The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติประจำปีงบประมาณ2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.ขอนแก่น เขต 4, 2020-11-16 00:59:41

แผนปฏิบัติประจำปีงบประมาณ2563

แผนปฏิบัติประจำปีงบประมาณ2563

Keywords: แผนปฏิบัติ,ปีงบประมาณ2563

คำนำ

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ไดจ้ ัดทำเอกสารร่างแผนปฏบิ ัติการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 เพอ่ื ให้สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานในสังกดั ใชเ้ ป็นกรอบ
การดำเนนิ งานบริหารการศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมสี าระสำคัญเกยี่ วกบั วิสยั ทัศน์ พันธกจิ
เป้าหมาย การให้บริการ ตวั ช้ีวดั กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการ กจิ กรรม โดยสอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาล
เป้าหมายเชิงนโยบาย ตัวช้วี ัด กลยุทธ์ วธิ ีดำเนนิ การท่ีปรากฏในแผนการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน และเปา้ หมาย
การให้บรกิ ารยุทธศาสตร์ ตัวชวี้ ัดของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 4 จงึ ไดจ้ ัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี
พ.ศ. 2563 ท่ีสอดคลอ้ งกบั นโยบายของรัฐบาล กลยุทธ์ จุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการและสำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน เพอื่ ใช้เปน็ กรอบในการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามกรอบวงเงนิ ทไี่ ด้รับจัดสรร
งบดำเนนิ งานปกติ งบพฒั นาการศึกษา และงบจากหน่วยงานอ่ืนท่ไี ดร้ บั การสนับสนนุ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 4 ตลอดจนเพื่อเปน็ แนวทางในการดำเนนิ การจัดการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษาในสังกัด และใช้ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานตามนโยบายทุกระดับ

หวงั เป็นอย่างย่งิ ว่า เอกสารเลม่ น้จี ะเปน็ ประโยชนส์ ูงสดุ แก่ผ้ปู ฏิบัติ คณะกรรมการ หนว่ ยงาน
ผทู้ เี่ ก่ียวข้อง ขอขอบพระคุณผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งทกุ ทา่ น ทีม่ ีส่วนร่วมในการพิจารณาและจดั ทำแผนปฏิบตั กิ าร
ประจำปงี บประมาณ พ .ศ. 2563 จนสำเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี

(นายศภุ สนิ ภูศรีโสม)
ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 4

สารบญั หนา้

เรอื่ ง

คำนำ 1
สว่ นที่ 1 สภาพการจดั การศึกษา 10
สว่ นท่ี 2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 38
ส่วนที่ 3 รายละเอียดแผนปฏบิ ัติการ ประจำปี พ.ศ. 2562

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. รายละเอียดโครงการ
ภาคผนวก ข. คำสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงานโครงการจดั ทำแผนปฏิบตั ิการ
ประจำปี 2563
ภาคผนวก ค. คณะผู้จดั ทำ

คาสัง่ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต ๔
ที่ ๔๐ /๒๕๖๒

เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ งานโครงการจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓
.................................................................................

ดว้ ยสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต ๔ จะประชุมตามโครงการจดั ทา
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อเป็นการขบั เคล่ือนการจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานอยา่ งเป็นระบบโดย
ยดึ พ้ืนทเ่ี ปน็ ฐาน ซง่ึ เป็นปจั จัยสาคญั ในการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาทาใหเ้ กดิ บูรณาการดา้ นงบประมาณการปฏบิ ัติงาน
ในทุกระดบั โดยมุ่งเน้นผลการปฏบิ ัติงานเกิดการประสานเชื่อมโยงกนั อย่างเป็นระบบและการกระจายอานาจสู่พืน้ ท่ีอย่าง
สมบรู ณ์ ประกอบกบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานได้จดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เพอ่ื ให้
สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานทางการศึกษา หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง มีแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา และแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพ่ือให้
การดาเนนิ งานโครงการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย จงึ แตง่ ตั้งคณะกรรมการเพ่ือดาเนินการ ประกอบดว้ ย

คณะกรรมการอานวยการ

๑. นายศุภสนิ ภูศรโี สม ผอ.สพป.ขอนแกน่ เขต ๔ ประธานกรรมการ

๒. นายไพรสณ ทาปลัด รอง ผอ.สพป.ขอนแกน่ เขต ๔ รองประธานกรรมการ

๓. นายณัฐพงศ์ ค่ายไธสง ผอ.กลมุ่ นิเทศติดตามและ กรรมการ

ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา

๔. นางสาวบุษบา นามอดุ ม ผอ.กลมุ่ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษา กรรมการ

๕. นางสาวเพ็ญศรี พรหมเทศ ผอ.กลุ่มบริหารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์ กรรมการ

๖. นายพรี ะ พรหมกัลป์ ผอ.กลุม่ อานวยการ กรรมการ

๗. นายธาตรี ทวะชารี ผอ.กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล กรรมการ

๘. นายสิโรฒ บาลยอ ผอ.กลุม่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกลฯ กรรมการ

๙. นางฐานิกา ชมอาษา ผอ.หน่วยตรวจสอบภายใน กรรมการ

๑๐. นางสาววราภรณ์ เพยี จันทร์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ กรรมการ

ปฏิบตั หิ นา้ ที่ ผอ.กลุ่มพฒั นาบคุ ลากร

๑๑. นายโกสนิ สะตะ ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน กรรมการ/เลขานกุ าร

๑๒. นางสาวกรพนิ ธ์ุ นามบญุ เรือง นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ/ผช.เลขานกุ าร

มหี น้าที่ อานวยการ ให้คาปรึกษา แนะนาและแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ตลอดจนวินิจฉยั สั่งการเพ่อื ให้งานดาเนนิ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของหน่วยงาน

-๒-

คณะกรรมการดาเนนิ งาน ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต ๔ ประธานกรรมการ
รอง ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต ๔ รองประธานกรรมการ
๑. นายศภุ สนิ ภศู รโี สม ผอ.กลมุ่ นิเทศตดิ ตามฯ
๒. นายไพรสณ ทาปลดั ผอ.กลุ่มสง่ เสริมการจัดการศึกษา กรรมการ
๓. นายณฐั พงศ์ ค่ายไธสง ผอ.กลุ่มบริหารงานกากรเงนิ ฯ กรรมการ
๔. นางสาวบษุ บา นาอดุ ม ผอ.กลุ่มอานวยการ กรรมการ
๕. นางสาวเพญ็ ศรี พรหมเทศ ผอ.กลุ่มบริหารงานบคุ คล กรรมการ
๖. นายพีระ พรหมกลั ป์ ผอ.กลมุ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาทางไกลฯ กรรมการ
๗. นายธาตรี ทวะชารี ผอ.หนว่ ยตรวจสอบภายใน กรรมการ
๘. นายสโิ รฒ บาลยอ กรรมการ
๙. นางฐานิกา ชมอาษา นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ กรรมการ
๑๐. นางสาววราภรณ์ เพยี จันทร์ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ี ผอ.กล่มุ พัฒนาบคุ ลากร
กรรมการ
๑๑. นางอทุ ุมพรพตั สุคนธาภพิ ัฒนกุล ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ
๑๒. นางถาวร ผาบสิมมา ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ
๑๓. นางอนงลกั ษ์ ศรีเวยี งราช ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ
๑๔. นายสันติ จา้ แพงจนั ทร์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑๕. นางสาวทศั นา ศรภี ูมิ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ
๑๖. นางสาวอนงค์นาถ เคนโพธ์ิ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ
๑๗. นางสาวกรรยา จติ ฟงุ้ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ
๑๘. นายเทดิ ชัย ศรีบุญไทย นติ กิ ร กรรมการ
๑๙. นายมานพ โคตรโสภา ผอ.ร.ร.บ้านขุนดา่ น กรรมการ
๒๐. นางบษุ บง ไทยวังชยั ผอ.ร.ร.บ้านจาปาหัวบงึ กรรมการ
๒๑. นายสพุ นิ จิ ศรพี ทุ ธา ผอ.ร.ร.บา้ นกุดกระหนวน กรรมการ
๒๒. นายอัศนัย วารีศรี ผอ.ร.ร.บา้ นโนนศลิ าราศรี กรรมการ
๒๓. นายสันติ พนั ธช์ ัย ผอ.ร.ร.บ้านคาแมด กรรมการ
๒๔. นางฎัฏฐากาญจน์ พรหมประโคน ผอ.ร.ร.บ้านคาบอนครุ ุราษฎร์บารงุ กรรมการ
๒๕. นายวรวฒุ ิ โพธ์ศิ รี ก.ต.ป.น. กรรมการ
๒๖. นางมารศรี ภริ มยไ์ กรภักด์ ก.ต.ป.น. กรรมการและเลขานุการ
๒๗. นายโกสิน สะตะ ผอ.กล่มุ นโยบายและแผน กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานกุ าร
๒๘. นางสาวกรพินธ์ุ นามบญุ เรือง นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน

มหี นา้ ท่ี วิเคราะห์วิสยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จัดทาโครงการ/กจิ กรรม ให้สอดคล้องกับนโยบายทุกระดบั
และจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

-๓-

คณะกรรมการฝา่ ยพจิ ารณาโครงการ ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต ๔ ประธานกรรมการ
๑. นายศภุ สนิ ภูศรีโสม รอง ผอ.สพป.ขอนแกน่ เขต ๔ รองประธานกรรมการ
๒. นายไพรสณ ทาปลดั ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามฯ
๓. นายณฐั พงศ์ ค่ายไธสง ผอ.กลุ่มสง่ เสริมการจัดการศึกษา กรรมการ
๔. นางสาวบุษบา นาอุดม ผอ.กลมุ่ บริหารงานกากรเงินฯ กรรมการ
๕. นางสาวเพญ็ ศรี พรหมเทศ ผอ.กลุ่มอานวยการ กรรมการ
๖. นายพีระ พรหมกลั ป์ ผอ.กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล กรรมการ
๗. นายธาตรี ทวะชารี ผอ.กลมุ่ สง่ เสริมการศึกษาทางไกลฯ กรรมการ
๘. นายสโิ รฒ บาลยอ ผอ.หน่วยตรวจสอบภายใน กรรมการ
๙. นางฐานิกา ชมอาษา กรรมการ
๑๐. นางสาววราภรณ์ เพียจันทร์ นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ กรรมการ
ปฏิบตั ิหนา้ ที่ ผอ.กลมุ่ พัฒนาบุคลากร
๑๑. นางอทุ ุมพรพตั สคุ นธาภิพฒั นกุล กรรมการ
๑๒. นางถาวร ผาบสมิ มา ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ
๑๓. นางอนงลกั ษ์ ศรเี วยี งราช ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑๔. นายสนั ติ จ้าแพงจันทร์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑๕. นางสาวทัศนา ศรภี ูมิ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑๖. นางสาวอนงค์นาถ เคนโพธิ์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑๗. นางสาวกรรยา จติ ฟุง้ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ
๑๘. นางพรรณภิ า ดอกไม้ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑๙. นางอุบล ชาอุ่น นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๒๐. นางภัทรพร สุขสรอ้ ย นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๒๑. นางยุวดี จนั ทเจริญพงศ์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๒๒. นายโกสนิ สะตะ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ/เลขานุการ
๒๓. นางสาวกรพนิ ธุ์ นามบญุ เรือง ผอ.กลมุ่ นโยบายและแผน กรรมการ/ผช.เลขานกุ าร
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน

มีหนา้ ท่ี พจิ ารณา และวเิ คราะหโ์ ครงการที่จะบรรจุในแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ให้สอดคล้องตามนโยบาย กลยทุ ธ์ จุดเน้น ของรฐั บาล กระทรวงศกึ ษาธิการ และ สพฐ.

คณะกรรมการฝา่ ยปฏคิ มและรบั รายงานตวั ผอ.กลุม่ นโยบายและแผน ประธานกรรมการ
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ
๑. นายโกสนิ สะตะ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ
๒. นางอบุ ล ชาอุ่น นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ
๓. นางพรรณภิ า ดอกไม้ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๕. นางยุวดี จนั ทเจริญพงศ์ นกั วชิ าการศกึ ษา กรรมการ
๖. นางสาวกรพินธ์ุ นามบญุ เรือง นักวชิ าการศึกษา กรรมการ
๗. นายสิโรฒน์ บาลยอ นักวิชาการศกึ ษา กรรมการ
๘. นางอานวยพร ภวภตู านนท์ฯ นักวชิ าการศกึ ษา กรรมการ
๙. นางสพุ ิชฌาย์ เสาระโส นักทรพั ยากรบคุ คล กรรมการ
๑๐. นางรุ่งนภา อนุศรี
๑๑. นางสาวศุภิสรา พรหมเทศ

๑๒. นางสมคดิ เหลา่ พิไล -๔- กรรมการ
๑๓. นางธันย์วรินทร์ ปิน่ ลออ นักทรัพยากรบุคคล กรรมการ
๑๔. นางอญั ชลี ชยั สิทธิ์ นักทรัพยากรบุคคล กรรมการ
๑๕. นางองั คะนาง ศรวี งษ์ นักทรพั ยากรบุคคล กรรมการ
๑๖. นางชัชรีพร โพนแพงพา นกั ทรพั ยากรบคุ คล กรรมการ
๑๗. นางสาวปารชิ าติ วงษล์ า นกั ทรัพยากรบคุ คล กรรมการ
๑๘. นางสาวกลั ยาณี เข็มลา นกั ทรัพยากรบุคคล กรรมการ
๑๙. นายมาก มมุ ไธสง ลกู จา้ ง กรรมการ
๒๐. นางชนม์สติ า บาลยอ ลูกจา้ ง กรรมการ
๒๑. นางภทั รพร สขุ สรอ้ ย ลกู จ้าง กรรมการและเลขานุการ
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน

มีหนา้ ท่ี จดั ทาเอกสารายงานตวั รับรายงานตัว ต้อนรับคณะวทิ ยากรและแขกผ้มู ีเกยี รติ ประสานงานอาหารกลางวัน
อาหารเย็น อาหารวา่ งและเคร่อื งด่ืม ที่พกั ใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

คณะกรรมการฝ่ายพธิ กี าร รอง ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต ๔ ประธานกรรมการ
ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๑. นายไพรสณ ทาปลดั ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
๒. นางอนงลักษณ์ ศรเี วยี งราช กรรมการ
๓. นางสาวทัศนา ศรีภมู ิ นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ
๔. นางสาววราภรณ์ เพยี จันทร์ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ผอ.กลมุ่ พฒั นาบุคลากร กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
๕. นายสพุ ฒั น์ จันทร์เปลง่ นักวชิ าการศกึ ษา
๖. นายโกสิน สะตะ ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน

มีหนา้ ที่ ดาเนินการด้านพิธกี ารต่างๆ ใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ มปี ระสิทธภิ าพ

คณะกรรมการฝา่ ยเอกสาร ผอ.กลมุ่ นโยบายและแผน ประธานกรรมการ
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๑. นายโกสิน สะตะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๒. นางพรรณิภา ดอกไม้ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ
๓. นางอบุ ล ชาอุน่ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๔. นางภัทรพร สขุ สร้อย นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน
๕. นางยุวดี จันทเจรญิ พงศ์ กรรมการและเลขานุการ
๖. นางสาวกรพนิ ธุ์ นามบุญเรือง

มีหน้าที่ รวบรวม เรียบเรียงเอกสาร จดั ทาเอกสารประกอบการประชุม

-๕-
คณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยแี ละประชาสมั พันธ์

๑. นายสโิ รฒ บาลยอ ผอ.กลุม่ สง่ เสริมการศกึ ษาทางไกลฯ ประธานกรรมการ
๒. นางสาวกรพินธ์ุ นามบุญเรือง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๓. นางสาวสินีนาฎ มหาวงษ์ นักประชาสมั พนั ธ์ กรรมการ
๔. นายปริ นกิ ร นาหนองตูม ลกู จ้าง กรรมการ
๕. นายรเมศ นาสนิ พร้อม นกั ทรัพยากรบคุ คล
กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าที่ รบั ผดิ ชอบด้านเทคโนโลยี จดั ทาการนาเสนอตอ่ ทปี่ ระชุม ด้านเครอื่ งเสียง บนั ทึกภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว
ตดั ตอ่ และนาขึน้ เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ทาง Website สพป.ขอนแกน่ เขต ๔

คณะกรรมการฝ่ายสถานที่

๑. นายพีระ พรหมกัลป์ ผอ.กลมุ่ อานวยการ ประธานกรรมการ
๒. นายชูชาติ พทุ ธลา นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ กรรมการ
๓. นางสาวสินนี าฎ มหาวงษ์ นกั ประชาสัมพันธ์ กรรมการ
๔. นายโกศล พินิจมนตรี ชา่ งปนู ๔ กรรมการ
๕. นางสาวกลั ยาณี เข็มลา ลูกจ้าง กรรมการ
๖. นางสาวรุจิรา ลสี งิ ห์ ลกู จ้าง กรรมการ
๗. นางสาวอรสา สหี าบง ลูกจ้าง กรรมการ
๘. นางพัชรินทร์ แสนอบุ ล นกั จัดการงานทว่ั ไป
กรรมการและเลขานุการ
มหี นา้ ที่ จดั สถานที่ในการประชุมให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย เหมาะสม สวยงาม
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการฝ่ายการเงินและบัญชี กรรมการ
กรรมการ
๑. นางสาวเพญ็ ศรี พรหมเทศ ผอ.กลมุ่ บริหารงานการเงินฯ กรรมการ
๒. นางนภาเพ็ญ ศรีหาพุฒ นักวิชาการเงินและบัญชี กรรมการ
๓. นางอานวย บุญสงค์ จพง.พัสดุ กรรมการ
๔. นางจารสั แสนเหวิม จพง.พสั ดุอาวโุ ส กรรมการ
๕. นางสาวจริ าพร สอนไชย ลูกจา้ ง กรรมการ
๖. นางสาวพชั นี กองพรมฤทธิ์ จพง.ธรุ การ กรรมการ
๗. นางสาวนชุ จรี ขาวสวนจิต นกั วิชาการเงินและบญั ชี กรรมการ
๘. นายสุรจติ แสนลุน พนกั งานราชการ กรรมการ
๙. นางสาวณัชชา อ่อนสาลี ลูกจา้ ง
๑๐. นางรุ่งนภา อิโน ลูกจา้ ง กรรมการและเลขานุการ
๑๑. นางสาวกรพินธ์ุ นามบญุ เรือง นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน
๑๒. นางเสาวลักษณ์ พรหมที นักวิชาการเงินฯ

มีหนา้ ท่ี เบิกจา่ ยเงนิ ตามโครงการใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย ถกู ต้องตามระเบียบ

-๖-

คณะกรรมการฝา่ ยประเมินผล ผอ.กลมุ่ นโยบายและแผน ประธานกรรมการ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๑. นายโกสิน สะตะ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ
๒. นางพรรณิภา ดอกไม้ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน กรรมการ
๓. นางอบุ ล ชาอุ่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรรมการ
๔. นางภัทรพร สุขสร้อย นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน
๕. นางยวุ ดี จันทเจริญพงศ์ กรรมการและเลขานุการ
๖ นางสาวกรพินธุ์ นามบุญเรือง

มหี นา้ ท่ี จดั ทาแบบสอบถาม เก็บข้อมลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู จัดทารูปเลม่ รายงานผลโครงการ

ใหค้ ณะกรรมการที่ได้รับการแตง่ ตง้ั ปฏบิ ัตหิ นา้ ทท่ี ่ีไดร้ บั มอบหมายให้บรรลวุ ัตถุประสงค์
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เกดิ ประโยชน์สงู สุดแก่ทางราชการ

ทั้งนี้ ตัง้ แต่บดั นเ้ี ปน็ ต้นไป
สง่ั ณ วันที่ ๑๕ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายศภุ สนิ ภศู รโี สม)
ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๔

Page |1

ส่วนท่ี 1
สภาพการจัดการศึกษา

สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 เป็นหนว่ ยงานทางการศกึ ษา สังกดั
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดจ้ ดั ตง้ั ข้นึ ตามพระราชบัญญตั ิระเบียบ
บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง การกำหนดและ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาเป็นเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา ตั้งแต่วนั ท่ี 17 สิงหาคม 2546
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การแบ่งสว่ นราชการภายในสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
(ฉบบั ท่ี 2)พ.ศ. 2553 ซ่งึ กำหนดให้สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา มภี ารกิจ ในการกำกบั ดแู ล
ประสาน สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาในเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ให้ประชากรวัยเรียนไดร้ บั การศกึ ษาอย่างทว่ั ถงึ
เสมอภาค เท่าเทียม มคี ุณภาพ มีความรคู้ ู่คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมนำไปสกู่ าร เตรยี มความพรอ้ มใหส้ อดคล้อง
กบั การแขง่ ขันของประเทศ โดยมีทิศทางการจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อนโยบายของรฐั บาล
กระทรวงศกึ ษาธิการ และสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐานตามดัชนีตวั ช้วี ัดที่กำหนด มีสภาพ
ทว่ั ไป ดงั น้ี
สถานท่ตี ้งั

สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 ต้งั อย่ทู ่ี เลขที่ 86 หมทู่ ี่ 5
ถนนมติ รภาพ ตำบลน้ำพอง อำเภอนำ้ พอง จังหวดั ขอนแกน่ รหัสไปรษณีย์ 40310 โทรศพั ท์
0-4344-1827 โทรสาร 0-4344-1913 และ เว็บไซต์ http://www.kkn4.obec.go.th

เขตพืน้ ที่บริการ
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 มีเขตพ้นื ทีบ่ ริการในการจัดการศึกษา

ขั้นพนื้ ฐาน ประกอบดว้ ย 5 อำเภอ ได้แก่

อำเภอ พนื้ ที่ ตำบล หมู่บา้ น เทศบาล อบต.
(ตร.กม.)
นำ้ พอง 12 149 6 8
กระนวน 828.7 9 98 4 6
อุบลรตั น์ 322.017 6 68 3 4
เขาสวนกวาง 5 56 2 4
ซำสงู 487 5 35 1 4
329.9 37 425 16 26
รวม 116.7
2,084.317 ท่ีมา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

Page |2

ประชากรในเขตพน้ื ทบี่ ริการ

อำเภอ ชาย หญิง รวม หมายเหตุ
37,122 74,198
นำ้ พอง 37,076 34,437 68,673
20,260 40,709
กระนวน 34,236 10,747 21,507
9,321 18,419
อุบลรัตน์ 20,449 111,887 223,506

เขาสวนกวาง 10,760

ซำสูง 9,098

รวม 111,619

ที่มา : สำนกั บรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ธนั วาคม พ.ศ. 2562

การแบง่ สว่ นราชการสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง การแบ่งสว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา

พ.ศ. 2560 กำหนดให้สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา แบง่ สว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
ดงั ต่อไปนี้

(1) กลุ่มอำนวยการ
(2) กลมุ่ นโยบายและแผน
(3) กลุ่มสง่ เสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
(4) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรพั ย์
(5) กลมุ่ บริหารงานบคุ คล
(6) กล่มุ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
(7) กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
(8) กลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษา
(9) หน่วยตรวจสอบภายใน

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

Page |3

อำนาจหน้าทข่ี องสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 4
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามอี ำนาจหนา้ ทด่ี ำเนินการใหเ้ ป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของสำนกั งานเขต

พื้นทก่ี ารศกึ ษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และมีอำนาจหนา้ ที่ ตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง การแบง่ สว่ นราชการภายในสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา พ.ศ. 2560
ดังตอ่ ไปนี้

(1) จัดทำ นโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศกึ ษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษาให้สอดคลอ้ ง
กับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และความตอ้ งการของ
ท้องถิน่

(2) วเิ คราะห์การจัดต้งั งบประมาณเงนิ อุดหนนุ ท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นท่ี
การศึกษา และแจ้งการจดั สรรงบประมาณทีไ่ ด้รับให้หน่วยงานข้างต้นรบั ทราบ รวมทง้ั กำกับตรวจสอบ
ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานดงั กลา่ ว

(3) ประสาน สง่ เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาหลักสตู รร่วมกับสถานศึกษาในเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
(4) กำกบั ดแู ล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและในเขตพน้ื ที่การศึกษา
(5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรดา้ นตา่ ง ๆ รวมทง้ั ทรพั ยากรบุคคล เพอ่ื ส่งเสริม สนับสนนุ การ
จดั และพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา
(7) จัดระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
(8) ประสาน สง่ เสริม สนบั สนุน การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ รวมทั้งบุคคล องคก์ รชุมชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั อน่ื ท่จี ัด
การศกึ ษารปู แบบทีห่ ลากหลายในเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
(9) ดำเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพฒั นาการศึกษาในเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา
(10) ประสาน สง่ เสรมิ การดำเนินการของคณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ และคณะทำงาน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

Page |4

ด้านการศึกษา
(11) ประสานการปฏิบตั ิราชการทัว่ ไปกับองคก์ รหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐ เอกชน และ

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ
(12) ปฏิบัตงิ านรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานอนื่ ที่เกี่ยวขอ้ งหรือทีไ่ ดร้ บั

มอบหมาย

โครงสรา้ งการบรหิ าร
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 4

สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา กศจ.ขอนแกน่

หน่วยตรวจสอบภายใน คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา

กลุม่ อำนวยการ กล่มุ นโยบายและแผน กลมุ่ ส่งเสริม กล่มุ นเิ ทศตดิ ตาม
- บริหารงานทัว่ ไป - แผนพฒั นา-ปฏบิ ตั ิการ การจดั การศกึ ษา และประเมนิ ผล
- ประชาสมั พันธ์ - จดั ตง้ั และจัดสรร งปม. - กิจการนกั เรียน - พัฒนาหลกั สตู รและ
- ประสานงาน - ตดิ ตาม ประเมินผล - กจิ การพเิ ศษ กระบวนการเรยี นรู้
- สวสั ดกิ าร กองทนุ - ส่งเสรมิ คุณภาพการจัด - วดั และประเมนิ ผล
และรายงาน การศกึ ษา การศึกษา
ฯลฯ ฯลฯ - สอ่ื นวตั กรรม
ฯลฯ เทคโนโลยี
กลุ่มบริหารงานการเงนิ - นิเทศ ติดตาม
และสนิ ทรัพย์ กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล กลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล ประเมนิ ระบบบรหิ าร
- ประกนั คณุ ภาพภายใน
-การเงนิ แ-ผนงาปนฏวาิบงตัแผกิ นารประจำปงี บประมาณ พ.ศเท. ค2โ5น6โ3ลยสี ารสสพนเปทศ.ขเพอื่อนกาแรก่น เขต 4 - งานเลขานกุ าร ก.ก.
-บญั ชี เรียนการสอน ติดตาม ฯ
อตั รากำลัง - กำกบั ดูแล ตรวจสอบ
-งานบำเหน็จความชอบ ควบคุม ฯลฯ

Page |5

ขอ้ มลู นักเรียน/ ห้องเรียน จำนวนคน จำนวนห้องเรยี น
ท่ี ข้อมลู นักเรยี น 378 58
1 อนบุ าล 1 1,772 189
2 อนบุ าล 1 2,020 183
3 อนุบาล 1 14,260 1,235
4 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 2,195 147
5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 20,625 1,812
รวมท้ังสิ้น

บุคลากรสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4

ท่ี รายการ จำนวนคน
1 ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา 1

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

2 รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา Page |6
3 ศกึ ษานิเทศก์
4 บุคลากรทางการศึกษาอื่น 38 ค (2) 1
5 ลูกจ้างประจำ 9
6 ลูกจา้ งชว่ั คราว 34
3
รวมทั้งส้ิน 20
68

ข้อมลู ขนาดโรงเรยี น จำนวน 121 โรงเรยี น
1. ขนาดโรงเรียนที่มีนักเรียนตัง้ แต่ 1-120 คน จำนวน 40 โรงเรยี น
2. ขนาดโรงเรียนที่มีนกั เรยี นตัง้ แต่ 121-250 คน จำนวน 11 โรงเรยี น
3. ขนาดโรงเรยี นที่มีนักเรยี นต้งั แต่ 251-700 คน จำนวน 3 โรงเรียน
4. ขนาดโรงเรยี นที่มีนกั เรียนตัง้ แต่ 701-1,100 คน

ผลการดำเนนิ งานทผี่ ่านมา

จำนวนนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2559 - 2562

จำนวนนักเรยี นในสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 4

ปกี ารศึกษา 2559 – 2562 จำแนกตามระดบั

ระดบั ปกี ารศึกษา

2559 2560 2561 2562
378
ระดับก่อนประถมศึกษา

ชัน้ อนบุ าลปีที่ 1 2,197 373 371

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

Page |7

ชน้ั อนุบาลปีที่ 2 2,088 2,220 1,927 1,772

ชั้นอนบุ าลปีท่ี 3 2,292 2,238 2,020

รวมก่อนประถมศึกษา 4,285 4,885 4,536 4,170

ระดับประถมศกึ ษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 2,413 2,247 2,444 2,488

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 2,275 2,409 2,251 2,438

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 2,351 2,296 2,422 2,230

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 2,476 2,371 2,297 2,423

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 2,536 2,492 2,390 2,300

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 2,664 2,539 2,502 2,381

รวมระดบั ประถมศึกษา 14,715 14,354 14,306 14,260

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 764 723 730 720

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 717 731 732 718

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 758 667 686 706

รวมระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น 2,239 2,121 2,148 2,144

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 44 30 21 13

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 - 36 25 17

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 34 21

รวมระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย 44 66 80 51

รวมทั้งสนิ้ 21,283 21,426 21,070 20,625

ทม่ี า : ข้อมูล 10 มถิ ุนายน 2558 – 2562 สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 4

ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

จำนวนขา้ ราชการครู / ครูอตั ราจ้าง จำแนกตามสายงาน

กลมุ่ จำนวน หมายเหตุ

1. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น/รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 162

2. ครู ค.ศ.3 892

3. ครู ค.ศ.2 86

4. ครู ค.ศ.1 127

5. ครผู ู้ชว่ ย 150

รวม 1,417

ด้านคุณภาพนักเรียน

1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (NT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

Page |8

กลมุ่ สาระ ร้อยละ ผลต่าง
ปี 2560 2561
ความสามารถดา้ นภาษา 52.38 48.84 -3.54
ความสามารถดา้ นการคิดคำนวณ 38.47 43.06 4.59
ความสามารถด้านเหตุผล 45.55 44.38 -1.17
45.47 45.43
รวม -0.12

การจดั การศกึ ษาในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2560 เปรียบเทียบกบั ปีการศึกษา
2561 พบวา่ ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานเพ่ือประกนั คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) รวมความสามารถ
3 ดา้ น เฉล่ยี -0.12 ซึง่ มีรายละเอยี ดในแต่ละดา้ นดังนี้ ความสามารถด้านภาษา -3.54 ความสามารถด้าน
การคิด 4.59 และความสามารถด้วยเหตุผล -1.17

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นช้ัน ป.6 คะแนนทดสอบระดบั ชาติ(O-NET)

กลมุ่ สาระ ปกี ารศึกษา
2559 2560 2561
+เพิม่ -ลด
ภาษาไทย 49.71 42.77 53.50 (2561-2560)
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ 35.73 33.03 31.08 10.73
สังคมศกึ ษา -1.95
ภาษาอังกฤษ 38.36 36.34 37.36 1.02

42.77 - - 3.49
3.32
27.74 29.97 33.46

เฉลย่ี ร้อยละ 38.86 35.53 38.85

ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาขั้นพืน้ ฐานเพ่อื ประกันคุณภาพผ้เู รียน (O - NET) ในระดับ
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2561 เปรียบเทียบกับปกี ารศกึ ษา 2560 พบว่า ผลการทดสอบจำแนก
รายกลมุ่ สาระการเรียนรู้เพิ่มขน้ึ 3 กล่มุ สาระ คอื กลุ่มสาระภาษาไทย เพ่มิ ข้ึน 10.73 กล่มุ สาระ
วทิ ยาศาสตร์ เพิ่มขึ้น 1.02 และกลุม่ สาระภาษาองั กฤษ เพิ่มข้นึ 3.49 สว่ นกล่มุ สาระคณิตศาสตร์
ลดลง -1.95 และในภาพรวมผลการทดสอบทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้มคี ่าเฉลี่ยเพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 3.32

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

Page |9

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ช้ัน ม.3 คะแนนทดสอบระดับชาติ(O-NET)

กล่มุ สาระ ปีการศกึ ษา

2559 2560 2561 +เพ่มิ –ลด

ภาษาไทย 40.99 42.81 48.24 (2561-2560)
สงั คมศึกษา 43.74 -
ภาษาอังกฤษ 26.75 26.26 25.89 5.43
คณติ ศาสตร์ 23.20 21.10 24.13
วิทยาศาสตร์ 32.38 29.29 32.74 -0.37
33.41 29.87 32.75 3.03
เฉลย่ี 3.45
2.89

ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานเพื่อประกันคณุ ภาพผเู้ รยี น (O - NET) ในระดับ
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2561 เปรยี บเทียบกับปกี ารศกึ ษา 2560 พบว่า ผลการทดสอบจำแนก
รายกลมุ่ สาระการเรียนรู้เพ่มิ ข้ึน 3 กล่มุ สาระ คอื กลมุ่ สาระภาษาไทย เพมิ่ ขนึ้ 5.43 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
เพม่ิ ข้นึ 3.03 และกลุ่มสาระวิทยาศาตร์ เพมิ่ ขน้ึ 3.45 สว่ นกลุ่มสาระภาษาองั กฤษ ลดลง -0.37 และใน
ภาพรวมผลการทดสอบทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยเพมิ่ ข้นึ รอ้ ยละ 2.89

ด้านขยายโอกาสทางการศกึ ษา
1) ประชากรวัยเรียนตามเกณฑ์การศกึ ษาภาคบงั คับเขา้ เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1
ในปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 100
2) นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เข้าเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561
ร้อยละ 100
3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 เข้าเรยี นต่อระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รอ้ ยละ 96.94

ด้านคุณภาพโรงเรียน
1) โรงเรียนผา่ นการประเมินคณุ ภาพภายในรอ้ ยละ 100
2) โรงเรยี นได้รับการรับรองให้เป็นโรงเรยี นเศรษฐกิจพอเพียง รอ้ ยละ 100
3) โรงเรียนจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมความสำนกึ ในความเป็นชาตไิ ทย
รอ้ ยละ100

ด้านคุณภาพครู
การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจดั การเรียนการสอนอยา่ งมีคณุ ภาพ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 10

1) สง่ ผลใหจ้ ดั การเรยี นการสอนดขี ึน้ ร้อยละ 85 เหมือนเดิม รอ้ ยละ 10 และลดลง
รอ้ ยละ 5
2) สง่ ผลตอ่ ความพงึ พอใจของครู โดยมีความพงึ พอใจในระดบั มาก รอ้ ยละ 80 ระดับปานกลาง

ร้อยละ 20
3) ส่งผลตอ่ การปฏบิ ัตงิ านไดต้ ามมาตรฐานทก่ี ำหนด โดยสง่ ผลในระดับมาก ร้อยละ 75 ส่งผล

ในระดับปานกลางรอ้ ยละ 20 และส่งผลในระดับนอ้ ย ร้อยละ 5

อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
การบรหิ ารจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4

ปกี ารศึกษา 2561 มีแนวโน้มผลการพฒั นาการศึกษาลดลง ในการขับเคลอ่ื นการจดั การศึกษา
มปี ัญหาและอปุ สรรค ดงั น้ี

1) โรงเรยี นในสังกดั มี 175 แหง่ เปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ 121 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ
69.14 ของโรงเรยี นทง้ั หมด โรงเรียนขนาดเลก็ มีปัญหาในการบริหารและการจัดการเรียนการสอนหลาย
ประการ เช่น งบประมาณไม่เพียงพอ ครไู ม่ครบชั้น ครูยังขาดนวัตกรรมการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมกับ
โรงเรียนขนาดเลก็ ซงึ่ เปน็ ส่วนสำคัญที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมบ่ รรลุเปา้ หมาย

2) โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษามจี ำนวน 45 แหง่ ขาดแคลนครใู นวชิ าเอก/สาขาท่ี
จำเป็นโดยเฉพาะกลุม่ สาระหลกั เชน่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เป็นต้น

3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
โดยรวมยังไมเ่ ป็นท่ีน่าพอใจและยังไมบ่ รรลุเปา้ หมาย

4) โรงเรียนบางสว่ นยงั ขาดแคลนอาคารเรยี น อาคารประกอบการ เนื่องจากเกา่ และชำรุด
ทรดุ โทรมกอ่ สรา้ งมานาน ขาดแคลนวัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
ระดบั เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
1) ควรมกี ารวิจยั การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กทมี่ ีคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับ

คณุ ภาพการศึกษาให้สูงขน้ึ และขยายผลสโู่ รงเรยี นขนาดเล็กในสงั กัดให้ท่ัวถึง
2) ควรมนี โยบายด้านการสง่ เสริม สนบั สนุน สรา้ งนวัตกรรม จดั ทำการวิจัย

เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหส้ งู ขึน้ ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะควรทำการวจิ ัยเพ่ือเร่ง
ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ชนั้ ป.3 อ่านออกเขยี นได้ทุกคน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิ
สูงข้ึนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลการประเมินสถานศึกษาไดม้ าตรฐาน

3) ควรมีการจดั อบรมสัมมนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ป็นแบบอยา่ งดา้ น
คุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชพี ทางการศึกษา และบูรณาการส่กู ารจดั กระบวนการ
เรยี นการสอนโดยมกี ารดำเนินการอยา่ งจริงจังและต่อเน่ือง

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 11

4) ควรมีมาตรการจงู ใจในการส่งเสรมิ สนบั สนุนผู้บริหาร ครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาเพ่อื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา

ระดบั สถานศึกษา
1) ผู้บรหิ ารสถานศึกษาบรหิ ารจดั การสถานศึกษาตามแผนยทุ ธศาสตร์ และแผน

ปฏบิ ัตริ าชการให้เกิดประสทิ ธิภาพ สอดคลอ้ งกบั นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำนักงานเขต
พ้นื ท่กี ารศกึ ษา

2) ครูผู้สอนปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการจดั การเรยี นรู้สูก่ ารเป็นครมู อื อาชพี เป็นครู
สอนดีใช้นวัตกรรมในการจดั การเรียนรู้ และเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ขี องครดู ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรมให้แกเ่ ดก็
เยาวชนและสังคม

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 10

สว่ นท่ี 2

ทิศทางการพัฒนาการศึกษาตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563

รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไท ย พ .ศ . 2560 ห ม ว ด 5 ห น้ า ที่ ข อ ง รั ฐ ม า ต ร า 54
บัญญัติว่า “รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ
การศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และคำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ที่ 28/2559 เรื่อง ให้จัดการศึกษาข้ัน พ้ืน ฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามนัยข้อ 3 กำหน ดว่า
“ให้ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี
ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และตามหมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 65
บัญ ญัติว่า “ให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒ นาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลัก
ธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณ าการกันเพ่ือให้ เกิด
การผลกั ดันรว่ มกันไปสเู่ ป้าหมายดังกล่าว”

อ น่ึ ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ (พ .ศ . 2560 - 2580) ป ร ะ ก า ศ ณ วั น ท่ี 8 ตุ ล า ค ม พ .ศ . 2561
ได้กำหนดวิสัยทัศน์ ในการพัฒนาประเทศ ดังนี้ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศที่
พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการ
พั ฒ น า ป ร ะ เท ศ ต า ม วิ สั ย ทั ศ น์ ไ ว้ 6 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ คื อ 1. ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ด้ า น ค ว า ม ม่ั น ค ง
2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพ ทรัพ ยากรมนุษย์ 4. ยุทธศาสตร์ชาติด้ าน การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม และ 6. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้าน
การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาตเิ ปน็ อย่างย่ิง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนา
ประเทศที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซ่ึง
เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการ
พัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพพร้อมขับเคล่ือน
การพัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคต จะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ
สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น
มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารมี วี ินยั รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดีของชาติ มีหลกั คิดทถี่ ูกตอ้ ง มีทักษะที่จำเป็น
ในศตวรรษท่ี ๒๑มที ักษะสื่อสารภาษาองั กฤษและ ภาษาท่ี ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และ
การพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย ท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 11

เกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมี สัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง” ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาประเทศไปสู่
เป้าหมาย “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุขเศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติยง่ั ยืน” สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 4 ได้นำนโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณพ.ศ. 2563 สู่การปฏิบัติ โดยมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบาย
รัฐบาลที่ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 – 26 กรกฎาคม 2562 และนโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ และมาตรการและ
แนวทางในการดำเนนิ การ ดงั น้ี

วสิ ยั ทศั น์
ภายในปี 2565 สพป.ขอนแก่น เขต 4 เป็นสำนกั งานทนั สมยั ใส่ใจคณุ ภาพตามมาตรฐาน

บนวิถพี อเพยี ง

พันธกิจ

1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน

3. พัฒ น าศักยภาพ และคุณ ภาพ ผู้เรียน ให้มีสมรรถน ะตามหลัก สูตรและคุณ ลัก ษณ ะ
ในศตวรรษท่ี 21

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา
อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เพ่ือพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0

เป้าประสงค์

1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีทัศนคติท่ีถกู ตอ้ งต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถกู ตอ้ ง และเป็นพลเมืองดีของชาติ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 12

มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์ สุจริต
มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม

2. ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และ
อื่น ๆ ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ

3. ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะ
มีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย
มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง
พลโลกที่ดี (Global Citizen) พร้อมก้าวสู่สากล นำไปสู่การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

4. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ

5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้
และจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชีพ

6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable
Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 และสถานศึกษา มีสมดุลในการ
บริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ และ
การรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา

วฒั นธรรมองค์กร : การมสี ว่ นร่วม, การทำงานเปน็ ทมี
Best : ประสิทธิภาพในการทำงาน
B = Board : จิตบริการ
E= Efficiency : ความโปรง่ ใส
S= Service Mind
T= Transparency

คา่ นิยม
“ยม้ิ งาม ถามไถ่ เต็มใจบรกิ าร”

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 13

รูปแบบการบริหหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 14

กลยุทธ์
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๔ ไดก้ ำหนดกลยุทธ์การพัฒนา

การศึกษาตามแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 6 กลยุ ทธ์ ดังน้ี
กลยุทธ์ที่ 1 เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ
กลุยทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
กลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ
มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
กลยุทธ์ท่ี 5 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
กลยุทธ์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษา

กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ
1. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดีของชาติและเป็นพลโลกท่ีดี
เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นในการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิด
ที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์
มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคมและประเทศชาติ
ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี

1.1 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม และประเมิน
สถานศึกษาตามมาตรการท่ีกำหนด

1.2 สถานศึกษา
(1) พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาก าร จัดกิจก รรมก าร เรีย น รู้เพื่อพัฒ นาผู้เรียน มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามท่ีกำหนด

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 15

(2) จัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึง
ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี
มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบ
ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และ
รักษาศีลธรรม

2. พัฒนาผู้เรียนมีความให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม
ทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง ท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ

เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการรับมือกับภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เช่น ภัยจากยาเสพติด ภัยจากความรุนแรง การคุกคามในชีวิต
และทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น ควบคู่ไปกับการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต

โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
2.1 สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม และประเมิน
สถานศึกษาตามมาตรการที่กำหนด
2.2 สถานศึกษา
(1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความ
เข้าใจเก่ียวกับภัยคุกคามท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคง ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง
การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน
และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ตลอดจนรู้จักวิธีการป้องกัน และแก้ไขหากได้รับผลกระทบจากภัยดังกล่าว
(2) มีมาตรการและแนวทางการป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
(3) จัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้มีความม่ันคงปลอดภัย
(4) มีระบบการดูแล ติดตาม และช่วยเหลือผู้เรียน ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้รับ
คำปรึกษาช้ีแนะและความช่วยเหลืออย่างทันการณ์ ทันเวลา รวมทั้งการอบรมบ่มนิสัย

กลุยทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
1. สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
1.1 ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเคร่ืองมือวัดแวว และรวบรวมเคร่ืองมือ

วัดแววจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
1.2 ส่งเสริมสนับสนุน ในการดำเนินการวัดแววความถนัดทางการเรียนของนักเรียน

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจัดกิจกรรมแนะแนวให้ผู้เรียนค้นหาตนเอง

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 16

นำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะพัฒนาต่อยอดไปสู่ความเป็นเลิศด้านทักษะอาชีพที่ตรงตาม
ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน

1.3 ศึกษา วิเคราะห์ความเหมาะสมของวิธีและกระบวนการงบประมาณ
ต้ังแต่จำนวนงบประมาณในการสนับสนุนสถานศึกษาและผู้เรียนอย่างเพียงพอ และเหมาะสม
วิธีการจัดสรร วิธีการด้านระบบบัญชี การเบิกจ่าย และการติดตาม ตรวจสอบ เป็นต้น เพื่อกระจายอำนาจให้
สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ

1.4 ส่งเสริมสนับสนุนให้ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา
จัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรม เพ่ิมศักยภาพผู้เรียนตามความถนัด ความสนใจ
และความต้องการพัฒนา ท้ังด้านวิชาการ ด้านอาชีพ และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ต้ังแต่ระดับสถานศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษา จังหวัด ภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ

1.5 กำกับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือสถานศึกษา พร้อมท้ังรายงาน
ผลการดำเนินงานต่อกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

2. สถานศึกษา
2.1 ดำเนินการวัดแววผู้เรียน และพัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนตามศักยภาพ และ

ความถนัด โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) เช่น การจัด
การเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ข้ันตอนหรือบันได 5 ขั้น (Independent Study : IS) การเรียนรู้
เชิงบูรณาการแบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and
Mathematics Education : STEM Education) เป็นต้น โดยส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform)

2.2 ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน และจัดกิจกรรม
เพ่ือพัฒนาสุขพลานามัย ให้เป็นคนท่ีสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ

2.3 สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามความสนใจ และความถนัดเต็มตามศักยภาพ

2.4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนา
เพ่ือปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
เป็นรายบุคคลตามความต้องการ และความถนัดของผู้เรียน

2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศในทักษะส่ือสารภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓ เพิ่มเติมอย่างน้อย ๑ ภาษา

2.6 ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด ประเมิน ผลการเรียนของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นการวัดประเมินตาม
สมรรถนะรายบุคคล โดยการจัดให้มีการวัดประเมินจากส่วนกลางในช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 17

2.7 สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานที่

เกี่ยวข้อง

กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1. พัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา
เป็นมาตรการสนับสนุนให้มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางให้เป็นหลักสูตรเชิงสมรรถนะ

สอดคล้องกับทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเหมาะสม
ทุกด้านท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีทักษะส่ือสารภาษาไทย
มีแนวทางดำเนินการ ดังน้ี

1.1 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
(1) พัฒนาหลักสูตรทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน (ร่างกาย จิตใจ อารมณ์

และสติปัญญา) สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
(2) ส่งเสริมให้ครูปรับเปล่ียนการจัดการเรียนรู้ “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” ผู้อำนวยการการ

เรียนรู้ ผู้ให้คำปรึกษา หรือให้ข้อเสนอแนะการเรียนรู้ และปรับระบบการวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนให้
สอดคล้องกับหลักสูตร

1.2 สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง เน้นการ
พัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล (หลักสูตรเชิงสมรรถนะ) และปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้เรียนและบริบทของพ้ืนที่

2. การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพของผู้เรียน
2.1 การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของผู้เรียนระดับปฐมวัย
เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาเหมาะสมกับวัยในทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์

สังคม และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะสื่อสารภาษาไทย และมีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ (ฟัง พูด) และทักษะ
ด้านดิจิทัล พร้อมที่จะได้รับการพัฒนาในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น โดยมีแนวทางดำเนินการ ดังน้ี

2.1.1 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
(1) จัดทำเครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย และประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ปีเว้นปี สรุปและรายงานผลต่อกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
(2) ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสถานศึกษาเพ่ือประเมินพัฒนาการเด็ก

ปฐมวัย และดำเนินการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยทั้งผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรปฐมวัย
รวมท้ังผู้ปกครอง ให้มีความรู้ความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย

(3) สนับสนุนให้สถานศึกษามีครูหรือครูผู้ช่วยด้านปฐมวัยตามมาตรฐานที่กำหนด
(4) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การจัดการศึกษาปฐมวัย แนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรู้
ใหม่ ๆ เก่ียวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย เพ่ือบริการแก่โรงเรียนและผู้สนใจ

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 18

(5) กำกับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือสถานศึกษา รวมทั้งสรุปและรายงานผลการ
ดำเนินงานต่อกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง

2.1.2 สถานศึกษา
(1) จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบท่ีหลากหลาย จัดสภาพแวดล้อม

ท้ังในและนอกห้องเรียนให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้
(2) จัดการเรียนรู้ สร้างประสบการณ์ เน้นการเรียน

เป็นเล่น เรียนรู้อย่างมีความสุข
(3) ปรับปรุงอาคารสถานท่ี สิ่งอำนวยความสะดวก

สนามเด็กเล่นให้ได้มาตรฐาน มีความปลอดภัย สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(4) จัดหาส่ือ อุปกรณ์ ท่ีมีคุณภาพเหมาะสม มีมาตรฐาน และความปลอดภัย
(5) อภิบาลเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาวะที่ดี ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจาก

โรค ภัย ไข้ เจ็บ
(6) สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพ่ือการ

มีส่วนร่วมและการสนับสนุนการดำเนินงานของสถานศึกษา
(7) สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและ

หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
2.2 การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนระดับประถมศึกษา
ผู้เรียนระดับประถมศึกษาได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ

สติปัญญา มีวินัย มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยมีแนวทางดำเนินการ ดังน้ี
2.2.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
(1) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษาจัดการศึกษา

พัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้มี
คุณลักษณะ

- เป็นไปตามหลักสูตร
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
- มีทักษะการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำสอดคล้องกับความ
ต้องการของประเทศ
- มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรม
- มีความรู้ความสามารถด้านดิจิทัล (Digital) และใช้ดิจิทัลเป็นเคร่ืองมือใน
การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 19

- มีทักษะทางด้านภาษาไทย เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ มีนิสัยรักการ
อ่าน มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3

(2) จัดทำเคร่ืองมือประเมินความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ (NT) นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๓ และดำเนินการประเมิน รวมทั้งประสานการดำเนินงานเพ่ือทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อเป็นฐานการ
พัฒนานักเรียนทุกระดับช้ัน

(3) ส่งเสริม สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาจัดกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐาน
การเรียนรู้เพื่อการวางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมและนำไปปฏิบัติได้

(4) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตาม
สมรรถนะรายบุคคลและเตรียมความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพ

(5) ดำเนินการติดตาม และตรวจสอบให้ผู้เรียนได้รับประทานอาหารอย่างครบถ้วน
ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

(6) กำกับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือสถานศึกษาในการจัดการศึกษาภาพรวม
รวมท้ังสรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง

2.2.2 สถานศึกษา
(1) จัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning)
(2) จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้ และระบบความคิดใน

ลักษณะสหวิทยาการ (STEAM Education) เช่น
- ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการตั้งคำถาม
- ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ความรู้ทางวิศวกรรม และการคิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหา
- ความรู้และทักษะในด้านศิลปะ
- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผล

และการหาความสัมพันธ์
(3) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด

และความสนใจ รวมถึงกิจกรรมการแนะแนวทั้งด้านศึกษาต่อและด้านอาชีพ เป็นการวางพื้นฐานการเรียนรู้
การวางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมและนำไปปฏิบัติได้

(4) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานในการ
ดำรงชีวิต มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข

(5) จัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional
Learning : SEL)

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 20

(6) จัดการเรียนการสอนเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเป็นข้ันตอน (Coding)
(7)ดำเนินการให้ผู้เรียนได้รับประทานอาหารอย่างครบถ้วนถูกต้องตามหลักโภชนาการ
เป็นไปด้วยความถูกต้องตามระเบียบและวินัยการคลัง
(8) สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้อง
2.3 การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา
ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
มีทักษะด้านภาษาไทยเพื่อใช้ในการเรียนรู้ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 มีความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำ นำไปสู่
การมีทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด
สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ภายใต้สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม มีทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต
มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข โดยมีแนวทางดำเนินการ ดังนี้

2.3.1 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
(1)ส่งเสริม สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาจัดการศึกษา

เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มี
ความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ภายใต้สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม ให้มี
คุณลักษณะ

- เป็นไปตามหลักสูตร
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 เพ่ือใช้เป็น
เครื่องมือในการประกอบอาชีพ
- มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรม
- มีความสามารถด้านดิจิทัล (Digital) และใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
- มีทักษะทางด้านภาษาไทย เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3
(2) ประสานการดำเนินงานเพ่ือทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อเป็นฐานการพัฒนานักเรียนทุกระดับช้ัน

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 21

(3) ส่งเสริม สนับสนุน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาจัดกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐาน
การเรียนรู้เพื่อการวางแผนชีวิตและ วางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมและนำไปปฏิบัติได้

(4) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตาม
สมรรถนะรายบุคคลและเตรียมความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพ

(5) จัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพิ่มศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และทักษะ
ด้านวิทยาศาสตร์ เป็นนักคิด นักปฏิบัติ นักประดิษฐ์ เป็นนวัตกร นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมในอนาคต
รวมทั้งจัดกิจกรรมกีฬา การออกกำลังกาย และสนับสนุนให้ผู้เรียน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของ
ตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

(6) กำกับ ติดตาม และให้ความช่วยเหลือสถานศึกษา
2.3.2 สถานศึกษา

(1) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง
(Active Learning)

(2) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ข้ันตอน หรือบันได 5 ขั้น
(Independent Study : IS)

(3) ส่งเสริม สนับสนุนครูให้จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้
และระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ (STEAM Education) เช่น

- ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการตั้งคำถาม
- ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ความรู้ทางวิศวกรรม และการคิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหา
- ความรู้และทักษะในด้านศิลปะ
- ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผลและการหาความสัมพันธ์
(4) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เป็นนักคิด นัก
ปฏิบัติ นักประดิษฐ์ เป็นนวัตกร นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมในอนาคตรวมท้ังจัดกิจกรรมกีฬา การออกกำลัง
กาย และสนับสนุนให้ผู้เรียน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชีวิต
อย่างมีความสุขท้ังด้านร่างกายและจิตใจ เมื่อถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถวางแผนการศึกษาต่อหรือ
การประกอบอาชีพได้ตามความถนัด ความต้องการ และความสนใจของตนเอง
(5) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional
Learning : SEL)
(6) สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและหน่วยงาน
ที่เก่ียวข้อง
2.4 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีความต้องการดูแลเป็นพิเศษ

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 22

เป็นการจัดการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ใน
รูปแบบที่หลากหลาย เหมาะสมกับบริบท และความต้องการจำเป็นพิเศษเฉพาะบุคคล
โดยแนวทางการดำเนินการ

(1) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงสำหรับ
เด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส

(2) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา รวมท้ังการพัฒนา
หลักสูตร และสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสในรูปแบบที่หลากหลาย
เหมาะสมกับบริบท และความต้องการจำเป็นพิเศษเฉพาะบุคคล

(3) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม
(Early Intervention : EI)

(4) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สนับสนุนทรัพยากร และจัดสรรงบประมาณด้าน
การศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทและความต้องการจำเป็นพิเศษ

(5) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมให้สถานศึกษานำระบบเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจัดการ การให้บริการ และการเรียนรู้

(6) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ปรับปรุงเกณฑ์อัตรากำลังครูและบุคลกรให้มีความ
เหมาะสมกับภารงานในการจัดการศึกษาพิเศษ และเด็กด้อยโอกาส

(7) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนาผู้บริหาร ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทักษะ ประสบการณ์ มีเจตคติท่ีดีต่อการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการและ
เด็กด้อยโอกาส

(8) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พัฒนาระบบการให้บริการเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความ
สะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษาท่ีสอดคล้อง
กับความต้องการจำเป็นพิเศษ

(9) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สนันสนุนการพัฒนาภาคีเครือข่าย (Education
Partnership) ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส

3. นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนทุก
ระดับการจัดการศึกษา

เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนา
วิธีการเรียนรู้ของตนเอง ตามความต้องการ และความถนัด ของผู้เรียนสามารถสร้างสังคมฐานความรู้
(Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
โดยแนวทางการดำเนินการ ดังนี้

3.1 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 23

(1) จัดหา พัฒนา ข้อมูลองค์ความรู้ สื่อ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ หนังสือ
แบบเรียนในรูปแบบของดิจิทัลเทคบุ๊ค (Digital Textbook) ตามเนื้อหาหลักสูตรที่กำหนด

(2) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform) เพื่อ
ตอบสนองต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล

(3) ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital device) เพ่ือเป็นเคร่ืองมือใน
การเข้าถึงองค์ความรู้ และการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล อย่างเหมาะสมตามวัย

(4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียน
เรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล

3.2 สถานศึกษา
(1) ประยุกต์ใช้ข้อมูลองค์ความรู้ สื่อ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ

หนังสือแบบเรียนในรูปแบบของดิจิทัลเทคบุ๊ค (Digital Textbook) ตามเน้ือหาหลักสูตรท่ีกำหนด
(2) จัดการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform)

เพ่ือตอบสนองต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
(3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง

ผ่านการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล
4. การพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพครู จึงต้องดำเนินการตั้งแต่การผลิต และการพัฒนาครูอย่างต่อเน่ือง

โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องร่วมมือกับสถาบันการผลิตครู ในการผลิต และพัฒนาครู
ให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ มีการดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการ
พัฒนา ศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเน่ืองครอบคลุมทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อ
การสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึงการพัฒนาครูท่ีมีความ
เช่ียวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และประเมินครูจากการวัดผลงานการพัฒนา
ผู้เรียนโดยตรง

4.1 การผลิตครูท่ีมีคุณภาพ
การผลิตครูที่มีคุณภาพ เป็นมาตรการการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการผลิตครู ให้

ผลิตครูท่ีมีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง และเป็นต้นแบบด้านคุณธรรมและ
จริยธรรม โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้

(1) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สร้างความร่วมมือกับสถาบันการผลิตครู วิเคราะห์
ความขาดแคลน ความต้องการครูของสถานศึกษา

(2) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ร่วมมือกับสถาบันการผลิตครูวางแผนวิเคราะห์
หลักสูตรให้สอดคล้องกับแผนความต้องการ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 24

(3) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ท่ีมีทัศนคติท่ีดีต่ออาชีพครูเข้ารับการศึกษากับสถาบันการผลิตครู

(4) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ติดตาม และประเมินผล การผลิตครูอย่างเป็นระบบ
4.2 พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา

การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นมาตรการท่ีสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จะต้องดำเนินการเพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญในอาชีพ
และหน้าที่ของตน โดยพัฒนาให้เป็นครู เป็นครูยุคใหม่ ปรับบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรือ
“ผู้อำนวยการการเรียนรู้” ปรับวิธีสอน ให้เด็กสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนเรียนรู้ และทำกิจกรรม
ในช้ันเรียน ทำหน้าที่กระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ แนะนำวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบ
กิจกรรม และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อ
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี

(1) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ครู ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการ
จำเป็นในการพัฒนาตนเอง(Need Assessment) เพื่อวางแผนการพัฒนาอย่างเป็นระบบและครบวงจร

(2) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดให้มีหลักสูตรและกรอบแนวทางในการพัฒนาครู ท่ี
เช่ือมโยงกับความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Path)

(3) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุ
พัฒนา หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ จัดทำหลักสูตรการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ตรงตามความต้องการ
และความขาดแคลน

(4) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาวางแผนและเข้า
รับการพัฒนาตามหลักสูตร
ท่ีกำหนดที่เชื่อมโยงความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Path)

(5) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)

(6) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริม และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มี
ความรู้ทักษะด้านการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) การสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ ทักษะสื่อสารภาษาท่ี ๓ สอดคล้องกับภารกิจและหน้าท่ีของตน

(7) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม พัฒนา และยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครูท่ี
สอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (Common European Framework of
Reference for Languages : CEFR) ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด

(8) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูให้สามารถออกแบบการเรียนรู้ การ
จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการวัดประเมินผลท่ีเน้นทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) ผ่าน
กิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning)

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 25

(9) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการจัดการ
เรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่มีความแตกต่าง (Differentiated Instruction)

(10) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการสร้าง
เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking)

(11) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้มีความรู้ความสามารถจัดการ
เรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(12) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่
มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพิการ

(๑๓) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาพัฒนา
ตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face - to - Face Training

(14) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ปรับปรุงระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน
ประสิทธิภาพและประเมินประสิทธิผลครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับความมุ่งหมาย และ
หลักการจัดการศึกษาข้อกำหนดด้านคุณภาพ และแผนการศึกษาแห่งชาติ

(15) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเป็น
เคร่ืองมือในการบริหารจัดการครูและบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ ตั้งแต่การจัดทำฐานข้อมูลครูและ
บุคลากรทางการศึกษา จนถึงการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี

1) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผ่านระบบดิจิทัล เพ่ือใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครูและ
บุคลากรทางการศึกษาทุกประเภททั้งระบบ

2) พัฒนาหลักสูตร เน้ือหาดิจิทัล (Digital Content) ในสาขาท่ีขาดแคลน เช่น การ
พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง การจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ และผู้เรียนท่ีมีความ
แตกต่าง เป็นต้น

3) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเน่ืองผ่านระบบดิจิทัล

4) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล ระบบบริหารจัดการผู้บริหาร
ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภททั้งระบบ

5) พัฒนาครูให้มีความชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษา คอมพิวเตอร์
(Coding)

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 26

กลยุทธ์ท่ี 4 เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพมีมาตรฐานและลดความเหลื่อมล้ำ
ทางการศึกษา
1. สร้างความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถ่ิน ภาคเอกชน หน่วยงาน

ที่เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี
โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.1 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
(1) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน

หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ตลอดจนการกำกับ ติดตาม และ
ประเมินผล

(2) จัดทำฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน เพ่ือเก็บรวบรวม เชื่อมโยงข้อมูล
ศึกษา วิเคราะห์ เพ่ือวางแผนการจัดบริการการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

1.2 สถานศึกษา
(1) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนที่ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และภาคเอกชน วาง
แผนการจัดการศึกษาให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่รับผิดชอบ
(2) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน เอกชน และหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องระดับพ้ืนท่ี จัดทำแผนการรับนักเรียนทุกระดับ ต้ังแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา
(3) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี จัดทำสำมะโนประชากรวัยเรียน
(อายุ 0-6 ปี) เพื่อในไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษา
(4) รว่ มกับองคก์ รปกครองระดบั พ้นื ที่ ตดิ ตาม ตรวจสอบ เด็กวยั เรียนได้เข้าถึง
บริการการเรียนรู้ได้อย่างทั่วถึงครบถ้วน
(5) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนที่ ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคส่วน
บริหารจัดการทรัพยากรในชุมชนให้สามารถใช้ร่วมกับได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(6) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ จัดอาหาร อาหารเสริม (นม)
ให้ผู้เรียนอย่างเพียงพอ มีคุณภาพ
(7) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี สนับสนุนให้ผู้เรียนท่ีอยู่ห่างไกล
ได้เดินทางไปเรียนอย่างปลอดภัยทั้งไปและกลับ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 27

2. การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภท ให้มีคุณภาพ และมาตรฐานตาม
บริบทของพ้ืนที่ โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้

(1) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จัดทำมาตรฐานสถานศึกษาให้มีคุณภาพในด้าน
ต่าง ๆ เช่น 1) มาตรฐานด้านโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอำนวยความสะดวก 2) มาตรฐานด้านครูและ
บุคลากรทางการศึกษา 3) มาตรฐานด้านระบบความปลอดภัยของสถานศึกษา 4) มาตรฐานด้าน
เทคโนโลยีดิจิทัล Digital Technology เป็นต้น การกำหนดมาตรฐานสถานศึกษาด้านต่าง ๆ ดังกล่าวให้
พิจารณาตามบริบทของสภาพทางภูมิศาสตร์ ประเภท และขนาดของสถานศึกษา เป็นสำคัญ

(2) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาสถานศึกษาระดับตำบล
ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด โรงเรียนขนาดเล็ก และสถานศึกษาประเภทอ่ืน ให้มีคุณภาพ และตาม
มาตรฐานที่กำหนด โดยเน้นสถานศึกษาระดับตำบล โรงเรียนขนาดเล็กในพ้ืนที่ห่างไกล และโรงเรียน
ขนาดเล็กตามโครงการพิเศษ

(3) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ในการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินสถานศึกษาในทุกมิติ

3. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรียนทุกกลุ่ม และสถานศึกษาทุกประเภท อย่าง
เหมาะสม และเพียงพอ

เป็นมาตรการเพื่อการลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงการบริการ
การศึกษาที่มีคุณภาพ โดยการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพื่อให้เด็กวัยเรียนทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัย
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา อย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง โดยคำนึงถึงความ
จำเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้งของสถานศึกษา จัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติม
เพ่ือช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษให้เหมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ และจัดสรร
งบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาอย่างเหมาะสม และเพียงพอ

โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
(1) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ ความเหมาะสมของ

งบประมาณในการสนับสนุนให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา อย่างเหมาะสม และเพียงพอ สอดคล้องกับ
สถานภาพและพ้ืนท่ี

(2) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำแผน
งบประมาณการศึกษาอย่างอิสระ โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้องในพ้ืนท่ีประกอบการจัดทำแผน
งบประมาณก่อนเสนอหน่วยงานต้นสังกัด

(3) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประสานความร่วมมือกับกองทุนความเสมอภาค
ทางการศึกษา เพื่อจัดสรรงบประมาณให้เด็กวัยเรียนกลุ่มขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้ำ

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 28

ทางการศึกษา
(4) สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนุน สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา

สนับสนุนกระบวนการจัดทำแผนงบประมาณ และติดตาม กำกับการใช้จ่ายงบประมาณของสถานศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส

4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เป็นเคร่ืองมือในการ
พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี

(1) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบโครงข่าย
ส่ือสารโทรคมนาคมท่ีมีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยสูง

(2) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษามีระบบ
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาทักษะด้านการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy)
แก่ผู้เรียน

(3) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาปรับปรุงพัฒนา
ห้องเรียนให้เป็นห้องเรียนท่ีประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ในการจัดการเรียนรู้แก่
ผู้เรียน

(4) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital
Device) สำหรับผู้เรียนทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาอย่างเหมาะสม เพ่ือ
เป็นเครื่องมือในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองนำไปสู่การสร้างการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต

(5) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital
Device) และพัฒนาการสอนทักษะดิจิทัล (Digital Pedagogy) สำหรับครูอย่างเหมาะสม เพ่ือเป็น
เคร่ืองมือในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(6) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาใช้เทคโนโลยี
การเรียนการสอนทางไกล เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (Distance Learning Technology: DLT)

กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
1. จัดทำ Road Map และแผนปฏิบัติการเพื่อจัดแนวทางการดำเนินทางการให้องค์

ความรู้และสร้างจิตสำนึกด้านการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2. จัดทำคู่มือและพัฒนาส่ือนวัตกรรมในรูปแบบ QR CODE และส่ือระบบ Multimedia

และอ่ืน ๆ
3. จัดทำเกณฑ์การประกวดโรงเรียนคาร์บอนต่ำและชุมชนคาร์บอนต่ำและพัฒนา

วิทยากรให้ความรู้เร่ืองวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA) สู่สังคมคาร์บอนต่ำ
4. พัฒนาวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนและจัดทำหน่วยการเรียนรู้ในเร่ือง

การผลิตและบริโภคท่ีเป็นกับสิ่งแวดล้อมต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต้ังแต่ระดับปฐมวัย

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 29

จนถึงระดับมัธยมศึกษา และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการเก็บข้อมูลการลดก๊าซที่มีผล
ต่อปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ในรูปแบบการเปรียบเทียบและ
การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน Carbon emission /Carbon
Footprint ในสถานศึกษาสู่ชุมชน

5. จัดจ้างผู้เช่ียวชาญในการจัดทำ Road Map เป็นท่ีปรึกษาในการดำเนินการตาม
แผนปฏิบัติการโรงเรียนคาร์บอนต่ำสู่ชุมชนคาร์บอนต่ำ

6. พัฒนาต่อยอดและขยายผลศูนย์การเรียนรู้ลดใช้พลังงาน การจัดการขยะ
และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

7. พัฒนาเครื่องมือ และ กระบวนการให้ความรู้และแนวทางการจัดการเรียนรู้ กิจกรรม
เร่ืองการผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมใน

8. จัดสรรงบประมาณดำเนินการตาม Road map และแผนปฏิบัติการ
เพ่ือดำเนินการต่อยอดขยายความรู้และสร้างเครือข่ายโรงเรียน ชุมชน และเช่ือมต่อหน่วยงานท้ังภาครัฐ
และเอกชน

9. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนากระบวนการรณรงค์ให้มีการจัดซื้อจัดจ้างท่ีเป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อมและยกระดับสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวและสถานศึกษาที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม (Green office)

10. พัฒนา ยกระดับสถานศึกษานำร่องขยายผล ส่งสถานศึกษาต้นแบบ
ด้านการพัฒนา ด้านการผลิต และบริโภค ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระบบ เช่น การเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์
เบอร์ 5 และผลิตภัณฑ์ท่ีมีฉลากและสัญลักษณ์เบอร์ 5 เพ่ือลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและลดปริมาณ
ขยะในสำนักงานและสถานศึกษา

11. ส่งเสริมการพัฒนาสื่อนวัตกรรม และบูรณาการสาระการเรียนรู้และแผนการจัดการ
เรียนรู้เร่ืองการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ

12. ขยายผลผ่านระบบ DLTV ส่งเสริมความรู้เรื่อง การผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อมต่อความปลอดภัย และสุขภาพที่ดีสู่สังคมเมืองเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและ
ส่ิงแวดล้อมท่ีดีและการเลือกผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและฉลากท่ีแสดงสัญลักษณ์ท่ี
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม

13. พัฒนานวัตกรรมโดยใช้กระบวนการ BBL/PLC และ Decision – Making
การนำขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบผลิตภัณฑ์และพลังงานและลดประมาณขยะ การบำบัดน้ำเสีย
ลดการใช้เผาและลดใช้สารเคมี สู่โรงเรียนปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

14. ขยายผลจากโรงเรียนคาร์บอนต่ำสู่ชุมชนเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและ
สิ่งแวดล้อมดี Green city ด้านพลังงาน การจัดการขยะและน้ำเสีย ชุมชนผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อม

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 30

15. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้นักเรียน โรงเรียนได้ศึกษา เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
โรงงานอุตสาหกรรม การผลิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ชุมชนเมืองนิเวศ และหน่วยงานส่งเสริม
การบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือนำความรู้มาประยุกต์ใช้และจัดทำโครงงานด้านการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม

16. ส่งเสริมแนวทางการจัดการเรียนรู้อาชีพท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมในสถานศึกษา จัด
ค่ายเยาวชนวัยซนลดคาร์บอนเพื่อโลก ประกวดชุมชนต้นแบบที่นำความรู้จากโรงเรียนต่อยอด
สู่ชุมชนนิเวศ ปลอดขยะ ปลอดสารพิษเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม

17. จัดทำระบบนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานในสถานศึกษาท้ังในระบบออนไลน์และ
นิเทศเชิงคุณภาพพัฒนาการกรอกข้อมูลระบบการนิเทศติดตาม แลกเปล่ียนนำเสนอผลงาน
และมอบรางวัลเกียรติยศ ประชาสัมพันธ์และจัดพิมพ์ เว็บไซต์ ผลงานเพื่อเผยแพร่และเป็นต้นแบบ
สรุปผลรายงาน

กลยุทธ์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษา
1. ให้สถานศึกษา หรือ กลุ่มสถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารจัดการศึกษา
เป็นมาตรการกระจายอำนาจให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษามีความเป็นอิสระ

ในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการ
บริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยดำเนินการเป็นรายสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา
อาจดำเนินการเป็นรายด้านหรือทุกด้านได้โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้

(1) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ หลักเกณฑ์ รูปแบบ หน้าที่ อำนาจ
และโครงสร้างการกำกับดูแลของสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา

(2) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ หน้าที่และอำนาจ องค์ประกอบ
จำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาการเลือกประธานและกรรมการ คณะกรรมการ
สถานศึกษาของสถานศึกษา หรือของกลุ่มสถานศึกษา โดยให้คำนึงถึงหลักธรรมาภิบาลและความเป็นอิสระ
ของสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา ให้มีความหลากหลายและความแตกต่างของสถานศึกษารวมถึงความ
ต้องการและข้อจำกัดของแต่ละพื้นท่ี

(3) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา
จัดหาเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีสนับสนุนงานด้านธุรการ ด้านการเงิน การบัญชีและพัสดุ และด้าน
บริหารงานบุคคล เพื่อมิให้งานดังกล่าวเป็นภาระท่ีเกินสมควรแก่ครู ผู้ปฏิบัติหน้าที่การจัดการเรียนรู้ให้แก่
ผู้เรียน

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 31

(4) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อปฏิบัติ
ให้สอดคล้องกับการกระจายอำนาจให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจัด
การศึกษา

(5) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติการและดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระในการบริหารจัดการศึกษา

(6) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนขนาดเล็ก ให้มีระบบ
การบริหารจัดการที่หลากหลาย เช่น การบริหารจัดการแบบกลุ่มโรงเรียน การสอนแบบบูรณาการ คละช้ัน
เป็นต้น

(7) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของ
ทุกคนในชุมชน เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต

(8) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา นำผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการวาง
แผนการปฏิบัติการตรวจสอบติดตามเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพและเป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษา

(9) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ
และพัฒนารูปแบบการระบบบริหารจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาให้สถานศึกษามีอิสระ ในการ
บริหารจัดการศึกษา

(10) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จัดอบรม พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีคุณสมบัติ
สมรรถนะ และความรู้ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ท่ีจำเป็นสำหรับการปฏิบัติหน้าท่ี

(11) สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษาได้รับการกระจายอำนาจให้อย่างเป็นอิสระ
ในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ
ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยดำเนินการเป็นรายสถานศึกษา
หรือกลุ่มสถานศึกษา อาจดำเนินการเป็นรายด้านหรือทุกด้านได้

(12) สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อทำหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแลกิจการและการประกันคุณภาพของสถานศึกษา

2. พัฒนาสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นหน่วยงานมีความทันสมัยอย่างมี
ประสิทธิภาพ

เป็นมาตรการในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงานของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัย พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา มีความโปร่งใส
ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป็นหน่วยงานที่มีหน้าท่ีสนับสนุน
ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 32

(1) ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุง และพัฒนาสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้เป็น
หน่วยงานท่ีทันสมัย มีหน้าท่ี สนับสนุน กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล สถานศึกษา เพ่ือการ
บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล

(2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ใช้ระบบการบริหารจัดการ
ที่มุ่งเน้นคุณธรรมและความโปร่งใสในการทำงานตามหลักการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)

(3) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานำนวัตกรรม และ
เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารงาน

(4) ส่งเสริมการบริหารจัดการเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน
(Area-based Management) รูปแบบการบริหารแบบกระจายอำนาจ “CLUSTERs”

(5) ส่งเสริม การมีส่วนร่วม จัดทำแผนบูรณาการจัดการศึกษาในระดับพ้ืนท่ี
(6) สรา้ งความเข้มแขง็ ในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษารปู แบบเครอื ข่าย
เช่น เครือขา่ ยสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษา ศูนย์พฒั นากลุ่มสาระการเรยี นรู้ สหวิทยาเขต
กลุ่มโรงเรยี น ฯลฯ
(7) ส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นของสังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาแบบบูรณาการ
ทีต่ อบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพน้ื ที่
(8) ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ให้มีความรู้ ความ
เข้าใจ และมีส่วนร่วมรับผิดชอบ (Accountability) ในการบริหารจัดการศึกษา
(9) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากร
เพื่อการศึกษา
3. ปฏิรูปการคลังด้านการศึกษา เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา โดย
การจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน และสถานศึกษา
เป็นมาตรการที่เน้นการนำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการจัดสรร
งบ ป ร ะ ม าณ อุด ห น ุน ผู้เรีย น ท ุก ค น ส อ ด ค ล้อ ง ก ับ ย ุท ธ ศ าส ต ร์ช าติที ่ต้อ ง ก าร ป ฏ ิรูป ก าร ค ลัง
โดยการจัดสรรงบประมาณตรงไปยังผู้เรียน เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) จะเป็นเครื่องมือสำคัญ
ในการดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าว โดยสามารถพิสูจน์ตัวตนของผู้เรียนที่รับจัดสรร
งบประมาณได้อย่างถูกต้อง ลดความซ้ำซ้อนในการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนผู้เรียน สามารถกำหนดเงื่อนไข
ก ารจัดสรรงบ ป ระม าณ ให้แก่ผู้เรียน ก ลุ่มต่าง ๆ ได้อ ย่างถูก ต้อ ง และ สามารถเชื่อ ม โยงข้อ มูล
กับระบบธนาคาร ในการจัดสรรงบประมาณตรงไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการงบประมาณ
อุดหนุนผู้เรียนและสถานศึกษาโดยตรง

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 33

(2) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพื่อพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการงบประมาณอุดหนุนผู้เรียนและสถานศึกษาโดยตรง

(3) พัฒนาและประยุกต์ใช้ ระบบไบโอเมทริกซ์ (Biometric) ในการพิสูจน์ตัวตน
ของผู้เรียน เพ่ือลดความซ้ำซ้อนในการจัดสรรงบประมาณ โดยจะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลนักเรียน
รายบุคคล กับกระทรวงมหาดไทย

(4) พัฒนาระบบเบิกจ่ายงบประมาณอุดหนุนตรงไปยังผู้เรียน และสถานศึกษา โดย
ผ่านระบบธนาคาร

4. พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) และระบบการทำงาน
ที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้
ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารอย่างเป็นระบบ นำไปสู่การนำเทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
(Big Data Technology) เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ข้อมูลผู้เรียน ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา
ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอื่น ๆ ที่จำเป็น มาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้
เพื่อพัฒ นาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูล
ใน การวางแผน การพัฒ น าทรัพ ยากรมนุษ ย์ขอ งป ระเทศ น ำ Cloud Technology ม าให้บ ริก าร
แก่หน่วยงานทุกระดับทั้งระดับ IaaS PaaS และ SaaS และพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform)
ระบบบริหารงานสำนักงาน เช่น ระบบแผนงานและงบประมาณ ระบบบัญชี ระบบพัสดุ ระบบสารบรรณ เป็น
ต้น เพื่อเจ้าหน้าที่สามารถใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่ืองโยงกันทั้งองค์กร

โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
(1) ศึกษา วิเคราะห์ นำ Cloud Technology มาให้บริการหน่วยงานในสังกัดทุก
ระดับท้ังในรูปแบบ Private Cloud Hybridge Cloud และ public Cloud ท้ังในระดับ IaaS Paas
และ SaaS
(2) ศึกษา วิเคราะห์ นำ Big Data Technology มาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลของ
นักเรียนในฐานข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือนำมาวิเคราะห์ คุณภาพของผู้เรียนในมิติต่าง ๆ

(3) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพื่อสนับสนุนภารกิจ
ด้านบริหารจัดการศึกษาท้ังระบบพร้อมให้บริการ (Services) เช่ือมโยงข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนและบูรณาการ
ข้อมูลภาครัฐท้ังภายในและนอกสังกัดอีกทั้งยังเป็นระบบกลางสำหรับใช้ในการพิสูจน์ยืนยันตัวตนเดียว
และรองรับการทำงานร่วมกับแพลตฟอร์มดิจิทัลต่าง ๆ

(4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษย์ด้านการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ท่ีสามารถเช่ือมโยง และบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างกระทรวง
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยการเช่ือมโยงข้อมูลรายบุคคลที่เก่ียวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 34

สุขภาพและการพัฒนาอาชีพในตลอดช่วงชีวิต เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยที่มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง และศักยภาพบุคคลของประเทศ นำไปสู่
การตัดสินใจระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ

(5) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน และ
บุคลากรทางการศึกษา ด้านการบริหารงาน เชื่อมโยงถึงการพัฒนาครู เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าใน
อาชีพ ตลอดจนพัฒนา ระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคลตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนจบการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ที่สามารถเช่ือมโยงกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง นำไปสู่การพัฒนาฐานข้อมูลประชากรด้านการศึกษา
ของประเทศ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

P a g e | 35

ตัวช้ีวัด/เป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 4

เป้าหมาย
กลยุทธ์ ตวั ชวี้ ดั ปีงบประมาณ

พ.ศ.2563 ( ร้อยละ)

กลยทุ ธท์ ี่ 1 1. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรัก 100
เพม่ิ ประสิทธิภาพ ในสถาบันหลักของชาติยึดมั่นการปกครองระบอบ
การจัดการศึกษา ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 100
เพื่อความมน่ั คง 2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมี 100
ของมนษุ ย์ ทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้องเป็นพลเมืองดี 100
และของชาติ ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มี
คุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อ
ครอบครัว ผู้อ่ืน และสังคมโดยรวม ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์
อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม
3. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความ
พร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ีมีผลกระทบ
ต่อความม่ันคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การ
คุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซ
เบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น
4. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพ้ืนที่เฉพาะกลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่ม

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 36

ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดาร เช่น 100
พ้ืนที่สูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการ 100
บริการด้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีมีคุณภาพ และเหมาะสม
ตรงตามความต้องการ สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี
5. จำนวนสถานศึกษาท่ีน้อมนำพระบรมราโชบายด้าน
การศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสิ
นทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกำหนดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
6. จำนวนสถานศึกษาที่จัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัด

กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรักในสถาบัน

หลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มี

หลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม

ตวั ช้วี ัด/เปา้ หมาย ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 4

เปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ ตัวชี้วดั ปีงบประมาณ

พ.ศ.2563 ( รอ้ ยละ)

กลยทุ ธท์ ี่ 2 7.จำนวนผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะ 100
ส่งเสริมการจัด ความรู้ที่สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ 100
การศึกษาเพื่อเพ่ิม 8.ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาผ่านการประเมินสมรรถนะท่ี 100
ความสามารถในการ จำเป็นด้านการรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy)
แข่งขันของประเทศ ด้านการรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
และด้านการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
ตามแนวทางการประเมิน PISA
9.ร้อยละของผู้เรียนที่มีศักยภาพได้รับโอกาสเข้าสู่เวที

การแข่งขันระดับนานาชาติ

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 37

กลยุทธท์ ่ี 3 10. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร มี 100
ส่งเสริมการพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) 60
และเสริมสร้าง 11. ร้อยละของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่มีคะแนน 60
ศักยภาพทรัพยากร ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ (NT) 80
มนุษย์ ผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนด
12. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทาง 100
การศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) มากกว่าร้อย
ละ ๕๐ ในแต่ละวิชาเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา 100
13. ร้อยละผู้เรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพ
และการมีงานทำ ตามความถนัดและความต้องการของ
ตนเอง มีทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของ
ประเทศ วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสม
และนำไปปฏิบัติได้
14. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต สามารถ
ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความยืดหยุ่น
ทางด้านความคิด สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ภายใต้
สังคมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม
15. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของ
ตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
ท้ังด้านร่างกายและจิตใจ

ตวั ช้วี ัด/เปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 4

เปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ ตัวชี้วดั ปีงบประมาณ

พ.ศ.2563 ( รอ้ ยละ)

กลยุทธ์ท่ี 4 16. ครู มีการเปล่ียนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น 100
เพ่ิมโอกาสในการ “Coach” ผู้ให้คำปรึกษาข้อเสนอแนะการเรียนรู้หรือ 100
เข้าถึงบริการ ผู้อำนวยการการเรียนรู้
17. ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาท่ีมี

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแก่น เขต 4

การศึกษาที่มีคุณภาพ คุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกัน P a g e | 38

มีมาตรฐานและลด 18. ผู้เรียนทุกคนได้รับจัดสรรงบประมาณอุดหนุนอย่าง 100
ความเหลื่อมล้ำ เพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง
ทางการศึกษา โดยคำนึงถึงความจำเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพ 100
ทางเศรษฐกิจ และท่ีต้ังของสถานศึกษา และความ 100
100
ต้องกมาีมราจตำรเปฐา็นนพแิเลศะษลสดำคหวราับมผเหู้พลิก่ือามรล้ำทางการศึกษา 100
19. ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และ 100
100
อุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือใน

การเรียนรู้อย่างเหมาะสม เพียงพอ

20. ครูได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์

ดิจิทัล (Digital Device) เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

21. สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานอย่าง

เหมาะสมตามบริบท ด้านประเภท ขนาด และพื้นท่ี

22. สถานศึกษานำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital

Technology) มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

23. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครอง

นักเรียนและการแนะแนวท่ีมีประสิทธิภาพ

24. สถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน

และสามารถนำมาใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ให้แก่

ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตวั ชี้วัด/เปา้ หมาย ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 4
กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ดั เปา้ หมาย
ปงี บประมาณ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4

P a g e | 39

พ.ศ.2563 ( รอ้ ยละ)

กลยุทธท์ ่ี 5 25. สถานศึกษาในสังกัดมีนโยบายและจัดกิจกรรมให้ 100
ส่งเสริมการจัด ความรู้ ท่ีถูกต้องและสร้างจิตสำนึกด้านการผลิตและ
การศึกษาเพ่ือพัฒนา บริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมนำไปปฏิบัติใช้ท่ีบ้าน 100
คุณภาพชีวิตท่ีเป็น และชุมชน เช่น การส่งเสริมอาชีพที่เป็นมิตรกับ 100
มิตรกับส่ิงแวดล้อม ส่ิงแวดล้อม การลดใช้สารเคมีจากปุ๋ยและยาฆ่าแมลง 100
ฯลฯ 100
26. สถานศึกษามกี ารนำขยะมาใชป้ ระโยชน์ในรปู ผลิตภณั ฑ์และ 60
พลังงานเพอื่ ลดปรมิ าณขยะและมีส่งเสริมการคัดแยกขยะใน 60
ชุมชนเพ่ือลดปริมาณคาร์บอนท่ีโรงเรียนและชุมชน
27. สถานศึกษามีการบูรณาการเร่ืองการจัดการขยะ
แบบมีส่วนร่วมและการนำขยะมาใช้ประโยชน์รวมท้ัง
สอดแทรกในสาระการเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้อง
28. นักเรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่ง
เรียนรู้ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้ด้านการลดใช้
พลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมเพ่ือเป็น
แหล่งเรียนรู้ และตัวอย่างรูปแบบผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว ฯลฯ
29. นักเรียน สถานศึกษามีการเก็บข้อมูลเปรียบเทียบการ
ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซต์ ในการดำเนินกิจกรรม
ประจำวันในสถานศึกษาและท่ีบ้าน และข้อมูลของ
Carbon Footprint ในรูปแบบ QR CODE
และ Paper less
30. ครู มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม และดำเนินการจัดทำงานวิจัยด้านการสร้าง
สำนึกด้านการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ได้
31. ครู และนักเรียนสามารถนำสื่อนวัตกรรมที่ผ่าน
กระบวนการคิดมาประยุกต์ใช้ในโรงเรียนการจัดการ
เรียนรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและชุมชนได้
ตามแนวทาง Thailand 4.0

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพป.ขอนแกน่ เขต 4


Click to View FlipBook Version