The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบประวัติและผลงานรางวัลครูผู้สอนดีเด่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nutchamas.sa, 2023-09-25 08:39:15

แบบประวัติและผลงานรางวัลครูผู้สอนดีเด่น

แบบประวัติและผลงานรางวัลครูผู้สอนดีเด่น

คำนำ เนื ่องจากสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้จัดทำรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๖ เพื่อ ส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติครูผู้สอนดีเด่นให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครูทั่วไป สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนา คุณภาพการจัดการ เรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง สร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ครูผู้สอนดีเด่นให้เกิด การพัฒนาตนเองและ มีคุณภาพ ในการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้ที ่ส ่งผลต ่อคุณภาพ ของผู้เรียนและเปิดโอกาสให้ผู้ได้รับรางวัลได้แลกเปลี ่ยนเรียนรู้และถ ่ายทอด ประสบการณ์ทางวิชาชีพ ข้าพเจ้าในนามผู้นำเสนอผลงานเพื่อขอรับรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๖ ใน ครั้งนี้ จึงได้ออกแบบการจัดการเรียนการสอนโดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติ โดยการบูรณาการผ่านฐานการเรียนรู้ มุ่งสู่โรงเรียนสุจริต โดยมุ่งหวัง ในการดำเนินการพัฒนาให้นักเรียนเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้จักการวิเคราะห์ปัญหา บนพื้นฐานของความรู้และคุณธรรม จริยธรรม ความดีป้องกันการทุจริต เพื่อที่จะสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะอยู่ อย่างพอเพียง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงสุด โดยเป็นการสร้างองค์ความรู้ จากการลงมือปฏิบัติจริง มิใช ่เพียงแค ่การฟังหรือรับความรู้จากผู้สอนเพียงมิติเดียว ซึ ่งเป็นการสร้าง กระบวนการเรียนรู้ที่มีความแตกต่าง ของนักเรียนแต่ละบุคคลให้สามารถเรียนรู้และเข้าใจในระดับเดียวหรือ ใกล้เคียงกันมากที่สุดจากการลงมือปฏิบัติพร้อมทั้งสามารถนำองค์ความรู้ต่อยอดสร้างนวัตกรรมสู่อาชีพอย่าง มั่นคง หากมีขอบกพร่องประการใดต้องขออภัย มา ณ โอกาสนี้ นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์ ตำแหน่งครู โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก


2 สารบัญ รายการ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข แบบประวัติครูผู้สอนดีเด่นที่เสนอเพื่อกรคัดเลือก.............................................................................................................. - ประวัติการศึกษา......................................................................................................................................................... ๒ - ประวัติการท างาน........................................................................................................................................................ ๒ - ประวัติการสอนของครูผู้สอน........................................................................................................................................ ๒ การพัฒนาวิชาชีพในรอบ ๕ ปี ประวัติการสัมมนา/การดูงานหรือการฝ กอบรม................................................................ ๒ ผลงานตามประการคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ.......................................................................................................... - ชื่อด้านของนวัตกรรมการศึกษา................................................................................................................................ - เหตุผลจูงใจในการสร้างนวัตกรรม............................................................................................................................ ๕ - กระบวนการในการสร้างนวัตกรรม........................................................................................................................... ๖ - การน านวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติ................................................................................................................................. - ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน.......................................................................................................................................... - สรุปผลการจัดท านวัตกรรม....................................................................................................................................... - การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ................................................................................................... ๕ ค ารับรอง และความเห นเพิ่มเติมผู้อ านวยการโรงเรียน................................................................................................... แบบสรุปชื่อผลงานของผู้ที่จะขอรับรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๖.................................................................... ๒ แบบเสนอผลงานนวัตกรรม หรือการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน.......................................................................... ๒ ภาคผนวก เกียรติบัตรผลงานดีเด่นที่เกิดจากการปฏิบัติงาน/ผลงานนักเรียน/ภาพกิจกรรม............................................................ ๒ หลักฐานการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ เชิงประจักษ์ หน่วยงานรัฐบาลและเอกชน.....................................................


แบบรายงานประวัติและผลงานนวัตกรรม เสนอเพื่อพิจารณาคัดเลือกรับรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖6 ประเภทครูผู้สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดีเด่น ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้นของผู้เสนอขอรับรางวัล . ชื่อ นางสาว……..…นุชมาศ ...........นามสกุล……สวัสดิ์พาณิชย์........... ๒. เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน..... ๕ ๕ ๖...... เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ...๖ ๒๒๖ ๒๗ .. ออกให้ ณ วันที่ .......๒ ..เดือน ..เมษายน..พ.ศ...๒๕๖ ...... หมดอายุ ณ วันที่....๒ ..เดือน..เมษายน.. พ.ศ. ๒๕๖ .. . ข้อมูลส่วนบุคค . เกิดเมื่อวันที่….๗..…..เดือน...กุมภาพันธ์..……พ.ศ....๒๕๒๗....……. .๒ ปัจจุบันอายุ….. ..…..ปี . ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวกเลขที่.……...๒ / ......….ถนน……........-.........…..…..ตำบล/แขวง…อาจสามารถ….... อำเภอ/เขต……อาจสามารถ..……………จังหวัด……ร้อยเอ ด…......…….รหัสไปรษณีย์… ๕ ๖ ….…....... โทรศัพท์…… - - ๖๖……………… โทรศัพท์เคลื่อนที่…… - ๖ - ……………...……..… โทรสาร…………………-………………............e-mail address……[email protected].................... . วันที่เริ่มปฏิบัติหน้าที่ครู ...... ...... เดือน ....มิถุนายน.......................พ.ศ. .....๒๕๕ .................. .๕ .๖ ประสบการณ์การสอน รวมเป็นเวลา ............... ๒................. ปี…………………… ……………….…เดือน ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน .........ครู.......วิทยฐานะครูชำนาญการ......................................................... .๗ สถานศึกษา ...โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก...................................................................... สังกัด ..สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม............................................................. ตำบล/แขวง..........ปอพาน.................... อำเภอ/เขต.......................นาเชือก........................................ จังหวัด ................มหาสารคาม......................... รหัสไปรษณีย์ .............. ๗ ............................... โทรศัพท์ .......... - - ๖๖.......................โทรสาร ...........................-....................................... **กรอกข้อมูลในแบบรายงานประวัติและผลงานให้ครบถ้วน และตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง**


2 ๓.๘ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ วิชาเอก/โท/สาขา ปีที่สำเร็จการศึกษา สถาบันการศึกษา ป.บัณฑิต วิชาชีพครู ๒๕๕ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปริญญาตรี เคมี ๒๕ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๔. ประวัติการทำงาน (เฉพาะตำแหน่งที่สำคัญ) วัน – เดือน - ปี ตำแหน่ง สอนชั้น/ระดับ สถานที่ทำงาน มิถุนายน ๒๕๕ ครูผู้ช่วย มัธยมศึกษาปีที่ -๖ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก มิถุนายน ๒๕๕๕ ครูค.ศ. มัธยมศึกษาปีที่ -๖ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก มิถุนายน ๒๕๖ - ปัจจุบัน ครูชำนาญการ มัธยมศึกษาปีที่ -๖ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ๕. ประวัติการสอนของครูผู้สอน ๕. เริ่มสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ .......... ......เดือน……มิถุนายน.......พ.ศ. …….๒๕๕ ..................... ในระดับชั้น…มัธยมศึกษาปีที่ … -๖…..สถานศึกษา…โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ตำบล/แขวง……ปอพาน……อำเภอ/เขต……นาเชือก.……..จังหวัด……มหาสารคาม……................. สังกัด (ระดับกรมหรือเทียบเท่า)...สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม.. ๕.๒ ปัจจุบันสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ -๖สถานศึกษาโรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ตำบล/แขวง……ปอพาน……อำเภอ/เขต……นาเชือก.………..จังหวัด……มหาสารคาม……................. รหัสไปรษณีย์…… ๗ ……...………โทรศัพท์……… - - ๖๖ โทรสาร…………..-.................. ๖. การพัฒนาวิชาชีพในรอบ ๕ ปี (ประสบการณ์ การฝึกอบรม การเป็นสมาชิกองค์กรวิชาชีพ การมีส่วนร่วมด้านวิชาชีพฯ) เพิ่มเติม* โปรดแนบหลักฐาน เช่นเกียรติบัตร/ภาพถ่าย/หนังสือรับรอง ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมที่ขอเสนอ (เน้นว่าที่เกี่ยวข้องเท่านั้น) ที่ วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับการ อบรมพัฒนา หัวข้อในการอบรมพัฒนา จัดโดยหน่วยงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๖ อบรมโครงการพัฒนาครูหัวข้อ Mindset พลิกวิธีคิด ชีวิตเปลี่ยน สพม.มค. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๓ ๒ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๖ อบรมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ หน้าที่พลเมืองดิจิทัล อุ่นใจไซเบอร์ สพฐ. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๓ ๓ ๑๒-๓๐ กันยายน ๒๕๖๕ อบรมออนไลน์และมีผลการทดสอบ ความรู้ เรื่อง เทคนิคการสอน สพฐ. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๓


3 ที่ วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับการ อบรมพัฒนา หัวข้อในการอบรมพัฒนา จัดโดยหน่วยงาน เอกสาร/หลักฐาน โครงงานวิทยาศาสตร์อย่างครูมือ อาชีพ ๔ ๒๕-๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๕ กิจกรรมถอดบทเรียนโครงการ ห้องเรียนธรรมชาติ การสอนโดย อาศัยธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็น ฐานการเรียนรู้ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๔ ๕ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๕ อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้าง ศักยภาพข้าราชการครู ฯ กิจกรรมที่ หลักการปฏิบัติราชการ กระทรวงศึกษาธิการ - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๔ ๖ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๕ อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้าง ศักยภาพข้าราชการครู ฯ กิจกรรมที่ การสอนให้สนุกจากครูที่มี ประสบการณ์ กระทรวงศึกษาธิการ - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๔ ๗ ๑๙-๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ประชุมทางวิชาการออนไลน์ของคุรุ สภา ประจำปี ๒๕๖๓ (KSP Webinar 2020) เรื่อง “New Learning in Disruptive Era: การ เรียนรู้ใหม่ในยุคพลิกผัน” คุรุสภา - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๕ ๘ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๔ อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะ การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ สำหรับครู สพฐ. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๕ ๙ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ อบรมครูผู้สอนเรื่องสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ การบูรณาการสู่ ห้องเรียนธรรมชาติ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๕ ๑๐ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๖ อบรมการให้คำปรึกษาวัยรุ่นผ่าน ระบบ Training Online ในหัวข้อ บทเรียนเบื้องต้น หลักสูตรการให้ การปรึกษาวัยรุ่น กรมสุขภาพจิต - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๕ ๑๑ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๔ หลักสูตรออนไลน์การจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณสำหรับครู มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ รหัส ๖๓๐๒๖ สสวท. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๖ ๑๒ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ หลักสูตรออนไลน์การจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณสำหรับครู มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ สสวท. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๖


4 ที่ วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับการ อบรมพัฒนา หัวข้อในการอบรมพัฒนา จัดโดยหน่วยงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑๓ ๑๑-๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๓ อบรมหลักสูตรเพิ่มศักยภาพครูให้มี สมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการ เรียนรู้สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 รุ่น ๓ วิทยาศาสตร์ สสวท. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๖ ๑๔ ๑๗-๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ การอบรม หลักสูตรการอบรมครู ด้วยระบบทางไกล โครงการบูรณา การสะเต็มศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย เรื่องตรวจพันธุ์ทันด่วน สสวท. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๗ ๑๕ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ หลักสูตรกรรมการคุมสอบขั้นที่ ๒ ตามโครงการพัฒนาบุคลากรด้าน การจัดสอบ สทศ. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๗ ๑๖ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๒ การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดสอบ ด้วยบทเรียนรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรกรรมการคุมสอบ สทศ. - สำเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน้า ๒๗ ๗. ผลงานเพื่อพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่ประกาศกำหนดฯ ในข้อ ๕ ข้อ ๕.๑ และ ๕.๒ ๗.๑ ด้านการจัดการเรียนรู้ มีผลที่เกิดกับผู้เรียนจากการจัดการเรียนรู้ตามแผนในข้อ 5 ข้อ ๕.๑ (๑) ที่กำหนดในประกาศฯ สอดคล้องกับตัวชี้วัดการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับ . ได้เรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยใช้เวลาเรียนทั้งด้านวิชาการ และการปฏิบัติกิจกรรม อย่างเหมาะสม ๒. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีทักษะชีวิต และมีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตาม ความถนัด ความสนใจ ตามศักยภาพของตนเองแต่ละคน . มีการประเมินตนเอง และนำผลการประเมินไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง . มีความสุขในการเรียนรู้ มีภาระงาน การบ้าน เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด ๗.๒ ด้านผลงานนวัตกรรม (เป็นนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้กับผู้เรียน) . มีนวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียนที ่สอดคล้องหรือเกี ่ยวข้องกับเรื ่องที ่เสนอขอรับรางวัล โดยสามารถเสนอนวัตกรรมในลักษณะรูปแบบ วิธีการ สิ ่งของหรือสิ ่งประดิษฐ์ และงานวิจัย เอกสารหรือ บทความวิชาการที ่ได้รับการตีพิมพ์ เช ่น รูปแบบการสอน รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ชุดการเรียนรู้ ชุดกิจกรรม ตำรา แบบเรียน บทความทางวิชาการ งานวิจัย ฯลฯ . ชื่อนวัตกรรม Kachino Guidance Model “รู้ตน รู้คน รู้โลก รู้พัฒนา” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การแนะแนวเตรียมนักเรียนสู่อาชีพและการมีงานทำ .๒ มูลเหตุจูงใจในการสร้างนวัตกรรม


5 ราชกิจจานุเบกษา (2561 : 8) ข้อ 4 กล่าวว่า ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้ประเทศไทยสามารถ ยกระดับการพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วย การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”และเป้าหมายการพัฒนาประเทศข้างต้น จึงจำเป็นต้อง กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาว ที่จะทำให้ประเทศไทยมีความมั่นคงในเอกราชและ อธิปไตย และ กระทรวงศึกษาธิการ (2560 : 152) ระบุไว้ใน แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2575 เรื่อง บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 2 สู่การปฏิบัติ ว่าสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องรับผิดชอบ 1). พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานด้านอาชีพ และ วางรากฐาน ทักษะอาชีพและค่านิยมการเรียนเพื่อการมีงานทำ 2). สร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนสายอาชีพ และ วางแผนการ เรียนเพื่อการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการแนะแนวที่มีประสิทธิภาพ ด้วยข้อมูลงานแนะแนวมัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก (2560) รายงานการติดตามผลนักเรียนที่จบการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ตลอดระยะเวลา 10 กว่าปี พบว่า นักเรียนมีการศึกษาต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเพิ่มสูงขึ้น และมีการศึกษาต่อสายอาชีพลดน้อยลงเช่นกัน ซึ่งสวนทางกับนโยบายที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้น ผนวกกับการที่ผู้รายงานได้สัมภาษณ์นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ส่วนใหญ่เมื่อใกล้จะจบการศึกษา ก็ยังไม่สามารถเลือกสายการเรียนที่เหมาะสมกับตนเองได้ ซึ่งนักเรียนก็ จะเลือกตามเพื่อน และผู้ปกครอง โรงเรียนจึงได้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนานักเรียนให้ รู้จักและเข้าใจ ตนเอง เพื่อนักเรียนสามารถตัดสินใจในการเลือกเรียนต่อได้อย่างเหมาะสมกับความถนัด ความสนใจ และ บุคลิกภาพของตนเอง เป็นแนวทางในการวางแผนการเรียนเพื่อการประกอบอาชีพได้อย่างมี ความสุข นอกจากนี้ โรงเรียนได้จัดทำหลักสูตรทวิศึกษาร่วมกับวิทยาลัยสารพัดช่างมหาสารคามและเพื่อขยายผลวงกว้างให้ตอบโจทย์ แผนการศึกษาแห่งชาติ การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสู่กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยบูรณาการสู่ กิจกรรมการ เรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน จะช่วยเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ให้แก่ นักเรียนอันจะนำไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตที่พอเพียง เป็นคนที่มีความพอประมาณ มีเหตุผล และ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว โดยที่ทุกคนต้องมีความรู้ และคุณธรรมใช้ในการดำรงชีวิต ในการบริหาร จัดการของโรงเรียนโดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา กำหนดเป็นนโยบายหลักในการบริหารจัดการโรงเรียนพร้อมทั้งสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตน เพื่อ นำไปสู่ เป้าหมายในการพัฒนาโรงเรียนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครูและบุคลากรใน สถานศึกษา โดย มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีความต่อเนื่อง ย่อมทำให้ผู้บริหาร ครูและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำหลักคิด หลักปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเอง ได้รวมถึงการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนเกิด ความยั่งยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดย ตั้งอยู่บนหลักสำคัญ ประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีไปประยุกต์ใช้ เพื่อ เป็น แนวทางในการดำเนินชีวิตของตนเองอย่างเพียงพอได้ ตลอดจนการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สอดแทรก หรือบูรณาการกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน หรือการจัดโครงการหรือกิจกรรมใน โรงเรียน จากการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาการศึกษาคือการ สร้างนักเรียนให้ ได้มาตรฐานการศึกษาและสอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาภายใต้บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติปี พ.ศ. ๒๕ ๒ และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕ ๕ จุดประสงค์ของการจัด การศึกษาแห่งชาติคือการพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์เต มความสามารถและเป็นคนดีเพื่อที่จะได้อยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข การดำเนินการตามหลักการปฏิรูปการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายต้องมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ข้าพเจ้าจึงสร้างนวัตกรรมในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมสู่โลกของการมีงานทำ โดยยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ห่วง ๒ เงื่อนไข กล่าวคือ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน บูรณาการแบบองค์รวมกับเงื่อนไข ความรู้และคุณธรรม พัฒนาสู่การเป็น Kachino Guidance Model “รู้ตน รู้คน รู้โลก รู้พัฒนา” ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การแนะแนวเตรียมนักเรียนสู่อาชีพและการมีงานทำ


6 ๑.๓ กระบวนการในการออกแบบและสร้างนวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรม KACHINO Guidance Model โดยใช้กระบวนการวงจรคุณภาพ P-D-C-A มี 5 ขั้นตอน ในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายมีรายละเอียดการพัฒนา ดังนี้ ขั้นตอนที่ สำรวจและวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการเกี่ยวกับการจัดกระบวนการ เรียนการสอนของนักเรียนในโรงเรียน ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นวางแผน (Plan) เป็นการออกแบบนวัตกรรมกระบวนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียน ขั้นตอนที่ ขั้นปฏิบัติตามแผน (Do) เป็นสร้างความเข้าใจกับทุกฝ่าย เพื่อพัฒนานวัตกรรมไปใช้ใน การดำเนินการ มีการกำหนดแนวทาง วิธีการดำเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เน้นการพัฒนาศักยภาพของ ผู้เรียน ขั้นตอนที่ ขั้นตรวจสอบ (Check) เป็นการประเมินผลและตรวจสอบการใช้นวัตกรรม ขั้นตอนที่ ๕ ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) เป็นการสะท้อนผลการดำเนินงานตามสภาพจริง (Reflection) ผู้เรียนจะต้องมีคุณภาพ สามารถสรุปกระบวนการดำเนินงานได้ดังนี้ ประชุมกำหนดผังขั้นตอนการดำเนินงาน (Flowchart) ในการเตรียมความพร้อมนักเรียนสู่ โลกของ งานและการมีงานทำร่วมกับคณะกรรมการฝ่ายวิชาการของโรงเรียน เพื่อความชัดเจนของกรอบการ ทำงานของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะบทบาทหน้าที่ของครูแนะแนว Flowchart ขั้นตอนการดำเนินงาน Kachino Guidance Model “รู้ตน รู้คน รู้โลก รู้พัฒนา” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การแนะแนวเตรียมนักเรียนสู่อาชีพและการมีงานทำ ๒ ศึกษาและทำความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบรู้และรอบคอบ


7 ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถปรับตัวและรับมือได้อย่าง ทันท่วงที เงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้การตัดสินใจ และการกระทำเป็นไปพอเพียง จะต้องอาศัยทั้งคุณธรรมและความรู้ดังนี้ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องสร้างเสริมให้เป็นพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้านจิตใจ คือการ ตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการดำเนินชีวิต และด้านการกระทำ คือมีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี้ รู้จักแบ่งปัน และรับผิดชอบในการอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยการฝ กตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มี ความรอบคอบ และความระมัดระวังที่จะนำความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อ ประกอบการวางแผน และในขั้นปฏิบัติ วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการวางแผนการศึกษาต่อและอาชีพ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน พอประมาณ คือ ต้องวางแผนให้เหมาะสมกับตนเองสอดคล้องกับ ความสามารถ ความสนใจ ตลอดจนจุดเด่นจุดด้อยต่างๆ ไม่ เบียดเบียนผู้อื่น มีเหตุผล คือ การตัดสินใจ กระทำสิ่งต่างๆอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจาก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตลอดจนคาดคะเนผลที่ เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ มีภูมิคุ้มกันที่ดีคือ ต้อง เตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่ จะเกิดขึ้น เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์ ขยันอดทน ใช้ปัญญานำทาง รู้จักแบ่งปัน นำไปสู่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สมดุล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง


8 กำหนดสิ่งควรรู้ ตามเงื่อนไขความรู้ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกำหนด เป็น รูปแบบการแนะแนว Kachino Guidance Model ๕ นำ Kachino Guidance Model เป็นกรอบในการออกแบบหน่วยและแผนการจัดกิจกรรมแนะ แนวการศึกษาและแนะแนวอาชีพในชั้นเรียน ในระดับชั้น ม. – ม.๖ ๖ วางแผนการจัดกิจกรรมนอกชั้นเรียน เพื่อเติมเสริมการรู้ตน รู้คน รู้โลก และรู้พัฒนา ให้กับนักเรียน ๗ สร้างและสรรหาเครื่องมือทางการแนะแนวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการให้นักเรียนค้นหาตัวเอง ให้นักเรียนจัดทำรายงานการวางแผนการศึกษาและอาชีพ เพื่อเตรียมตัวสู่โลกของงานและ การมี งานทำ . การนำนวัตกรรมสู่การปฏิบัติ การสอนแบบ KACHINO Model มี ขั้นตอน ได้แก่ .ขั้นสร้างความรู้(K= Knowledge + A= Awareness) นักเรียนได้รับหน้าที่ของตนเองในกลุ่มในการช่วยกันทำงานตามกลุ่มที่ตนเองได้รับมอบหมาย ช่วยกัน สืบค้นข้อมูล และการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนนักเรียนในกลุ่มเกิดทักษะในการเรียนรู้ต่างๆ การใช้เทคโนโลยี การคิดวิเคราะห์หรือการตัดสินใจ ๒.ขั้นสร้างศักยภาพ (C= Can+ 5H= Head/ Heart/ Hand/ Health/ Happy)


9 นักเรียนในกลุ่มการเรียนรู้ทุกคนจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ สามารถเรียนรู้ได้ สามารถทำได้ สามารถ คิดเชื่อมโยงได้และพยายามทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต มความสามารถ โดยครูจะมอบหมายงานให้ในกลุ่ม โดยในกลุ่มจะต้องแบ่งหน้าที่กันเองโดยครูมีหน้าที่เป็นแค่ Coaching ให้นักเรียนเท่านั้น ในขั้นนี้นักเรียนจะได้ พัฒนาในด้านต่างๆ เช่น พัฒนาสมอง พัฒนาจิตใจ พัฒนาทักษะการปฏิบัติ พัฒนาสุขภาพ มีความสุข .ขั้นสร้างนวัตกรรม (I= Inquiry Method+ N= Nonstop) นักเรียนจะได้เรียนรู้แบบสืบเสาะ มีการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การ แก้ปัญหา Problem Solving มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในการทำงานได้ สามารถพัฒนาวิธีการ ใหม่ๆ ที่ช่วยให้การทำงานดีขึ้น สามารถใช้ทักษะทางความคิด เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาให้ดีกว่า ขึ้น ๔. ขั้นการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้(O= Open mind) นักเรียนจะนำผลงานของกลุ่มตนเองร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดงผลงานของกลุ่มตนเอง มีการ แลกเปลี่ยนแนวความคิด พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะอย่างใจกว้าง มีการตอบคำถามเพื่อทดสอบความเข้าใจของ เพื่อนในห้องเรียน KACHINO Model สามารถนำมาใช้ผ ่านรูปแบบกิจกรรม กิจกรรม ดังนี้ . กิจกรรมมหิงสาสายสืบ ความเป็นมาของโครงการมหิงสาสายสืบ โครงการมหิงสาสายสืบ พัฒนามาจากโครงการรางวัล จอห์น มัวร์ อวอร์ด (The John Muir Award) ซึ่งเป็นโครงการที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศสก อตแลนด์และประสบผลสำเร จในการดำเนินโครงการเป็นอย่างมาก โดยมีแนวคิดสำคัญคือการเปิดโอกาสให้เด กๆ ได้สำรวจ เรียนรู้และใกล้ชิดกับธรรมชาติซึ่งจะช่วยพัฒนาให้เกิด จิตสำนึกรักและหวงแหนในธรรมชาติ โครงการมหิงสาสายสืบ คืออะไร ? โครงการมหิงสาสายสืบ เป็นโครงการที่กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕ โดยมุ่งเน้นให้เยาวชนพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ทักษะ การทำงานร่วมกันเป็นทีมและส่งเสริมให้ เยาวชนได้มีโอกาสค้นหาและพัฒนาศักยภาพขอตน โดยการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่ท้าทายความสามารถในการ สำรวจ ดูแลรักษาพื้นที่ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนผ่านกิจกรรมการ “ค้นหา” พื้นที่ธรรมชาติที่ กลุ่มมีความสนใจแล้วจึงลงมือ “สำรวจ” พื้นที่นั้นอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตลอดจนดำเนินการ “อนุรักษ์” พื้นที่ดังกล่าวด้วยวิธีการต่างๆ ที่กลุ่มสามารถทำได้จากนั้นจึงนำประสบการณ์ความสำเร จที่กลุ่มได้รับไป “แบ่งปัน” หรือเผยแพร่ ให้บุคคลอื่นได้รับรู้รับทราบและเห นถึงประโยชน์ความสำคัญของพื้นที่นั้นต่อไป แนวคิดของโครงการคือ การเปิดโอกาสให้เด กที่สนใจในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ ผ่านกิจกรรม ระดับความท้าทาย จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งในด้าน (มิติ) วิทยาศาสตร์ และสังคม อีกทั้งยังเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เด กและเยาวชนทำแล้วรู้สึกมีความสุข สนุกสนาน และไม่ใช่ “การ แข ่งขัน” เพื่อชิงรางวัล แต่เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้เยาวชนได้แข่งขันกับตัวเอง ท้าทายศักยภาพในตัวเองใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น แนวทางการดำเนินกิจกรรม ระดับความท้าทาย ขั้นค้นหา ➢ พื้นที่ตอบโจทย์กับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินโครงการ ➢ กำหนดขอบเขตพื้นที่ให้ชัดเจน ➢ ที่มา/ประวัติของพื้นที่/ความสำคัญ/ระยะทาง/การเดินทาง/ความปลอดภัย


10 ➢ การขออนุญาตเข้าใช้พื้นที่ ขั้นสำรวจ ➢ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ - ดิน น้ำ อากาศ/ภูมิประเทศ ➢ ลักษณะทางชีวภาพ - สิ่งมีชีวิตที่พบจริงในพื้นที่ทั้งพืชและสัตว์ รวมถึงสิ่งมีชีวิตในน้ำและบนบก ➢ ข้อมูลเจาะลึกของสิ่งที่สนใจ - รูปร่าง/ลักษณะ/วงจรชีวิต/ปัจจัยการดำรงชีวิต/การเจริญเติบโต - ความสำคัญ(ต่อพื้นที่/ต่อระบบนิเวศ)/ประโยชน์/สรรพคุณ ➢ การเชื่อมโยงข้อมูลเป็น “ระบบนิเวศ” ขั้นอนุรักษ์ ➢ ใช้ข้อมูลจากขั้นสำรวจและบริบทพื้นที่เป็นตัววางแนวทางของการใช้กิจกรรม ➢ กิจกรรมเป็นรูปธรรม/จับต้องได้/มีผลการดำเนินงาน/เกิดประโยชน์ยั่งยืน ➢ ขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมาย ขั้นแบ่งปัน ➢ วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย (ทำกับใคร/จำนวนกี่คน) แล้วจึงคิดกิจกรรม ➢ กิจกรรมที่เป็นประโยชน์/น่าสนใจ (เกิดประโยชน์กับกลุ่มเป้าหมาย) ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนผ ่านรูปแบบ KACHINO MODEL


11 ๒. การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) ครูได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นการลงมือทำ ครูเป็นผู้กระตุ้นเพื่อนำ ความสนใจที่เกิดจากตัวนักเรียนมาใช้ในการทำกิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวนักเรียนเอง นำไปสู่การเพิ่ม ความรู้ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติการฟังและการสังเกต โดยนักเรียนมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทำงานเป็น กลุ่ม ที่จะนำมาสู่การสรุปความรู้ใหม่ มีการเขียนกระบวนการจัดทำโครงงาน ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานโดยมีทั้งหมด ๖ ขั้นตอน ดังนี้ . ขั้นให้ความรู้พื้นฐาน ครูให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำโครงงานก่อนการเรียนรู้เนื่องจากการทำ โครงงานมีรูปแบบและขั้นตอนที่ชัดเจนและรัดกุม ดังนั้นนักเรียนจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ เกี่ยวกับโครงงานไว้เป็นพื้นฐาน เพื่อใช้ในการปฏิบัติขณะทำงานโครงงานจริง ในขั้นแสวงหาความรู้ ๒. ขั้นกระตุ้นความสนใจ ครูเตรียมกิจกรรมที่จะกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยต้องคิดหรือ เตรียมกิจกรรมที่ดึงดูดให้นักเรียนสนใจ ใคร่รู้ถึงความสนุกสนานในการทำโครงงานหรือกิจกรรมร่วมกัน โดย กิจกรรมนั้นอาจเป็นกิจกรรมที่ครูกำหนดขึ้น หรืออาจเป็นกิจกรรมที่นักเรียนมีความสนใจต้องการจะทำอยู่แล้ว ทั้งนี้ในการกระตุ้นของครูจะต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอจากกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านการจัดการเรียนรู้ของ ครูที่เกี่ยวข้องกับชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่หรือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง . ขั้นจัดกลุ่มร่วมมือ ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันแสวงหาความรู้ใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผน ดำเนินกิจกรรม โดยนักเรียนเป็นผู้ร่วมกันวางแผนกิจกรรมการเรียนของตนเอง โดยระดมความคิดและหารือ แบ่งหน้าที่เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกัน หลังจากที่ได้ทราบหัวข้อสิ่งที่ตนเองต้องเรียนรู้ในภาคเรียนนั้นๆ เรียบร้อยแล้ว . ขั้นแสวงหาความรู้ ในขั้นแสวงหาความรู้มีแนวทางปฏิบัติสำหรับนักเรียนในการทำกิจกรรม ดังนี้ นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน ตามหัวข้อที่กลุ่มสนใจ นักเรียนปฏิบัติหน้าที่ของตนตามข้อตกลงของ กลุ่ม พร้อมทั้งร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรม โดยขอคำปรึกษาจากครูเป็นระยะเมื่อมีข้อสงสัยหรือปัญหาเกิดขึ้น นักเรียนร่วมกันเขียนรูปเล่ม สรุปรายงานจากโครงงานที่ตนปฏิบัติ ๕. ขั้นสรุปสิ่งที่เรียนรู้ ครูให้นักเรียนสรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรม โดยครูใช้คำถาม ถาม นักเรียนนำไปสู่การสรุปสิ่งที่เรียนรู้ ๖. ขั้นนำเสนอผลงาน ครูให้นักเรียนนำเสนอผลการเรียนรู้โดยครูออกแบบกิจกรรมหรือจัดเวลาให้ นักเรียนได้เสนอสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เพื่อให้เพื่อนร่วมชั้น และนักเรียนอื่นๆในโรงเรียนได้ชมผลงานและเรียนรู้ กิจกรรมที่นักเรียนปฏิบัติในการทำโครงงาน โครงงานสบู่จากใยไหม โครงงานลูกประคบสมุนไพร การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)


12 ภาพ การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน . กิจกรรมแนะแนว ได้ดำเนินการช่วยเหลือนักเรียนโดยการให้คำปรึกษาเบื้องต้น มีการจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา เช่น กิจกรรมคู่บัดดี้ กิจกรรมสายรหัส กิจกรรมซ่อมเสริม กิจกรรมสื่อสารกับผู้ปกครอง กิจกรรมในห้องเรียน จากการดำเนินการดังที่กล่าวมาส่งผลให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่อย่าง พอเพียง และปฏิบัติตนอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีความสุข นอกจากนี้นักเรียนยังมีผลงาน มี ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก การนำนวัตกรรม KACHINO Guidance Model เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยกระบวนการ Active learning เน้นผู้เรียนได้คิดได้ลงมือทำ เพื่อให้นักเรียนเป็นคนมีความสุข เข้าใจตนเองและผู้อื่น เป็นมนุษย์ที่มี ความสมบูรณ์ เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ มุ่งสู่ตลาดแรงงาน ผลที่เกิดจากการนำนวัตกรรมไปใช้ . นักเรียนรู้จักตนเอง รักและเห นคุณค่าในตนเอง รู้จักผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ๒. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข งแรง มีสุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง แจ่มใจ รู้ทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม . นักเรียนเป็นคนดีมีจิตใจอ่อนโยน รู้จักแบ่งปันและช่วยเหลือผู้อื่น มีจิตสาธารณะ . นักเรียนเป็นคนเก่ง กล้าแสดงออก ๕. นักเรียนมีกระบวนคิดเป็นระบบ คิดเป็น แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ โครงงานกระถางจากกากชา โครงงานลิปสติกจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ โครงงานเตาเผารักษ์โลก นำเสนอโครงงานคุณธรรม


13 ภาพ การดำเนินกิจกรรมตามรูปแบบ KACHINO MODEL นำเสนอผลงานอยู่เสมอ นักเรียนเป็นคนเก่ง กล้าแสดงออก นักเรียนมีกระบวนคิดเป็นระบบ คิดเป็น แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ นักเรียนมีจิตสาธารณะ


14 ๑.๕ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ในครั้งนี้ส่งผลให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษา ดังนี้ ) นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา ประการ มีจิต สานึกในคุณธรรม ๕ ประการตามคุณลักษณะนักเรียนของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มีค่านิยมพื้นฐาน ๒ ประการ มีจิตสาธารณะ และอยู่อย่างพอเพียง ๒) นักเรียนมีความรู้ด้านวิชาการ มีผลงานด้านศิลปะ ดนตรีนาฎศิลป์กีฬา และนันทนาการ ) นักเรียนมีกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น จากการลงมือทำกิจกรรม มีชิ้นงาน โครงงานและ สามารถถอดบทเรียนที่ได้จากการทำกิจกรรม ) นักเรียนสามารถนำกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบไปปรับใช้ใน เรื่องการเรียนและการทำงาน ๕) นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับชุมชนเพื่อต่อยอดสร้างเป็นอาชีพ ๖) ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านโครงงานอาชีพ และการพัฒนานวัตกรรมจนคว้ารางวัล ระดับเขตพื้นที่การศึกษา/ระดับภาค และระดับประเทศ ๗) โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับนักเรียนและประชาชน สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้การมีอาชีพ วิถีชีวิตความเป็นไทย พึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ) ผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นมืออาชีพ มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ ยอมรับของชุมชนและสังคม การบริหารจัดการใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพงาน PDCA มีการกระตุ้นการ ทำงาน นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน ครูทุกคนสามารถน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และการดำเนินชีวิตประจำวัน ๑.๖ สรุปผลการจัดทำนวัตกรรม . กิจกรรมการเรียนรู้การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติโดยการบูรณาการ ผ่านฐานการเรียนรู้ มุ่งสู่โรงเรียนสุจริต เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนและผู้เรียนกับ ผู้เรียนด้วยกันในการเรียนรู้ โดยสามารถศึกษาหาความรู้ได้จากการลงมือปฏิบัติ การเผชิญปัญหาจากสภาพและ สถานการณ์ตามบริบทของผู้เรียนที่แตกต่างกัน พร้อมกับสะท้อนความคิดที่มาจากปัญหาที่เคยเกิดขึ้นหรือกำลัง เกิดขึ้นเพื่อนำมาสร้างเป็นนวัตกรรม โดยกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ ให้กับผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้ ความจริงจนได้ข้อสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ และส่งผลออกมาเป็นผลงาน เชิงสร้างสรรค์นวัตกรรม พัฒนาเป็นความรู้ที่คงทนและสามารถสร้างเป็นอาชีพได้ ๒. นักเรียนสามารถนำกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบไปปรับใช้ใน เรื่องการเรียนและการทำงาน . นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับชุมชนเพื่อต่อยอดสร้างเป็นอาชีพ . ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านโครงงานอาชีพ และการพัฒนานวัตกรรมจนคว้ารางวัล ระดับเขตพื้นที่การศึกษา/ระดับภาค และระดับประเทศ (เอกสารภาคผนวก หน้า ๒ และ หน้า ๒๗) ๕. สร้างความภาคภูมิใจ/ความสุขให้กับผู้เรียนในด้านคนต้นแบบ จนได้รับการเผยแพร่นวัตกรรมการ ๖. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ ๗. มีคุณธรรม จริธรรม ในตนเอง ในฐานะผู้ประกอบอาชีพ ๑.๗ ประโยชน์ที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมต่อการจัดการเรียนรู้ ๑) นักเรียนมีความพอเพียงจากกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน เพื่อบ่ม เพาะให้นักเรียนรู้จักการทำงาน ด้วยความเพียร อดทนและรับผิดชอบ


15 ๒) นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างทัศนคติที่ดีมีคุณลักษณะ ๕ ประการของ โครงการโรงเรียนสุจริต ได้แก่ มีทักษะกระบวนการคิด มีวินัย มีคว่ามซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และมีจิต สาธารณะ ๓) นักเรียนโรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการดำรงชีวิต ประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดีมีจิตสำนึกสุจริต และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๔) นักเรียนสามารถนำกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบไปปรับใช้ในเรื่อง การเรียนและการทำงาน ๕) นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับชุมชนเพื่อต่อยอดสร้างเป็นอาชีพ ๖) ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านโครงงานอาชีพ และการพัฒนานวัตกรรมจนคว้ารางวัลระดับ เขตพื้นที่การศึกษา/ระดับภาค และระดับประเทศ ๗) สร้างความภาคภูมิใจ/ความสุขให้กับผู้เรียนในด้านคนต้นแบบ จนได้รับการเผยแพร่นวัตกรรมการ ๘) นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ ๒. มีผลการเรียนรู้ที่สะท้อนพัฒนาการหลังจากการใช้นวัตกรรม และผลการแก้ปัญหา และ/หรือ การพัฒนา มีการเผยแพร่ผลงาน/ชิ้นงาน จนเป็นที่ยอมรับหรือได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ(เป็นผลที่เกิด จากการใช้นวัตกรรมที่ได้ส่งในการคัดเลือกในครั้งนี้) การเผยแพร่ผลงานนักเรียน ❖ นักเรียนเข้าแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รางวัล เหรียญทอง ในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของ นักเรียน ❖ นักเรียนเข้าแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ รางวัลเหรียญทอง ในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของ นักเรียน ❖ นักเรียนเข้าแข่งขันการแสดงทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รางวัลเหรียญเงิน ในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียน ❖ นักเรียนเข้าแข่งขันการแสดงทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รางวัลเหรียญ ทอง ในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียน ❖ นักเรียนเข้าแข่งขันสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รางวัลเหรียญ ทอง ในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียน ❖ นักเรียนได้เข้าร่วมและผ่านเกณฑ์การประเมินโครงการมหิงสาสายสืบ ของกรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8 ปีซ้อน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554- ปัจจุบัน รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน เป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพ (ภายใน 2 ปี นับถึง วันที่ยื่นขอรับการประเมิน)


16 ❖ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ รองชนะเลิศระดับเหรียญทอง ครูผู้สอนยอด เยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ สอน ปี 2563 ❖ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค ชนะเลิศระดับเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ปี 2564 ❖ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทสื่อสร้างสรรค์ด้านสิ่งแวดล้อม กิจกรรมคลิปโฆษณาความยาว 1 นาที


17 ❖ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องตามแนวการประเมินผล นักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ ❖ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทสื่อสร้างสรรค์ด้านสิ่งแวดล้อม กิจกรรมสารคดีสั้นหรือหนัง สั้น ความยาวไม่เกิน 3 นาที


18 ❖ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับเหรียญเงิน การประกวด Best Practice ประเภทครูผู้สอน ❖ ได้รับรางวัลแห่งความภาคภูมิใจมหิงสาสายสืบ 10 ปีซ้อน ( พ.ศ. 2554- 2564 )


19 ❖ นำเสนอโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ทำดีถวายในหลวง” ปีการศึกษา 2565 ❖ รางวัลครูดีไม่มีอบายมุข เนื่องในวันครูแห่งชาติประจำปีการศึกษา 2563 ข้าพเจ้าขอรับรองว่า มีคุณสมบัติเหมาะสมตามประกาศการคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่นทุกประการ ลงชื่อ.............. ........................เจ้าของประวัติ (นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์) ตำแหน่ง.............ครู............... วันที่…..๒๙……../…มีนาคม../…๒๕๖๖.. ลงชื่อ.............. ........................ผู้มีสิทธิเสนอชื่อ (นางสาวสุนิษา บัวดง) ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก วันที่…..๒๙……../…มีนาคม../…๒๕๖๖..


20


21 แบบสรุปชื่อผลงานนวัตกรรมของผู้ที่จะเสนอขอรับรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖6 1. ชื่อผู้เสนอขอรับรางวัล ..........นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์................. ตำแหน่ง......................ครู............................... สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม 2. สถานที่ปฏิบัติงานปัจจุบัน โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก โทรศัพท์...........๐๘๓-๓๖๑-๓๘๐๑............ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน .............๑๒......... ปี 3. ผลงานที่เสนอเพื่อประกอบการพิจารณา (โปรดทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องประเภทผลงาน) ชื่อผลงาน ประเภทผลงาน ปีการศึกษา ที่ผลิต ผลงาน ด้านการจัด การเรียนรู้ นวัตกรรมหรือ การปรับปรุงพัฒนา งานวิชาการ หรืองานอื่นๆ Kachino Guidance Model “รู้ตน รู้คน รู้โลก รู้ พัฒนา” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การแนะแนวเตรียมนักเรียนสู่อาชีพและการมีงานทำ ✓ ๒๕๖๕ เอกสารหมายเลข ๑


22 แบบเสนอผลงานนวัตกรรม หรือการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน ประจำปี ๒๕๖6 1. ชื่อผลงาน Kachino Guidance Model “รู้ตน รู้คน รู้โลก รู้พัฒนา” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การแนะแนวเตรียม นักเรียนสู่อาชีพและการมีงานทำ 2. ผลงานนี้เป็น นวัตกรรม การปรับปรุงพัฒนาจากพื้นฐานแนวคิด ............................................................................................... 3. ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์ ตำแหน่ง ครูโรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม 4. สถานที่ปฏิบัติงานปัจจุบัน โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม โทรศัพท์ - ๖ - 5. วัตถุประสงค์ของผลงานนี้ (เพื่ออะไร) ) เพื่อให้นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา ประการ มีจิตสำนึกในคุณธรรม ๕ ประการตามคุณลักษณะนักเรียนของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มีค่านิยมพื้นฐาน ๒ ประการ มีจิตสาธารณะ และอยู่อย่าง พอเพียง ๒) เพื่อให้นักเรียนมีกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น จากการลงมือทำกิจกรรม มีชิ้นงาน โครงงานและสามารถถอดบทเรียนที่ ได้จากการทำกิจกรรม ) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบไปปรับใช้ในเรื่อง การเรียนและการทำงาน ) นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับชุมชนเพื่อต่อยอดสร้างเป็นอาชีพ ๕) ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านโครงงานอาชีพ และการพัฒนานวัตกรรมจนคว้ารางวัลระดับ เขตพื้นที่การศึกษา/ระดับภาค และระดับประเทศ 6. การนำผลงานไปใช้โดยย่อให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 6.1 ใช้กับใคร 6.2 ใช้ที่ไหน 6.3 ใช้อย่างไร นักเรียนโรงเรียนปอพานพิทยา คม รัชมังคลาภิเษก ที่เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม นักเรียนที่ได้เรียนเผชิญปัญหาและสถานการณ์จริงและนำ ปัญหาต่างๆกลับมาลงมือปฏิบัติระดมสมองพร้อมมีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห นในรูปแบบการทำงานเป็นทีมและ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมเป็นการสร้างองค์ความรู้จากการลง มือปฏิบัติจริงไม่ใช่เพียงแค่การรับฟังหรือรับความรู้จากผู้สอน ซึ่งเป็นการสร้างการเรียนรู้ที่มีความแตกต่างของนักเรียนแต่ละ คนให้สามารถเรียนรู้และเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพมากที่สุด เอกสารหมายเลข 2


23 ขอรับรองว่าข้าพเจ้าเป็นผู้ริเริ่มผลงานนี้จริง ลงชื่อ………………………………………………………เจ้าของผลงาน (นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์) …..๒๙……../…มีนาคม../…๒๕๖๖.. 7. ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนโดยย่อ ) นักเรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา ประการ มีจิตสานึกในคุณธรรม ๕ ประการตามคุณลักษณะนักเรียนของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มีค่านิยมพื้นฐาน ๒ ประการ มีจิตสาธารณะ และอยู่อย่าง พอเพียง ๒) นักเรียนมีความรู้ด้านวิชาการ มีผลงานด้านศิลปะ ดนตรี นาฎศิลป์ กีฬา และนันทนาการ ) นักเรียนมีกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น จากการลงมือทำกิจกรรม มีชิ้นงาน โครงงานและสามารถถอดบทเรียน ที่ได้จากการทำกิจกรรม ) นักเรียนสามารถนำกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบไปปรับใช้ในเรื่อง การเรียนและการทำงาน ๕) นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับชุมชนเพื่อต่อยอดสร้างเป็นอาชีพ ๖) ประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะด้านโครงงานอาชีพ และการพัฒนานวัตกรรมจนคว้ารางวัลระดับ เขตพื้นที่การศึกษา/ระดับภาค และระดับประเทศ ๗) โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับนักเรียนและประชาชน สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การมีอาชีพ วิถีชีวิตความเป็นไทย พึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ) ผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นมืออาชีพ มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของชุมชนและ สังคม การบริหารจัดการใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพงาน PDCA มีการกระตุ้นการทำงาน นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ครูทุกคนสามารถน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และการดำเนิน ชีวิตประจำวัน ประวัติส่วนตัว ผลงาน


24 ภาคผนวก


25


26


27


28


29 ผลงานดีเด่น รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง เหรียญทอง


30


31 แบบตรวจสอบเอกสารประกอบการเสนอประวัติและผลงานนวัตกรรม เพื่อพิจารณาคัดเลือกรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี 2566 ชื่อ-สกุล ผู้เสนอผลงาน....นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์......... ********************************************************************************** แบบเสนอประวัติและผลงานที่ยื่น (กรุณา ในช่องที่มีเอกสาร และจัดเรียงเอกสารตามลำดับที่กำหนด) 1. แบบรายงานประวัติและผลงานนวัตกรรม จำนวน 1 เล่ม ความยาวของเนื้อหาและภาคผนวก (ไม่รวมปก/คำนำ/สารบัญ) จำนวนไม่เกิน 30 หน้ากระดาษ A4 พิมพ์ด้วยอักษรแบบ TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 point ประกอบด้วย แบบรายงานประวัติและผลงานนวัตกรรม แบบสรุปชื่อผลงานนวัตกรรมฯ (เอกสารหมายเลข 1) แบบเสนอผลงานนวัตกรรม หรือการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน (เอกสารหมายเลข 2) 2. แผนการจัดการเรียนรู้ หรือแผนการจัดประสบการณ์ จำนวน 3 แผน และต้องสอดคล้องกับนวัตกรรม ที่ขอเสนอผลงาน จำนวน 1 เล่ม 3. Flash Drive ที่ต้องมีข้อมูลตามรายละเอียดดังนี้ แบบรายงานประวัติและผลงาน ในรูปแบบไฟล์ PDF แผนแผนการจัดการเรียนรู้ หรือแผนการจัดประสบการณ์ จำนวน 3 แผน และต้องสอดคล้องกับ นวัตกรรมที่ขอเสนอผลงาน ในรูปแบบไฟล์ PDF วีดิทัศน์การสอนจริง ความยาวไม่เกิน 60 นาทีและไม่มีการตัดต่อ ลิงก์วีดิทัศน์การสอนจริง 4. แบบบันทึกองค์ความรู้จากผลงานที่เสนอขอรับรางวัลครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี 2566 ข้าพเจ้าขอรับรองว่าแบบประวัติและผลงานที่เสนอประกอบการพิจารณาคัดเลือกฯ ดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ตามประกาศฯ กำหนดทุกประการ ลงชื่อ....................................................ผู้เสนอผลงาน (นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์) วันที่....29 มีนาคม ๒๕๖๖....... ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบเอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกฯ แล้ว ปรากฏว่า ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน ได้แก่................................................................................................ ลงชื่อ....................................................เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร (...................................................) วันที่................................................. สำหรับเจ้าหน้าที่คุรุสภาในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด


32


Click to View FlipBook Version