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอนอยางตอเน่ือง

๕) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการ สงเสริมและปรับปรุงมาตรฐานวิชาชีพนักเรียน
นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส.

๖) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการ สงเสริมและปรับปรุงมาตรฐานฝมือคร่ึงหลักสูตร
(Interim) และสอบมาตรฐานฝมือเตม็ หลักสูตร (Final) กิจกรรมท่ี ๓ ภายใตโครงการสงเสริมและสนบั สนุนการ
จดั การเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี

๗) สรุปผลการดาํ เนนิ งาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงโครงการตามขอเสนอแนะทไี่ ดจากการ
ตอบแบบสอบถามของสถานประกอบการ สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษาท่ีมีตอการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิ
ภาคี

๘) สรุปผลการดําเนินงาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงระดับความรูทางภาษาจีน HSK
(Hanyu Shuiping Kaoshi) และผูทส่ี นใจท่วั ไป

๙) สรุปผลการดาํ เนนิ งาน รายงานผลโครงการและปรับปรุงการดําเนินการจัดหาสวัสดิการสําหรับ
นักเรียน นักศกึ ษา

จากบริบทการดําเนินงานของสถานศึกษาท้ังสองแหงท่ีมีความแตกตางกันทั้งบริบทและขนาดของ
สถานศึกษา ซึ่งแตละสถานศึกษามีจุดเดนในการดําเนินงานที่มีความเปนเลิศท้ังดานคุณภาพ ของบุคลากร
คุณภาพของนกั เรียน นักศึกษาและคณุ ภาพของระบบบรหิ ารจดั การ ซึ่งเปน การขับเคลื่อนสถานศกึ ษาแบบองค
รวม มกี ารทาํ งานเปนทมี หลกั การมสี ว นรว มจากทกุ ภาคสว นทั้งในประเทศและตางประเทศ ประกอบไปดวย ๔
ดาน คือ

๑. ดานการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อใหผูเรียนมีทักษะแหงอนาคต สถานศึกษามีการจัด
หลักสูตรการเรียนรทู ่หี ลากหลาย การจดั การสอนในสาขาแมคคาทรอนกิ สและหนุ ยนต สาขาการทอ งเทีย่ วและ
ความงาม เปนตน

การเรียนการสอนสาขาแมคคาทรอนิกสและหุน ยนต การเรยี นการสอนดานภาษาจนี

๒. การสรางความเขมแข็งดานความรวมมือ โดยในการจัดการเรียนรูน้ันไดสรางความรวมมือกับ
สถานศึกษาช้ันนําของรฐั ที่เปนสถาบันการอดุ มศึกษาในประเทศ เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา
เจาคุณทหารลาดกระบังและสถานศึกษาในตางประเทศ ประเทศจีน เชน มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีชิงเตา วิทยาลัยโปลีเทคนิคปกก่ิง วิทยาลัยเซี่ยงไฮโปลีเทคนิค วิทยาลัยอาชีศึกษาเทคโนโลยี
สารสนเทศและอิเล็กทรอนิกสเซ่ียงไฮ เปนตน รวมท้ังสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานในเขตพื้นที่ในการทดสอบ
มาตรฐานวิฝมือแรงงานและสถานประการช้ันนําอีกมากมาย นับเปนความสําเรจ็ ดานการสรา งความรวมมอื ใน
การจดั การศกึ ษา

การลงนามความรว มมืออาชีวศึกษา ไทย-จนี ความรว มมอื กับสถานประกอบการ

๓. การขบั เคลอ่ื นระบบงานวิชาการ ท้งั ดานการพัฒนาครู บคุ ลากรใหมีคุณภาพ การพัฒนาหลกั สูตร
อยา งตอ เนอื่ ง ครอบคลมุ ความตองการของผเู รียน ทัง้ หลักสตู รภาคปกติ หลกั สูตรทวิภาคี หลักสตู รภาคสมทบ
และหลักสูตรแลกเปล่ียนกับตางประเทศ ทั้งในระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี รวมถึงการพัฒนาส่ือการ
เรยี นรู การเปด สอนในสาขาวิชาใหมๆ

การรวมประชมุ รา ง พรบ.แผนการศึกษาแหง ชาติ การศกึ ษาดงู านการจดั อาชีวศกึ ษาในตา งประเทศ
๔. ระบบการบริหารจัดการมุงสูคุณภาพ จากการดําเนินการขับเคลื่อนสถานศึกษาแบบองครวม
และการจัดตง้ั ศูนยป ระสานงานการผลิตและพฒั นากําลังคนอาชีวศกึ ษาในเขตภูมิภาค (TVET Career Center)
สงผลใหการดําเนินงานของสถานศึกษาประสบความสําเร็จ ไดรับการชื่นชมและเปนที่ยอมรับจากสังคม เชน
รางวัลสถานศึกษารางวัลพระราชทาน รางวัลนักเรียนนักศึกษารางวัลพระราชทาน รางวัลชนะเลิศรางวัล
พระราชทาน การแขงขันหุนยนตระบบอัตโนมัติอาชีวศึกษา จาก “สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จ
พระเทพรัตราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี” และรางวัลอ่ืนๆ ซ่ึงสงผลใหผูเรียนเปนผูสําเร็จการศึกษาที่มคี ุณภาพ
คุณธรรม มีวินัย มีทักษะแหงอนาคตภายใตสภาวะการเปล่ียนแปลงทางสังคม สอดคลองกับแนวพระบรมรา
โชบายดานการศึกษาใน “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ” คอื ๑. มที ัศนคติทถ่ี กู ตองตอบานเมือง ๒. มพี ื้นฐาน
ชีวิตท่ีม่ันคง – มีคุณธรรม ๓. มีงานทํา – มีอาชีพ ๔. เปนพลเมืองท่ีดี อีกท้ังภารกิจ นโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และทศิ ทางการพฒั นาประเทศ ในดานอุตสาหกรรมใหม
ในยุควิถีอนาคต Next Normal


Click to View FlipBook Version