กลมุ่ โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รติ รัชมังคลาภเิ ษก
กรอบการนำเสนอผลงาน นวัตกรรม / วธิ ีการปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ (Best Practice)
ด้านการจดั การเรยี นรภู้ ายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
ประเภท ครผู ู้สอน ดา้ นการจดั การเรียนรู้แบบ Online ปกี ารศกึ ษา 2564
…………………………………………………………
ขอ้ มูลทั่วไป
1. ชื่อผลงาน การจดั การเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน์ KACHINO Model
2. ช่อื ผู้เสนอผลงาน ช่ือ นางสาวนชุ มาศ สวัสด์พิ าณชิ ย์ ตำแหนง่ ครู ค.ศ. 2 โทรศัพท์ 083-3613801
3. ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภิเษก ตำบล ปอพาน อำเภอ นาเชอื ก จังหวดั
มหาสารคาม สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
4. ประเภทผลงาน (/) ผลงานครูด้านการจดั การเรยี นร้แู บบ online
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน นวตั กรรม / วิธีการปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ประกอบด้วย
1. ทีม่ าและความสำคญั ของผลงานหรอื นวตั กรรมท่นี ำเสนอ
รัฐบาลไดป้ ระกาศสถานการณ์ฉุกเฉนิ กรณีการแพรร่ ะบาดไวรสั โคโรน่า 2019 หรอื COVID 19 ฉบับ
แรกเมื่อเดือนมนี าคม 2563 หลงั จากมีการแพรร่ ะบาดของไวรัสเข้ามาในประเทศไทยเมื่อต้นปี 2563
โดยเฉพาะเข้ามาทางประเทศจนี ทเี่ ปน็ ต้นกำเนิดของสถานการณ์แพร่ระบาดทวั่ โลกนน่ั เอง การแพร่ระบาดของ
ไวรสั เกิดขึน้ โดยอาศยั ตัวพาหะนำน้ำลาย น้ำมูกแพร่กระจายใหผ้ ู้อนื่ การรบั มือ ระยะแรก เป็นการใชม้ าตรการ
ทางสาธารณสุขมาช่วย คือ การใส่หน้ากากอนามัย การใช้เจลแอลกอฮอร์ ล้างมือ ลดการสัมผัส ลดการ
รวมกลุ่ม และการรับประทานอาหารโดยใช้ชอ้ นตวั เอง ผลของการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉนิ ในพระราชกิจจา
นเุ บกษา ทำให้ประเทศไทยหยุดชะงักทุกด้านไมว่ า่ จะเปน็ ด้านการท่องเท่ยี ว ดา้ นการพาณิชย์ การทำงาน และ
ดา้ นการศึกษาในสว่ นของโรงเรยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
เม่ือการแพร่ระบาดไวรสั โคโรน่า 2019 เปน็ สว่ นหน่ึงของการดำเนินชวี ติ มนษุ ย์เร่ิมมีการปรับตัวใน
การใชช้ ีวิต ซึง่ เป็นคณุ สมบตั ิอยา่ งหน่ึงของคนเราท่ีอยรู่ อดปลอดภยั จากอดีตมาจนปัจจบุ ัน ชีวิตประจำวนั ทถ่ี ูก
ตกี รอบตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) ตลอดจนความกลวั การติดเชื้อ COVID-19
ได้เกิดแนวทางการทำงานท่บี ้าน (work from home) และคนไทยก็ได้รู้จักโปรแกรมท่ีเป็นตวั ช่วยในกาทำงาน
ทีบ่ า้ นมากมาย หนึ่งในนนั้ คือโปรแกรมที่ใช้ในการประชมุ ออนไลน์ เชน่ ZOOM, MEET, Hangout และ MS
Team ในด้านการศึกษาได้มีการปรบั เปลย่ี นการเรียนการสอนโดยมีสิง่ ที่คนเคยได้ยิน แต่ไม่ค่อยรูจ้ กั น่ันคอื
รปู แบบการเรียนการสอนออนไลน์ไดเ้ ป็นทีร่ ู้จักมากขึน้ เม่ือไม่สามารถเรยี น on-site ได้ในฐานะครผู สู้ อนจึงได้
ปรับบทบาทการสอนตามผลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื COVID-19 เข้าสู่ระบบการ
สอนหอ้ งเรยี นออนไลน์ในประเด็นองคป์ ระกอบ รูปแบบ และการประยุกต์ใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์
เพ่อื เตรียมความพร้อมสำหรบั ผู้สอน และพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรู้ (Learning Outcomes) ของผเู้ รยี นให้
เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ต่อไปและได้ออกแบบกระบวนการเรียนรูเ้ พื่อใหน้ ักเรียนสามารถเรียนรู้
ไดท้ กุ ที่ทุกเวลาโดยใช้นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอน KACHINO Model ในรปู แบบออนไลน์
2. จดุ ประสงค์และเปา้ หมาย ของการดำเนินงาน
2.1. ผู้เรยี นสามารถเรียนร้ไู ด้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรสั โคโรนา่ 2019 หรอื COVID 19
2.2. ผเู้ รยี นไดป้ ระสบการณ์ใหม่และฝึกทกั ษะการใช้เทคโนโลยใี นการเรียนรู้
2.3. ผู้เรียนสามารถค้นหาหรอื เข้าถงึ บทเรยี นได้ทุกเวลาขณะทต่ี ้องการ
2.4. ผูส้ อนนำเสนอเนื้อหา แบบทดสอบท่ีทันสมัยใหแ้ ก่ผ้เู รียน
2.5. เน้นการเผยแพรผ่ ลงานของผ้สู อนสสู่ าธารณะ
3. กระบวนการผลติ ผลงาน หรือขั้นตอนการดำเนนิ งาน
องค์ประกอบของการประเมินการเรยี นการสอนตามแนวคิดเชิงระบบ
ภาพที่ 1 แสดงการประเมินการเรียนการสอนตามแนวคิดเชงิ ระบบ
ข้นั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างเป็นระบบ
ภาพที่ 2 แสดงขัน้ ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ
รูปแบบและวธิ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
KACHINO Model
K = Knowledge มีความรู้ทางวิชาการ
A = Awareness มีความตระหนกั รู้ นำความรู้ไปใช้อย่างมีคณุ ธรรมและจริยธรรม
C = Can สามารถเรยี นรไู้ ด้ สามารถทำได้ สามารถคิดเชื่อมโยงได้
H = Head พัฒนาสมอง
= Heart พัฒนาจติ ใจ
= Hand พฒั นาทกั ษะการปฏิบัติ
= Health พัฒนาสขุ ภาพ
= Happy เรยี นอยา่ งมีความสุข
I = Inquiry Method การเรียนร้แู บบสบื เสาะ
N = Nonstop ไมห่ ยดุ นง่ิ ในการเรยี นรู้
O = Open mind เปดิ ใจท่จี ะเรยี นรู้
----------------------------------------------------------------------------------
Five Step to development
Q = Learning to Question = ต้ังประเดน็ คำถาม
S = Learning to Search = สืบคน้ ความรู้
C = Learning to Construct = สรุปองค์ความรู้
C = Learning to Communicate = สื่อสารนำเสนอ
S = Learning to Serve = บรกิ ารสังคม
----------------------------------------------------------------------------------
L = Literacy = ทกั ษะการรหู้ นงั สอื อ่านออก เขยี นได้
N = Numeracy = ทกั ษะพื้นฐานด้านการคิดคำนวณ
R = Reasoning = ทักษะการใชเ้ หตุผล
----------------------------------------------------------------------------------
ภาพที่ 3 แสดงรูปแบบและวิธกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน KACHINO Model
ในการเรยี นร้อู อนไลน์ ทฤษฎีการเรยี นร้ทู ่เี กี่ยวข้องท่ผี ้เู ขยี นได้นำเสนอคอื ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของกาเย่
ท้ังน้เี พราะนกั การศึกษาส่วนใหญ่จึงยดึ ตามการจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการ 9 ขั้นตอนของกาเย่
(Robert Gagne) ในการออกแบบและพัฒนาบทเรียนบนเว็บ ดงั มรี ายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 กระตุ้นหรือเรา้ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความสนใจกับบทเรยี นและเน้อื หาทจ่ี ะเรียน (Motivate
the Learner) การเร้าความสนใจผู้เรยี นนี้อาจทำได้โดย การจัดสภาพแวดล้อมใหด้ ึงดดู ความสนใจ เช่นการใช้
ภาพกราฟกิ ภาพเคลือ่ นไหว และ/หรือการใช้เสยี งประกอบบทเรียนในสว่ นบทนำ
ขน้ั ตอนท่ี 2 บอกให้ผู้เรยี นทราบถงึ จุดประสงค์ของบทเรียน (Inform Learners of Learning
Objectives) การบอกใหผ้ ู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนนีม้ คี วามสำคัญเป็นอย่างยิง่ โดยเฉพาะการเรียน
การสอนบนเว็บที่ผู้เรยี นสามารถควบคมุ การเรยี นของตนเองได้ โดยการเลอื กศึกษาเน้ือหาทตี่ ้องการศึกษาได้เอง
ดังน้ันการท่ผี ู้เรยี นไดท้ ราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนล่วงหนา้ ทำใหผ้ ู้เรียนสามารถมงุ่ ความสนใจไปท่เี นื้อหา
บทเรยี นท่เี ก่ียวข้อง อกี ท้ังยงั สามารถเลอื กศึกษาเน้ือหาเฉพาะท่ีตนยังขาดความเข้าใจที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนมี
ความรูค้ วามสามารถตรงตามจดุ ประสงค์ของบทเรียนท่ีไดก้ ำหนดไว้
ขั้นตอนที่ 3 ทบทวนความรู้เดมิ ที่เกย่ี วข้องกบั เนอ้ื หาบทเรียน (Recall Previous Knowledge) การ
ทบทวนความรู้เดิมชว่ ยกระตุ้นใหผ้ ้เู รียนสามารถเรยี นรูเ้ นื้อหาใหม่ได้รวดเร็วยง่ิ ขน้ึ รูปแบบการทบทวนความร้เู ดมิ
ในบทเรียนบนเวบ็ ทำไดห้ ลายวิธีเชน่ กจิ กรรมการถาม-ตอบคำถาม หรือการแบ่งกลมุ่ ใหผ้ เู้ รียนอภปิ ราย หรือสรปุ
เนือ้ หาท่ีไดเ้ คยเรยี นมาแล้ว เปน็ ตน้
ขน้ั ตอนท่ี 4 นำเสนอบทเรียน (Present the Material to be Learned) การนำเสนอบทเรยี นบน
เวบ็ สามารถทำไดห้ ลายรปู แบบดว้ ยกันคอื การนำเสนอด้วยขอ้ ความ รูปภาพ เสียง หรอื แม้กระทั่งวดี ทิ ัศน์
อย่างไร ก็ตามสิง่ สำคัญที่ผ้สู อนควรใหค้ วามสำคัญก็คือผ้เู รียน ผ้สู อนควรพิจารณาลักษณะของผู้เรียนเปน็ สำคญั
เพื่อให้ การนำเสนอบทเรยี นเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นมากที่สดุ
ข้นั ตอนท่ี 5 ชแ้ี นวทางการเรียนรู้ (Provide Guidance for Learning) การชแ้ี นวทางการเรยี นรู้
หมายถึงการช้ีแนะให้ผูเ้ รยี นสามารถนำความรทู้ ไี่ ดเ้ รียนใหมผ่ สมผสานกบั ความรูเ้ ก่าที่เคยไดเ้ รียนไปแล้ว เพอื่ ให้
ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรทู้ รี่ วดเร็วและมีความแมน่ ยำมากยิง่ ขึ้น
ข้ันตอนท่ี 6 ใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วนร่วมในการเรยี น (Active Involvement) นักการศึกษาตา่ งทราบดวี า่ การ
เรยี นรู้เกิดขึ้นจากการท่ผี ู้เรยี นได้มีโอกาสมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการเรยี นการสอนโดยตรง ดังนัน้ ในการจัดการ
เรียนการสอนบนเว็บ จงึ ควรเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนซึ่งอาจทำได้โดยการจดั กิจกรรม
การสนทนาออนไลน์
ข้นั ตอนที่ 7 ใหผ้ ลย้อนกลับ (Provide Feedback) ลักษณะเดน่ ประการหน่งึ ของการเรยี นการสอน
บนเวบ็ กค็ อื การที่ผสู้ อนสามารถติดต่อส่ือสารกับผ้เู รยี นได้โดยตรงอย่างใกล้ชดิ เนื่องจากบทบาทของผสู้ อนนั้น
เปลี่ยนจากการเป็นผูถ้ ่ายทอดความรูแ้ ตเ่ พียงผเู้ ดยี ว มาเปน็ ผู้ใหค้ ำแนะนำและช่วยกำกับการเรียนของผ้เู รยี น
รายบคุ คล และดว้ ยความสามารถของอินเทอร์เน็ตท่ที ำให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถตดิ ต่อกนั ไดต้ ลอดเวลา ทำ ให้
ผสู้ อนสามารถตดิ ตามก้าวหน้าและสามารถให้ผลยอ้ นกลบั แก่ผู้เรียนแตล่ ะคน ได้ดว้ ยความสะดวก
ขัน้ ตอนที่ 8 ทดสอบความรู้ (Testing) การทดสอบความรู้ความสามารถผ้เู รียนเปน็ ข้ันตอนทส่ี ำคัญ
อกี ขั้นตอนหน่ึง เพราะทำให้ท้ังผู้เรียนและผู้สอนได้ทราบถึงระดบั ความรู้ความเข้าใจที่ผู้ เรยี นมีต่อเนื้อหาใน
บทเรยี นนน้ั ๆ การทดสอบความรูใ้ นบทเรยี นบนเว็บสามารถทำไดห้ ลายรปู แบบ ไมว่ ่าจะเปน็ ข้อสอบแบบปรนัย
หรืออตั นยั การจัดทำกจิ กรรมการอภปิ รายกลุ่มใหญห่ รือกลุ่มย่อยเป็นต้น ซง่ึ การทดสอบน้ี ผู้เรยี นสามารถทำการ
ทดสอบบนเวบ็ ผ่านระบบเครือขา่ ยได้
ขนั้ ตอนที่ 9 การจำและการนำไปใช้ (Providing Enrichment or Remediation) สามารถทำไดโ้ ดย
การกำหนดตัวเช่อื ม (Links) ทีอ่ นญุ าตใหผ้ ู้เรยี นเลือกเข้าไปศกึ ษาเนอ้ื หาเพมิ่ เติมในสง่ิ ที่นา่ จะเปน็ ประโยชน์ใน
การนำองค์ความรู้ท่ีไดร้ บั มาไปใช้
รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์
เมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา่ 2019 ทสี่ ่งผลทำให้ผู้สอนและผู้เรียนมปี ฏสิ ัมพันธ์
ทางดา้ นวชิ าการลดลง ไมส่ ามารถจัด กระบวนการเรยี นการสอนตามปกติได้ จึงจำเปน็ อย่างย่ิงท่ีจะต้องมกี ารปรับ
รูปแบบการเรียนการสอนใหม้ ีความเหมาะสม ซึง่ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ถือว่าเป็นส่วนสำคัญท่ีจะทำให้
เกิดการเรยี นรแู้ ละสามารถดำเนนิ การได้อยา่ งต่อเนื่อง แต่ส่ิงท่ตี อ้ งคำนึงถึงคือการคงไวซ้ ง่ึ การมีปฏิสมั พันธร์ ะหว่าง
ผสู้ อนกับผู้เรียน เพราะการมีปฏสิ มั พันธข์ องผสู้ อนและผเู้ รียนจะสง่ ผลทำให้ผูเ้ รียนมีแรงจงู ใจในการเรียนรเู้ พือ่
นำไปสกู่ าร พฒั นาตนเองและยงั สง่ ผลใหก้ ารเรยี นรู้มีคุณภาพ ครผู ู้สอนได้ใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอนดงั นี้
1. การเรยี นการสอนออนไลนด์ ว้ ยรูปแบบ Google Classroom เปน็ รูปแบบการเรียนการสอน
ออนไลน์ท่มี ีการปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รียน Google Classroom ถูกออกแบบมาเพ่ือช่วยให้ครูสร้างและ
ลดกระดาษในการจัดเก็บ รวมทัง้ คุณสมบัตทิ ีช่ ว่ ยประหยัดเวลา เชน่ ความสามารถในการสำเนา
เอกสาร Google ให้กบั นักเรียนแต่ละคน นอกจากนี้ยังสร้างโฟลเดอร์สำหรับแต่ละบคุ คลท่ีได้รบั มอบหมาย
นกั เรียนสามารถติดตามงาน ทไี่ ด้จากการกำหนดบนหนา้ และเรม่ิ ต้นการทำงาน ดว้ ยเพียงไม่กค่ี ลกิ ครูสามารถ
ติดตามการทำงานว่าใครยงั ไม่เสรจ็ ใหต้ รงตามเวลา ยงั สามารถแสดงความคดิ เหน็ แบบเรยี ลไทม์ และผลการเรยี น
ในช้ันเรยี น การตอบโต้แสดงความคิดเหน็ ระหวา่ งผู้สอนและผเู้ รียน การประเมนิ ผลการเรียน และการทดสอบ โดย
ครผู สู้ อนมีการพฒั นาต่อจากการมปี ฏิสมั พนั ธ์ระหว่างผสู้ อนและผู้เรียน เชน่ การพัฒนากระบวนการคดิ ขน้ั สูง การ
คิด แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถนำองคค์ วามรู้ไปใช้ในการปฏิบัตงิ านต่อไป
ประโยชนข์ องการใช้งาน Google Classroom
1.1. ตง้ั ค่าได้ง่ายดาย ครสู ามารถเพ่มิ นักเรียนไดโ้ ดยตรง หรอื แชรร์ หสั เพื่อให้นกั เรียนเข้าชั้นเรียนได้
การต้ังค่าใช้ เวลาเพยี งไมน่ าน
1.2. ประหยัดเวลา กระบวนการทำงานเรยี บง่าย ไมส่ ้นิ เปลืองกระดาษ ทำให้ครสู รา้ ง ตรวจ และให้
คะแนนงานได้อยา่ งรวดเร็ว
1.3. ชว่ ยจดั ระเบียบ นกั เรยี นสามารถดูงานท้งั หมดของตนเองได้ในหนา้ งาน และเนอ้ื หาสำหรบั ช้ัน
เรียนทั้งหมดจะถูกจัดเกบ็ ในโฟลเดอรภ์ ายใน Google ไดรฟ์โดยอัตโนมตั ิ
1.4. ส่อื สารกนั ไดด้ ียิ่งข้ึน Classroom ทำให้ครสู ามารถสง่ ประกาศและเริ่มการพดู คุยในชนั้ เรียนได้
ทนั ที นักเรยี นสามารถแชร์แหล่งข้อมลู กันหรอื ตอบคำถามในสตรมี ได้
1.5. ประหยัดและปลอดภยั เชน่ เดียวกบั บริการอื่นๆ ของ Google Apps for Education คือ
Classroom
ภาพที่ 4 การเรียนการสอนออนไลนร์ ปู แบบ Google Classroom
2. วธิ ีการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านโปรแกรมการประชุมออนไลน์ได้ เช่น โปรแกรม Zoom
โปรแกรม Google Meeting Hangout เป็นต้น ซ่งึ เปน็ โปรแกรมการประชมุ วิดโี อทางไกลท่ีผูส้ อนสามารถ เตรยี ม
เอกสารประกอบการสอน เช่น PowerPoint วิดโี อ รปู ภาพ เอกสารการสอนในรปู ของไฟล์ Word Excel เปน็ ตน้
โดยท่ผี ู้สอนและผู้เรยี นสามารถมปี ฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเรียนการสอนได้ รวมทง้ั สามารถ บนั ทึกไฟล์ภายหลังการ
สอนเพ่ือใหส้ ามารถเรยี นย้อนหลงั ได้ อยา่ งไรก็ตามก่อนที่ จะมีการเรยี นการสอนผา่ นโปรแกรมการประชมุ
ออนไลน์ ผสู้ อนควรออกแบบเนือ้ หาให้สอดคล้องกับส่อื การ สอน ระยะเวลารวมทั้งควรมกี ารประเมนิ ผลระหว่าง
และภายหลังการเรียนการสอน เพือ่ ตรวจสอบความ เข้าใจเน้ือหาของผู้เรยี น จากกระบวนการจัดการเรยี นการ
สอนแบบออนไลนท์ ี่สง่ เสรมิ ให้ผสู้ อนและผเู้ รยี นได้มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างกนั และกันด้วยกระบวนการต่างๆข้างตน้
น้ัน จำเป็นอย่างยงิ่ ทีผ่ ู้สอนต้องมกี ารวิเคราะห์ถึงหลักสูตร วตั ถุประสงค์ เนือ้ หา วิธกี ารจัดการเรียนการสอน การ
วัดประเมินผล ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ เพ่ือออกแบบ การสอนออนไลน์ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
ภาพที่ 5 การเรยี นการสอนออนไลน์ผ่านโปรแกรมการประชุมออนไลน์
3. การเรยี นการสอนผ่านเวบ็ (Web-Based Instruction) เปน็ การผสมผสานกนั ระหวา่ ง
เทคโนโลยี ปจั จุบันกบั กระบวนการออกแบบการเรยี นการสอน เพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพทางการเรยี นรแู้ ละแกป้ ญั หา
ในเร่อื งข้อจำกดั ทางด้านสถานทีแ่ ละเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยกุ ต์ใช้คณุ สมบัติและทรพั ยากรของเวลิ ด์
ไวด์ เว็บ ในการจดั สภาพแวดลอ้ มท่สี ่งเสริมและสนับสนนุ การเรยี นการสอน ในการสอนผ่านเว็บน้ีครูผสู้ อนได้นำ
เน้อื หา ใหผ้ เู้ รยี นได้ศึกษาเพ่ิมเติมจากการท่ีเรียนในชั้นเรยี น ข้อดีคือนักเรยี นสามารถเรียนไดท้ ุกท่ที ุกเวลา มีให้
เลอื กทางหลายเชน่ facebook /page / Blog เปน็ ตน้
ภาพที่ 6 การเรยี นการสอนผ่านเวบ็ (Web-Based Instruction)
4. ผลการดำเนนิ การ/ผลสัมฤทธิ/์ ประโยชน์ที่ได้รับ
จากความรทู้ ี่ขา้ พเจ้าได้รับการพัฒนา ขา้ พเจา้ ไดน้ ำความรู้ไปสรา้ งเพจบน facebook ซง่ึ ภายในจะมี
เนื้อหาความรู้ ท่เี กี่ยวข้องกบั เน้อื หาในแตล่ ะกิจกรรมการเรียน รู้ มีการมอบหมายให้นักเรยี นทำกจิ กรรมตา่ งๆ
มกี ารเช่อื มโยงเทคโนโลยสี ารสนเทศ ต่างๆที่มอี ยบู่ นเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ตมาใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการจดั การ
เรยี นรู้ เพือ่ ใหน้ ักเรยี นรูจ้ กั ใช้อินเทอรเ์ น็ตให้เกิดประโยชน์ สามารถใช้ในการเรยี นออนไลน์ได้
ภาพท่ี 7 แสดงการเผยแพร่การเรยี นการสอนออนไลน์
จากความรู้ท่ีข้าพเจา้ ได้รับการพฒั นาและนำมาใช้ในการจัดการเรียนรนู้ น่ั เอง ทำให้มีเพ่ือนครูให้ความ
สนใจ และต้องการไดร้ ับความรู้ จึงได้เผยแพรใ่ ห้ความรูก้ บั เพอ่ื นครทู ้ังในโรงเรยี น
ข้าพเจา้ ได้นำความรู้ไปใช้พัฒนาผเู้ รียนแบบองค์รวม กล่าวคอื พัฒนาผเู้ รียนทั้งดา้ นความรู้
ทักษะ กระบวนการและเจตคติ โดยมขี ัน้ ตอนดงั น้ี
1.1) ศกึ ษาหลักสูตรของโรงเรียน ศกึ ษาเอกสารประกอบหลักสูตรและวิเคราะห์หลกั สตู ร
1.2) ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละจดั ทำแผนการเรยี นรูอ้ ย่างชัดเจน ซ่ึงในแผนการจัดการเรยี นรู้
นอกจากจะกำหนดมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัดแล้ว จะกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ท่คี รอบคลมุ ท้ัง 3
ดา้ น คือ ดา้ นพุทธิพิสัย ดา้ นจิตพสิ ยั และด้านทกั ษะพสิ ยั
1.3) ระบเุ ทคนคิ วธิ กี ารในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ระบุใช้สอ่ื /นวัตกรรมทใี่ ช้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกบั เนื้อหาสาระและผู้เรยี น
1.4) กำหนดวิธกี ารวดั และประเมินผลพร้อมเครอื่ งมือการวดั และประเมนิ ผลไวอ้ ยา่ งชดั เจน
1.5) จากนน้ั นำแผนการจดั การเรยี นรู้ไปใช้จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รยี น เป็นสำคญั ใชส้ อ่ื /
นวัตกรรมอย่างหลากหลายประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ รวมท้งั ออกแบบและสร้างเครื่องมอื วัดและ
ประเมินผลการเรียนรูใ้ ห้ครอบคลุมตามตวั ช้ีวดั และมาตรฐานการเรียนรู้
ท้งั นี้ ข้าพเจา้ มีการวัดและประเมนิ ผลในรายวชิ าวิทยาศาสตร์ คือ การประเมินการปฏิบัติ (Authentic
Assessment) และการประเมนิ สภาพจริง (Performance Assessment) โดยผ่านการปฏบิ ัตขิ องผเู้ รียน โดย
การวัดและประเมนิ ผลดว้ ยวิธีการดงั กล่าวต้องวัดและประเมนิ ได้ครอบคลุม ครบถ้วนพฤติกรรมของผู้เรยี นท้ัง
3 ดา้ น ดังนี้
ด้านพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) การประเมนิ ความรู้ในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ เปน็ การให้ผ้เู รียน
ไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจและสามารถประยุกตใ์ ช้ ทั้งเนื้อหาดา้ นทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ซงึ่ ความรใู้ นเน้อื หาสาระนี้
สามารถประเมนิ โดยการใชแ้ บบทดสอบ
ด้านจติ พสิ ัย (Affective Domain) เป็นการประเมนิ การแสดงออกของผู้เรยี นท้งั หมดตลอดจน การ
ทำงานร่วมกนั และคุณลักษณะตา่ งๆ ซึ่งสามารถประเมินดว้ ยวิธีการสงั เกตได้อยา่ งชดั เจน
ด้านทกั ษะพิสัย (Psychomotor Domain) การประเมนิ ทักษะในรายวชิ าวิทยาศาสตรต์ ามทกั ษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะท่ีสำคญั ของนกั เรยี นในศตวรรษที่ 21
2) นำไปบูรณาการกับหนว่ ย/เรื่องอน่ื ๆ ได้
ข้าพเจ้าสามารถนำความรู้จากการพฒั นาตนเองไปบูรณาการกับหนว่ ย/เรอ่ื งอน่ื ๆ ได้ กลา่ วคอื
ระหว่างทข่ี ้าพเจา้ วิเคราะห์หลักสตู รและออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ ข้าพเจ้าจะประยุกต์ใช้องค์ความรูท้ ีม่ ีในการ
เลือกตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรทู้ มี่ ีความสมั พนั ธ์เกย่ี วข้องกนั ในการกำหนดหนว่ ยการเรียนรู้และกำหนด
สาระสำคัญหรือความคิดรวบยอดได้อยา่ งลงตวั ในโครงสร้างรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ มีความเชอื่ มโยงสอดคล้อง
กนั ต้ังแต่มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้ ความคดิ รวบยอด การกำหนดเวลา (ชัว่ โมง) และ
การกำหนดนำ้ หนักคะแนน รวมทง้ั การตั้งช่ือหน่วยการเรียนรู้ ซง่ึ ในแต่ละประเดน็ มีความสมั พนั ธเ์ ช่อื มโยงกัน
อยา่ งกลมกลืน
3) นำไปใชบ้ รู ณาการกับรายวิชาอื่นๆ ได้
ข้าพเจา้ ได้ใช้องค์ความรู้จากการพฒั นาตนเอง นำไปพัฒนาผ้เู รียนให้เกิดองคค์ วามร้ทู ี่มีการเช่อื มโยงกนั ใน
ทกุ รายวชิ า โดยการบูรณาการกับรายวิชาอ่นื ๆ ได้แก่
ภาษาไทย
การสอนให้ผ้เู รยี นมองเหน็ ความสัมพันธข์ องการนำความรดู้ ้านภาษาไทยมาใชก้ ับ
รายวิชาวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ การส่ือสาร การใชถ้ ้อยคำ การออกเสียงคำ อกั ขระ คำควบ
กลำ้ ฯลฯ ให้ถกู ต้องตามหลกั ภาษาไทย การเรียบเรยี งบทความและรายงานผลเกยี่ วกบั
คณติ ศาสตร์ ช้นิ งาน
การสอนให้ผเู้ รยี นรู้จกั นำความรู้ทางคณิตศาสตร์ประยุกตใ์ ช้ในการคำนวณ การวัด การ
สังคมศกึ ษา กำหนดค่าใชจ้ ่าย ฯลฯ
การสอนให้ผเู้ รยี นการนาความรเู้ กย่ี วกับเก่ยี วกบั สงั คมศึกษา ประวตั ศิ าสตร์ มาใช้ศึกษา
ประวตั ิการดำเนนิ การด้านความรทู้ างวิทยาศาสตรข์ องเรอื่ งตา่ งๆ และความรู้เกี่ยวกับ
ทอ้ งถิน่ แตล่ ะแหง่ ความเชือ่ และวฒั นธรรมของการศึกษาหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์
ฯลฯ
การงานอาชีพ การสอนใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามรู้เร่ืองงานประดษิ ฐ์ และสรา้ งอปุ กรณ์ หรอื ช้นิ งาน ตลอดจน
และเทคโนโลยี การสร้างสอ่ื สามมิตใิ นการนำเสนอผลงานทางวทิ ยาศาสตร์
การใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบคน้ หาความรู้ และสามารถนำมาใช้
ภาษาต่างประเทศ ประการการนำเสนอข้อมลู ของนักเรียนเองได้อย่างเหมาะสม ฯลฯ
การสอนใหผ้ ู้เรียนมีความรู้เก่ียวกบั คำศัพทเ์ ฉพาะทางวทิ ยาศาสตร์ทง้ั ภาษาไทยและใช้
ภาษาอังกฤษในการเรยี นรู้อย่างเหมาะสม ฯลฯ
จะเห็นว่าจากข้อมูลข้างต้น ข้าพเจา้ สามารถใชอ้ งค์ความรู้มาวเิ คราะหเ์ ปน็ หลกั ในการบูรณาการกบั
รายวชิ าอน่ื ๆ ได้เหมาะสมตามสภาพจริงและยังสามารถนำไปใช้ในการจดั กิจกรรมได้อยา่ งลงตัว
ภาพที่ 8 แสดงการบูรณาการกิจกรรมกับรายวชิ าอื่นๆ ได้
4) นำไปใช้เปน็ ตน้ แบบเผยแพรข่ ยายผลได้
จากผลการพฒั นาตนเองทำให้ข้าพเจ้าเกดิ องคค์ วามร้ทู ่ีเป็นกระบวนการ สามารออกแบบการพัฒนา
ผเู้ รยี นอย่างมีระบบและขนั้ ตอนตามหลกั วิชาการ กล่าวคือ เร่มิ ต้งั แตก่ ารวิเคราะห์หลักสูตร ออกแบบหนว่ ย
การเรียนรู้ จัดทำแผนการเรยี นรู้ การใช้ส่อื /นวัตกรรม ตลอดจนการวดั และประเมินผลอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตามสภาพจริงและจดั ทำวจิ ัยช้ันเรยี นซึ่งไดเ้ ผยแพร่ ดงั น้ี
4.1) เผยแพร่เปน็ เอกสารให้กับครใู นโรงเรียน โรงเรียนในศูนย์เครอื ข่าย และโรงเรียนในสงั กัด
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
4.2) เผยแพร่ผา่ นสอื่ ออนไลน์ Facebook
4.3) เผยแพรใ่ นการประชมุ สัมมนาครูกลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตรภ์ ายในโรงเรียน
4.4) เผยแพร่ผา่ นการศึกษาดูงานของคณะครูโรงเรยี นต่างๆ
ภาพท่ี 9 แสดงการเผยแพร่ขยายผล
5) เช่ือมโยง/นำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้
ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการพฒั นาตนเองสามารถนำไปเช่ือมโยง/นำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ในการจัดกจิ กรรม
การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์ ประกอบดว้ ย
1) การให้นักเรยี นทำงานเปน็ กลุ่ม เพื่อฝกึ ให้อยรู่ ว่ มกนั ให้ชว่ ยคดิ รว่ มแสดงความคิดเหน็ รบั ฟงั
เพื่อน ช่วยเหลอื เก้ือกูลกัน เป็นการพัฒนาคุณภาพใหเ้ กดิ เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ จะมีกฎกติการ่วมกันเพ่ือ
เรียนรูก้ ารทำงานเปน็ ทีม เนน้ การสร้างอาชีพ
2) ในการเรียนวิทยาศาสตร์ ทกั ษะสงั เกต เปน็ เร่ืองสำคัญที่ต้องฝึกฝนใหน้ กั เรยี นได้พฒั นาเรียนรู้
เพราะเปน็ สิง่ จำเปน็ ในชวี ติ ประจำวัน แมเ้ รื่องใกลต้ ัว การสร้างพนื้ ฐานการเป็นนกั วทิ ยาศาสตร์โดยศกึ ษาสังเกต
อยา่ งเป็นระบบเพื่อใหน้ ักเรียนหาคำตอบดว้ ยตนเอง นับเป็นเป็นรากฐานสำคญั ของการแสวงหาความรู้ รวมทั้ง
เป็นทกั ษะสำคัญของการดูแลตัวเองให้อยู่รอดปลอดภัย
3)การทดลองวทิ ยาศาสตร์ คอื สุดยอดปรารถนาของผเู้ รียนระดบั มัธยมศึกษา เพราะนกั เรียน ไดล้ ง
มือกระทำดว้ ยตนเอง ไดแ้ ลกเปล่ียนเรียนรรู้ ่วมงานกับเพ่ือน ใชพ้ ลังความคดิ สร้างสรรคแ์ ละ จนิ ตนาการ ฝึก
ทักษะการสงั เกต ทำงานเปน็ ข้นั ตอน มรี ะบบคิด มีเหตมุ ผี ล ไดค้ น้ พบความรูด้ ว้ ยตวั เอง มคี วามภาคภมู ใิ จ ได้
ลองทำ ลองแก้ไข ปรบั ปรงุ พัฒนางาน ซงึ่ จะนำไปสูก่ ารเป็นคนที่มีหลกั ในการคิด การหาคำตอบอยา่ งมเี หตผุ ล
ไม่หลงเชื่องมงาย ตลอดจนเปน็ การฝึกใช้สมอง ตา มือ ให้สอดคลอ้ งสัมพนั ธ์กนั และฝกึ การใช้อปุ กรณ์ทาง
วทิ ยาศาสตร์ การทดลองวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ กิจกรรมท่ีสนุก ท้าทายและตอบสนองการเรยี นรขู้ องครูและเด็ก
4) เรียนรูธ้ รรมชาติเพอื่ รูจ้ กั และรูร้ ักษาโลก การใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นรแู้ ละเข้าใจในปรากฏการณ์
ธรรมชาติ การเปล่ียนแปลงของโลก เหตุและผลกระทบต่างๆ จะช่วยใหน้ ักเรยี นในปัจจุบัน ซึง่ จะเติบโตเปน็
ผู้ใหญ่ในอนาคต เรียนรทู้ ี่จะรักษาโลก ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้มนุษย์มชี วี ติ อย่อู ยา่ งเป็นสขุ
ได้ยาวนาน
5) การใชเ้ ทคโนโลยี นักเรียนสามารถเลอื กและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพ่อื การพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ ง
สรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม นำเทคโนโลยีมาใช้ประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนางานสรา้ งอาชพี
การแก้ปญั หา /การพัฒนาผู้เรียน ประโยชน์
1) การแก้ปญั หา / พัฒนาผู้เรยี นโดยใชก้ ระบวนการวิจยั ในช้ันเรยี น
ขา้ พเจา้ พัฒนาและแก้ไขปัญหาผูเ้ รยี นโดยใช้กระบวนการวิจัยชั้นเรยี น
ชื่องานวจิ ัย การทดลองใช้สือ่ หนังสือบทเรียนการ์ตนู เรื่อง ระบบรา่ งกายในการพัฒนาการเรยี นรู้รายวิชา
วทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี น ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2
ช่ือผู้วจิ ัย นางสาวนุชมาศ สวสั ดิพ์ าณชิ ย์
กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันสอื่ มคี วามสัมพนั ธใ์ นการดำเนินชวี ติ ของมนษุ ย์ในทกุ ทุกด้าน ดังเชน่ ดา้ นการศึกษา
คอมพวิ เตอร์มสี ว่ นช่วยในการนำเสนอสิง่ ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งนา่ สนใจเปน็ ระบบ ทำให้เกดิ ความเพลดิ เพลนิ จาก
รปู แบบในการนำเสนอ สามารถชว่ ยให้ผ้สู อนจดั ทำบทเรยี นการต์ ูน ทำให้ผ้ทู ่ีทำการเรียนรู้เกดิ ประสบการณ์
และมีกระบวนการในการเรยี นรทู้ ี่เปน็ ระบบและเกิดความเข้าใจได้ง่ายขน้ึ อีกทงั้ ยังสามารถใช้ในการทบทวน
ซำ้ แลว้ ซ้ำเล่าได้อกี เป็นอย่างดี เม่อื ตอ้ งการศึกษาเพิ่มเติม มขี ้อสอบเพ่ือใชท้ ดสอบความสามารถในการเรยี นรู้
ของผู้เรียนไดเ้ ป็นอย่างดี เพราะเมื่อผ้เู รยี นได้หัดทำข้อสอบมากเท่าไรก็ตามผู้เรยี นกจ็ ะเกิดการเรยี นรแู้ ละมี
ความชำนาญและเกดิ เปน็ ประสบการณ์ทางการเรียนรู้ในสาขาวิชานั้นตอ่ ไป มีการประมวลผลการเรียนร้ขู อง
นกั เรียน จงึ ไดท้ ำการวางแผนการดำเนนิ การและจดั ทำสือ่ หนังสือบทเรียนการต์ ูน เพอ่ื เพ่ิมผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของนักเรียนผลจากการใช้สือ่ การสอนดงั กลา่ วโดยใชแ้ บบทดสอบและแบบสอบถาม และการ
ประเมนิ สภาพจริงปรากฏว่า นักเรียนสามารถเรยี นรู้ได้เรว็ และเข้าใจเน้อื หาไดเ้ ป็นอย่างดี รวดเร็วและมี
ความสุขในการเรยี นรู้ อีกทง้ั ยงั สามารถพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ในการเรยี นรู้อีกดว้ ย จากการจดั ทำการ
ประเมินโดยใชแ้ บบสอบถามผลปรากฏว่า ผลการใชส้ ่อื การเรยี นการสอนท่ีจัดทำขน้ึ จากการประเมนิ แบบสุ่ม
ตัวอย่างนักเรียนทใ่ี ช้ส่ือการเรียนรู้ทีจ่ ัดทำขึน้ จำนวน 100 คน ในการประเมินท้งั หมด 6 หวั ขอ้ หลกั 35
ข้อย่อย ซึง่ จะเป็นหัวข้อประเมนิ ในทุก ๆ ด้านตามแบบประเมิน ปรากฏว่าผลการประเมินมีคะแนนรวมอยู่
ท่ีระดับดี คือมี คะแนนมากที่สุด 2,402 คะแนน คดิ เป็น 76.06 %
จากการประเมินดว้ ยแบบทดสอบทจ่ี ัดข้ึนเพื่อทำการทดสอบหลังจากท่ใี ชส้ ่อื หนงั สือบทเรียนปรากฏ
วา่ นักเรียนมผี ลการเรียนดขี น้ึ อยู่ใน ระดับดมี าก 30 คน ระดับดี 5 คน และในระดบั พอใช้ 5 คน
ภาพท่ี 10 แสดงการเผยแพร่ขยายผล
ภาพท่ี 11 สื่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้
2) การแกป้ ัญหา / พัฒนาผเู้ รียนโดยใชน้ วัตกรรมทางการเรียนการสอน
ข้าพเจา้ พฒั นาและแก้ไขปัญหาผเู้ รียนโดยใชน้ วัตกรรมทางการเรียนการสอน (Instructional
innovation) โดยมีเปา้ หมายตามหลักการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ ทเี่ นน้ ผู้เรยี น
เป็นสำคัญ ซง่ึ ต้องดำเนินการพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ ผมู้ ีความรอบรู้ ก้าวทันโลกและการเปลย่ี นแปลง มคี ณุ ธรรม
และจรยิ ธรรมสามารถนำความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้และพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกบั ปรชั ญา
การศกึ ษา ด้านประสบการณ์นิยม(Progressivism) และทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ด้านการสรา้ งองค์ความร้ดู ้วยตนเอง
(Constructivism) โดยสังเคราะห์เปน็ นวตั กรรมการเรียนการสอน เกิดเป็นรปู แบบการจัดการเรียนรู้
KACHINO Model โดยมีข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ ดงั รปู
การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้ KACHINO Model มีแนวทางการดำเนนิ การเพ่ือสง่ เสริมให้นักเรยี น
เกดิ คณุ ลักษณะดงั นี้
K = Knowledge มีความรทู้ างวชิ าการ
A = Awareness มคี วามตระหนกั รู้ นำความรู้ไปใช้อยา่ งมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
C = Can สามารถเรียนรู้ได้ สามารถทำได้ สามารถคิดเช่ือมโยงได้
H = Head พัฒนาสมอง = Heart พฒั นาจติ ใจ
= Hand พัฒนาทักษะการปฏิบัติ = Health พฒั นาสุขภาพ
= Happy การเรยี นอย่างมีความสุข
I = Inquiry Method การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะ
N = Nonstop ไมห่ ยุดนงิ่ ในการเรยี นรู้
O = Open mind เปดิ ใจที่จะเรยี นรู้
ภาพท่ี 12 การจัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้ KACHINO Model
ครผู ้สู อนไดด้ ำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนบันได 5 ขนั้ ซึ่งเร่ิมตน้ จากการตง้ั คำถาม
1)เรียนรูก้ ารต้งั คำถาม สงสัย ใคร่รู้ (Learning to Question :Q) ใช้เทคนิค 5 w 1 H
Who ใคร (ในเรื่องน้ันมีใครบ้าง)
What ทำอะไร (แตล่ ะคนทำอะไรบา้ ง)
Where ทไี่ หน (เหตกุ ารณห์ รือสงิ่ ทีท่ ำน้ันอยทู่ ี่ไหน)
When เมือ่ ไหร่ (เหตุการณ์หรอื สิง่ ที่ทำน้ันทำเม่ือวนั เดอื น ปี ใด)
Why ทำไม (เหตใุ ดจึงได้ทำสิ่งนนั้ หรือเกดิ เหตุการณน์ นั้ ๆ)
How อยา่ งไร (เหตุการณห์ รอื สง่ิ ที่ทำนน้ั ทำเป็นอย่างไรบ้าง)
ภาพท่ี 13 เรียนร้ไู ดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา
2) เรยี นรู้การแสวงหาสารสนเทศ สืบเสาะ ค้นคว้า (Learning to Search : S)
- องคก์ รท่ีจดั ให้บรกิ ารสารสนเทศแก่ผ้ใู ชโ้ ดยตรง เชน่ หอ้ งสมุด , พพิ ิธภณั ฑ์ หอจดหมายเหตุ , และ
หอศลิ ป์
- แหลง่ อนื่ ที่ไม่ได้บริการโดยตรง เชน่ บุคคล สถานท่ี เหตุการณ์
- แหล่งสืบค้น Online เช่น อนิ เตอรเ์ น็ต
ภาพท่ี 14 มกี ารใช้สอ่ื ออนไลน์ มกี ลุ่มแลกเปล่ยี นข้อมลู มเี ครือข่ายในการทำงาน
3) เรยี นรู้เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้ สรปุ (Learning to Construct : C )
แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้
- ความรู้ทไ่ี ดร้ ับการถ่ายทอดจากบคุ คลอ่ืน
- ความรู้เกดิ จากประสบการณก์ ารทำงาน
- ความร้ทู ีไ่ ด้จากการวจิ ยั ทดลอง
- ความรูจ้ ากการประดษิ ฐค์ ิดคน้ ส่งิ ใหม่ ๆ
- ความร้ทู ่มี ีปรากฏอยใู่ นแหล่งความรู้ภายนอกโรงเรียนและนักเรยี นได้นำมาใช้
4) เรยี นรู้เพอ่ื การสื่อสารสือ่ สาร สมั พนั ธ์ (Learning to Communicate : C)
1. การนำเสนอข้อมลู โดยรายงานวจิ ัย /บทความ ( Text Presentation)
2. การนำเสนอโดยตาราง ( Tabular Presentation )
3.การนำเสนอดว้ ยกราฟหรือแผนภมู ิ ( Graphical Presentation )
4. การนำเสนอดว้ ยวาจา
ภาพที่ 15 นำเสนอข้อมูลจากการลงมือปฏิบัติจริง
5). เรียนรเู้ พอ่ื ตอบแทนสังคม การใหบ้ ริการ (Serve: S)
1. มนุษย์มรี ูปแบบการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกนั ผู้สอนจงึ ต้องใชว้ ธิ ีการสอนท่ีหลากหลายการพร้อมรบั การ
เปลย่ี นแปลงทีจ่ ะเกดิ ขึน้ เพ่ือปรับตนเองในปัจจบุ นั ให้พร้อมรับกบั ส่ิงท่ีจะตามมาในอนาคต
2. ผ้เู รียนควรเปน็ ผู้กำหนดองค์ความร้ขู องตนเอง ไม่ใชน่ ำความรไู้ ปใส่สมองผเู้ รยี น แลว้ ให้ผ้เู รยี น
ดำเนินรอยตามผสู้ อน
3. โลกยุคใหม่ต้องการผูเ้ รียนซึง่ มวี ินัย มีพฤตกิ รรมที่รจู้ ักยืดหยุน่ หรอื ปรับเปลีย่ นใหเ้ ขา้ กับ
สถานการณ์ได้อยา่ งเหมาะสม
4. เนื่องจากข้อมลู ขา่ วสารในโลกจะทวีเพ่ิมขึ้นเป็น 2 เทา่ ทุกๆ 10 ปี โรงเรยี นจงึ ต้องใชว้ ิธสี อนท่ี
หลากหลาย โดยให้ผู้เรยี นได้เรยี นรใู้ นรปู แบบต่างๆ กนั
5. ใหใ้ ชก้ ฎเหล็กของการศึกษาที่วา่ “ระบบทีเ่ ขม้ งวดจะผลิตคนที่เข้มงวด” และ “ระบบท่ียืดหย่นุ ก็
จะผลิตคนทีร่ ้จู กั การยดื หย่นุ ”
6. สงั คม หรอื ชมุ ชนทีม่ ง่ั คง่ั ร่ำรวยดว้ ยขอ้ มลู ข่าวสาร ทำให้การเรยี นรูส้ ามารถเกดิ ขึ้นได้ในหลายๆ
สถานทก่ี ารพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงท่จี ะเกิดขึน้ เพื่อปรบั ตนเองในปัจจุบนั ให้พร้อมรับกับสงิ่ ทจ่ี ะตามมาใน
อนาคต
7. การเรยี นรแู้ บบเจาะลึก (deep learning) มคี วามจำเป็นมากกวา่ การเรยี นรู้แบบผิวเผิน
8.การสอนทจี่ ดั วา่ มีประสิทธิภาพ ต้องการครูท่มี คี ุณสมบัติมากกว่าการเปน็ ผูท้ ำหน้าทีส่ อน
9. การศกึ ษาเลา่ เรียนในโรงเรียน (schooling) กับ การศึกษา (education) อาจไม่ใชเ่ ร่ืองเดยี วกนั
10. โลกอนาคตจะให้ความสำคญั กบั การจดั การศกึ ษาท่ีบ้าน (Home – based education) มากขึ้น
ภาพที่ 16 จัดนิทรรศการ เปิดบ้านวชิ าการ
เยาวชนคนต้นแบบ เพิ่มพนื้ ท่ีสเี ขียวในโรงเรยี น
จากการดำเนินการข้างตน้ จงึ ทำใหเ้ กดิ KACHINO ในขน้ั ตอนต่างๆแทรกอยู่ในแต่ละกิจกรรมการ
เรยี นรู้ จงึ หลอมรวมเกดิ เป็นนวตั กรรมการเรียนรู้ ดงั แผนภาพดังนี้
ภาพท่ี 17 แสดงขัน้ ตอนจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้ KACHINO Model
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ KACHINO Model ส่งผลใหเ้ กิดการพัฒนาผเู้ รยี นทั้งในด้าน
เน้ือหา ทกั ษะ และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือเตรียมพร้อมต่อการเป็นนักเรยี นในศตวรรษท่ี 21 ตอ่ ไปได้
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ภาพท่ี 18 ขั้นตอนการแบง่ ปันหลังจากผา่ นการเรยี นออนไลน์
3) การแกป้ ัญหา/พฒั นาผเู้ รยี นโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี น
ข้าพเจา้ ได้จดั กิจกรรมดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น เพื่อสนองจดุ เน้นของ สพฐ. สพม. เขต 26
และนโยบายของโรงเรยี น โดยมีกจิ กรรมหลัก (โครงการตามแผนปฏิบตั ิงานรายบคุ คล) ดงั นี้
3.1) กจิ กรรมวเิ คราะหน์ ักเรียนเป็นรายบคุ คล
3.2) กจิ กรรมคัดกรองนักเรยี น
3.3) กิจกรรมสง่ เสริมและพัฒนาผูเ้ รียน เชน่ การโฮมรมู การเย่ยี มบ้าน การประชุมผ้ปู กครองและการ
เสริมสร้างทักษะชวี ติ แกผ่ ู้เรยี น
3.4) กจิ กรรมป้องกันและแก้ไขปญั หา เช่น การให้คำปรึกษาแก่ผ้เู รยี น
3.5) กิจกรรมสง่ ต่อ (ถา้ มี)
5. ปจั จยั ความสำเร็จ
ตารางแสดงรายการอบรม ประชมุ สมั มนา และศกึ ษาดงู าน
ที่ วนั เดือน ปี เร่ือง สถานที่ หน่วยงานที่จัด จำนวน
ชว่ั โมง
1 19 พ.ค.2564 อบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar - สำนักงาน -
2 20 พ.ค.2564 “การจัดการเรียนการสอนออนไลนย์ คุ - คณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั
ปกตใิ หม่ : มมุ มองของผู้บรหิ าร
นกั วิชาการ และครู” ในหวั ข้อ เทคนิค พนื้ ฐาน
และวิธกี ารสอนออนไลน์แบบมี สำนักงาน -
ปฏิสมั พันธ์และห้องเรียนออนไลนโ์ ดยใช้ คณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั
โครงงานเป็นฐาน
พืน้ ฐาน
อบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar
“การจัดการเรียนการสอนออนไลนย์ คุ
ปกตใิ หม่ : มมุ มองของผู้บรหิ าร
นักวิชาการ และครู” ในหวั ข้อ การจัด
ที่ วนั เดอื น ปี เร่อื ง สถานท่ี หนว่ ยงานท่ีจัด จำนวน
ช่วั โมง
-
กจิ กรรมการเรยี นออนไลนต์ ามแนวคิดเก -
มิฟิเคชนั และการวดั และประเมนิ สำหรับ -
-
การเรยี นออนไลน์ -
3 10-11 ก.ค.2564 อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการโครงการพฒั นาและ - โรงเรยี นปอพาน -
ปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาและ พทิ ยาคม รชั มงั -
หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คลาภเิ ษก
4 28 ก.ค.2564 อบรมครูผ้สู อน เร่ือง สมอง จิตใจและ
การเรียนรู้ : บรู ณาการสู่หอ้ งเรยี น มหาวิทยาลยั
มหาสารคาม
ธรรมชาติ
5 7-8 สิงหาคม 2564 อบรมหลักสตู ร นวัตกรรมการเรียนรู้ สู่ สพม.มค -
ทักษะอาชพี
6 14-15 สิงหาคม อบรมหลักสตู ร การพัฒนาสอื่ การสอน สพม.มค -
2564 ออนไลน์ให้ปัง
7 14-15 สิงหาคม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาทักษะการ สำนักงาน 15
2564 จัดการเรยี นรู้รูปแบบออนไลน์สำหรับครู คณะกรรมการ 20
สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา การศึกษาขั้น
ขน้ั พน้ื ฐาน พ้นื ฐาน
8 31 สิงหาคม 2564 หลักสูตรอบรมครูดว้ ยระบบออนไลน์ สสวท.
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ เรื่อง ยดื เสน้ ยืดสาย รา่ งกาย
แขง็ แรง Online Training for Middle
School Science Teachers:
Workout for Better Life
9 31 สิงหาคม 2564 หลกั สตู รอบรมครูด้วยระบบออนไลน์ สสวท. 20
วชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพ: เคมี ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย เรอื่ ง เคมกี ับ
พลงั งานทดแทน (Online Training for
High School Physical Science
ท่ี วัน เดือน ปี เรอ่ื ง สถานท่ี หนว่ ยงานท่จี ดั จำนวน
10 11-12 ก.ย.2564 ชัว่ โมง
(Chemistry) Teachers: Chemistry - สพม.มค -
and Renewable Energy)
55
อบรมหลักสูตร การพฒั นาทักษะการคิด
วเิ คราะห์ และสมรรถนะผเู้ รยี นตาม
แนวทาง PISA
รวมจำนวนช่ัวโมงที่ไดร้ ับการพฒั นา
6. บทเรียนที่ได้รบั (Lesson Learned)
6.1 โรงเรยี นมกี ารพัฒนารปู แบบการสอนออนไลน์สำหรบั โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
(Kachino Model)
6.2 โรงเรียนมีการเตรียมนักเรยี นสอู่ าชพี และการมีงานทำตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเพ่ือให้
ครแู นะแนวมีทิศทางในการออกแบบเครือ่ งมือและกจิ กรรมแนะแนวทั้งในและนอกช้นั เรียน สอดคลอ้ งตาม
รูปแบบการแนะแนว Kachino Guidance Model เช่น กิจกรรมแนะแนวในห้องเรียน นกั เรยี นระดับชั้น ม.
4-6 มแี ฟ้ม Portfolio การวางแผนการศึกษาต่อและอาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำเปน็
รายบุคคล และกิจกรรมแนะแนวนอกหอ้ งเรยี น เช่น กจิ กรรมวนั อาชพี (A-chive day) กิจกรรมนทิ รรศการ
ศึกษาต่อและอาชีพ กิจกรรมฝึกอาชพี ระยะสั้น และกจิ กรรมฝกึ ประสบการณด์ า้ นอาชีพ
ภาพท่ี 19 QR CODE รวมงาน
7. การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรับ/รางวลั ท่ีไดร้ ับ
7.1 การสนับสนุนและให้ความสำคญั กบั งานการเรยี นการสอน ฝา่ ยวิชาการ
7.2 ความร่วมแรงรว่ มใจของครูทกุ คน
7.3 การไดร้ บั ความความรว่ มมือจากครทู ป่ี รึกษา
7.4 การได้รับความรว่ มมือและความอนเุ คราะหจ์ ากสถาบนั การศกึ ษาท้งั ภาครฐั และเอกชนและสถาน
ประกอบการต่าง ๆ
7.5 ความร่วมมือจากเครือขา่ ยผปู้ กครอง
8. การมีปฏสิ มั พันธ์ การใช้เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้
8.1 ควรให้คำปรกึ ษารายบคุ คล สำหรับนกั เรียนท่ีไมส่ ามารถวางแผนการศึกษาต่อและอาชีพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งได้
8.2 สรรหาวทิ ยากรในกิจกรรมวันอาชพี (A-chive day) ให้ตรงกบั ความต้องการของนักเรียนใหม้ ากขน้ึ
8.3 ต้องพัฒนารปู แบบและกิจกรรมแนะแนวต่าง ๆ ให้ก้าวทันการเปล่ียนแปลงและทันยุคสมัยใหม้ ากขึ้น
ภาพที่ 20 QR CODE เพจและ Blog
9. การเผยแพร/่ การได้รับการยอมรับ/รางวัลทไ่ี ดร้ ับ
❖ ไดร้ ับรางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ รองชนะเลศิ ระดับเหรยี ญทอง ครูผ้สู อน
ยอดเย่ยี ม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรียน
การสอน ปี 2562
❖ รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค รองชนะเลศิ อันดบั ๒ ระดบั เหรยี ญทอง
ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย กจิ กรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื
การเรียนการสอน ปี 2562
❖ ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญทอง การประกวด Best Practice (ภาคอีสานตอนบน) กลุ่มโรงเรยี นเฉลิม
พระเกยี รตริ ัชมงั คลาภิเษก ระหวา่ งวนั ที่ ๑๒-๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓
❖ ไดร้ ับรางวลั แห่งความภาคภูมิใจมหิงสาสายสบื 9 ปซี ้อน ( พ.ศ. 2554- 2562 )
❖ นำเสนอนวัตกรรมในโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล ปีการศึกษา 2562
❖ รางวัลครดู ีไม่มีอบายมุข เนอื่ งในวันครแู ห่งชาตปิ ระจำปีการศกึ ษา 2563
❖ รางวลั ผมู้ ีสว่ นร่วมในการสง่ เสริมจรรยาบรรณของวิชาชีพครูโดยการบอกเล่าครดู ีผา่ นคลปิ วดิ ีโอ หรอื
ภาพถ่าย ตามโครงการจรรยาบรรณสูค่ รูดี…เพื่อเดก็ ดี “คารวะครผู ูส้ รา้ ง ผนู้ ำทางชีวติ ” ประจำปี
การศกึ ษา 2563
ภาพท่ี 19 รางวัลครดู ีของแผน่ ดนิ ขน้ั พ้ืนฐาน
ภาพท่ี 20 รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ชนะเลศิ ระดับเหรียญทอง ครผู สู้ อนยอดเยยี่ ม
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น แนะแนว ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรียน
การสอน
ภาพท่ี 21 รางวลั ผู้มีส่วนร่วมในการสง่ เสรมิ จรรยาบรรณของวชิ าชพี ครูโดยการบอกเลา่ ครูดีผ่านคลิป
วดิ โี อ หรือ ภาพถา่ ย ตามโครงการจรรยาบรรณสู่ครูดี…เพอื่ เด็กดี “คารวะครูผูส้ รา้ ง ผ้นู ำทางชวี ติ ”
ประจำปีการศึกษา 2563
ภาพท่ี 22 ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทอง การประกวด Best Practice (ภาคอีสาน
ตอนบน) กลุ่มโรงเรียนเฉลมิ พระเกียรติรชั มังคลาภิเษก ระหวา่ งวันที่ 12-14 กุมภาพันธ์ 2563
ภาพที่ 23ได้นำเสนอนวัตกรรมในโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล ปีการศึกษา 2562
ภาพท่ี 25 ไดร้ บั คัดเลอื กเป็น ครดู ีศรีรัชมงั คลาภิเษก สายครผู ูส้ อน ประจำปี 2562
ภาพที่ 26 รางวัลแห่งความภาคภมู ิใจ
ภาพท่ี 27 รางวลั ครดู ไี ม่มีอบายมขุ
บรรณานกุ รม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2575.
ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561 - 2580). สำนกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ.
ภาคผนวก