The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการพัฒนากิจกรรม Kachino Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nutchamas.sa, 2022-09-22 05:11:16

รายงานการพัฒนากิจกรรม Kachino Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) 2565

รายงานการพัฒนากิจกรรม Kachino Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) 2565

1

รายงานผลการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นโดยใช้กระบวนการเรียนรู้
แบบ Active Learning ผ่านรปู แบบ KACHINO Model ที่สอดคล้อง

ตามแนวทางการประเมินผลนักเรยี นรว่ มกบั นานาชาติ (PISA)

นางสาวนุชมาศ สวสั ดิพ์ าณิชย์
ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ

โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภิเษก อำเภอนาเชอื ก จงั หวดั มหาสารคาม
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษามหาสารคาม
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

2

คำนำ

รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านรูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคล้อง
ตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) และพัฒนาทักษะด้านการเรียนรู้และ
นวัตกรรมสำหรับนักเรียนตลอดจนศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน เปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอน
แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) ซึ่งจากการดำเนินงานพบข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ เพ่ือ
นำไปปรบั ปรุงพฒั นาการดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้มปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ต่อไป

การดำเนินงานจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ จะสำเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดีเพราะไดร้ ับความร่วมมือ
จากคณะครแู ละนกั เรยี น ตลอดจนผบู้ ริหารโรงเรยี น หัวหน้างาน หวั หนา้ สายช้นั และผู้ที่มสี ว่ นเกย่ี วข้อง
ทุกฝา่ ย จงึ ขอถอื โอกาสนีข้ อบคุณทุกท่านทใี่ ห้ความรว่ มมือสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ใู นคร้งั น้ี

นางสาวนุชมาศ สวสั ดิ์พาณชิ ย์
ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ
โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มังคลาภเิ ษก

3

คำรับรองของผู้บังคบั บัญชา

ขอรับรองว่านางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการได้จัดทำ
รายงานผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่าน
รูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA)
ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามท่ีได้
บันทกึ ลงไวใ้ นรายงาน เป็นจรงิ ทุกประการ

(ลงชอ่ื )
(นางสาวสนุ ษิ า บวั ดง)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก

4

บทคัดยอ่
การจดั กจิ กรรมแบบ Active Learning ตามนโยบายดว้ ยกจิ กรรมการเรียนรู้ผ่านรปู แบบ
KACHINO Model สอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผลนกั เรยี นรว่ มกบั นานาชาติ (PISA) ถอื ได้ว่า
เปน็ การจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั เนือ่ งจาก ผู้เรยี นไดม้ ปี ระสบการณต์ รง ได้ เรียนรูว้ ธิ ีการ
แก้ปญั หา วิธีการหาความรคู้ วามจรงิ อยา่ งมีเหตุผล ไดท้ ำการทดลอง ไดพ้ ิสจู น์ส่ิงตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง
รู้จกั การวางแผนการทำงาน ฝึกการเป็นผนู้ ำ ผู้ตาม ตลอดจนไดพ้ ฒั นากระบวนการคดิ โดยเฉพาะ
ทกั ษะการคิด ชั้นสงู โดยแท้จริง การเรยี นรู้ผ่านรปู แบบ KACHINO Model เปน็ หน่งึ ในรูปแบบการจดั
กิจกรรมแบบ Active Learning ซงึ่ บูรณาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงโดยใชแ้ หลง่ เรียนรู้ท่ี
อยใู่ นโรงเรียน ชมุ ชน หรอื ทอ้ งถน่ิ ซ่งึ มวี ัตถุประสงคด์ ังน้ี 1. เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมแบบ
Active Learning ผา่ นรปู แบบ KACHINO Model ทสี่ อดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรยี น
ร่วมกบั นานาชาติ (PISA) 2.เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรยี นและหลังเรยี นของ
นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ท่เี รียนรู้ ผ่านกจิ กรรมแบบActive Learning ผา่ นรูปแบบ KACHINO
Model ทีส่ อดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรยี นร่วมกบั นานาชาติ (PISA) ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
ตามเกณฑ์ 80/80 3. เพอ่ื เปรียบเทยี บทกั ษะกระบวนการสบื เสาะหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ ก่อน
เรียนและหลังเรียนของนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนร้ผู า่ นกิจกรรมแบบ Active Learning
ผา่ นรปู แบบ KACHINO Model ทสี่ อดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผลนกั เรยี นรว่ มกับนานาชาติ
(PISA) 4. เพอื่ ศกึ ษาความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ทีม่ ีตอ่ รูปแบบการเรยี นรทู้ ี่
แบบ Active Learning ผา่ นรูปแบบ KACHINO Model ทส่ี อดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผล
นกั เรียนร่วมกบั นานาชาติ (PISA)
กลุ่มตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการวจิ ัยคือนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา
2564โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภเิ ษก จงั หวัดมหาสารคาม จำนวน 15 คน เครื่องมอื ทใี่ ช้ใน
การประกอบดว้ ย 1) แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่องการแยกสารผสม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 2)
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรื่องการแยกสารผสม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 จำนวน 30 ขอ้ 3)
แบบทดสอบวัดทักษะการสืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 20 ข้อ และ
4) แบบสอบถามความคดิ เห็นที่มตี อ่ รูปแบบการเรียนรทู้ ่ีแบบ Active Learning ผา่ นรปู แบบ
KACHINO Model ที่สอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) เรอื่ งการ
แยกสารผสมชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ในกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ ทำการ
ทดสอบเกบ็ คะแนนระหวา่ งเรยี น และหลังเรยี น และนำข้อมูลที่ไดม้ าวิเคราะหห์ าคา่ ทางสถติ ิ ซ่งึ ไดแ้ ก่
ค่าเฉลย่ี ร้อยละ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่า t-test
สรปุ ผลได้ ดงั น้ี 1. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียนหลังเรยี นดว้ ยรปู แบบการจัดการ
เรียนรู้ แบบ Active Learning ผ่านรปู แบบ KACHINO Model ท่ีสอดคลอ้ งตามแนวทางการ
ประเมินผลนักเรยี นรว่ มกบั นานาชาติ (PISA) เรอ่ื งการแยกสารผสม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 สูงกว่ากอ่ น
เรยี น อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 2. ทกั ษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ของ

5

นักเรยี นหลังเรียนผา่ นการจดั การเรียนรู้ แบบ Active Learning ผา่ นรปู แบบ KACHINO Model ที่
สอดคล้องตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) เรือ่ งการแยกสารผสม ชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 สูงกวา่ กอ่ นเรียน อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติท่ีระดับ.05 3. นักเรียนมีความคดิ เห็นต่อ
รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ แบบ Active Learning ผา่ นรูปแบบ KACHINO Model ที่สอดคลอ้ งตาม
แนวทางการประเมนิ ผลนกั เรียนร่วมกบั นานาชาติ (PISA) เรื่องการแยกสารผสม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2
ในภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.20, S.D.=0.748)

ซึ่งผลจากการจดั การเรียนรู้ แบบ Active Learning ผา่ นรปู แบบ KACHINO Model ท่ี
สอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมินผลนักเรยี นร่วมกับนานาชาติ (PISA) ทำใหไ้ ด้แนวทางให้ครผู ้สู อนได้
พัฒนาการจัดการเรยี นรโู้ ดยการจดั การเรียนการสอนวิชา วทิ ยาศาสตร์โดยใชก้ ารรปู แบบจดั การเรยี นรู้
แบบ Active Learning ผา่ นรูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคล้องตามแนวทางการประเมินผล
นกั เรยี นร่วมกบั นานาชาติ (PISA) มรี ปู แบบแบบการจดั กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ทเ่ี น้น Active
Learning ทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ของหลักสูตรและครอบคลุมการพัฒนา 4H ซงึ่ สามารถ
เชอ่ื มโยงในวิชาอื่นๆหรือระดบั ช้ันอืน่ ๆ ส่งผลนกั เรยี นได้เรียนอย่างมีความสขุ และตามความสนใจอยา่ ง
แทจ้ รงิ

6

บทนำ

พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ใน
หมวด 1 บททวั่ ไป ความมงุ่ หมาย และหลกั การ มาตรา 6 การจดั การศกึ ษา ไดก้ ำหนดวา่ ม่งุ พัฒนาคน
ไทยให้เป็นมนุษยท์ สี่ มบรู ณ์ในดา้ นตา่ งๆ ของการศกึ ษา คอื รา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา ความรู้ และ
คณุ ธรรม มุง่ ใหค้ นไทยมจี รยิ ธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งมี
ความสุข มาตรา 7 เป็นการกำหนดรายละเอียดของพฤตกิ รรมที่ตอ้ งการให้เกดิ จากกระบวนการเรยี น
การสอนทเ่ี หมาะสมกับคนไทย โดยคำนึงถงึ ปรัชญาทางการเมอื ง และวฒั นธรรมไทย หรือความ
ปรารถนาของสงั คมไทยโดยแยกเปน็ รายละเอยี ดได้ดังน้ี มุง่ ปลูกฝังจติ สำนกึ ที่ถูกต้องเกีย่ วกับการเมอื ง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมขุ รู้จกั รักษาและส่งเสรมิ สิทธิ
หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ มคี วามภาคภมู ิใจใน
ความเปน็ ไทย รู้จกั รักษาประโยชนส์ ว่ นรวมและของประเทศชาติ ส่งเสริมศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมของ
ชาติ การกีฬา ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทย และความร้สู ากล อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามสามารถในการประกอบอาชพี รจู้ กั พ่ึงตนเอง มีความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน
ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนือ่ งและหมวด 1 มาตราท่ี 22 กลา่ วว่า การจดั การศกึ ษาต้องยดึ หลักวา่ ผูเ้ รียนทกุ
คนมคี วามสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้และถือว่าผเู้ รยี นมีความสำคญั ทส่ี ุด กระบวนการจดั การ
ศกึ ษาตอ้ งส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพในมาตราน้กี ลา่ วถึง
นักเรยี นเป็นผูส้ ามรรถเรียนรไู้ ด้ พัฒนาตนเองได้ และให้ยึดนักเรียนเป็นสำคัญ มาตรา 24 การจัด
กระบวนการเรียนรู้ จดั เนอ้ื หาของสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนัดของ
ผู้เรยี น โดยคำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ
สถานการณ์ และการประยกุ ตค์ วามรมู้ าใชเ้ พ่ือปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา จัดกจิ กรรมให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้
จากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏบิ ัตใิ หท้ ำได้ คดิ เป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกดิ การใฝร่ ู้อย่างต่อเน่อื ง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูด้ า้ นต่าง ๆ อยา่ งไดส้ ัดส่วนสมดลุ กนั รวมท้ังปลกู ฝงั
คณุ ธรรม คา่ นิยมทดี่ ีงามและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ไวใ้ นทุกวิชา สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผสู้ อนสามารถ
จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สือ่ การเรยี นและอำนวยความสะดวกเพอื่ ให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรูแ้ ละมี
ความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใชก้ ารวจิ ยั เป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการเรยี นรู้ ท้ังนี้ ผู้สอนและผ้เู รยี นอาจ
เรยี นรู้ไปพรอ้ มกันจากสอ่ื การเรียนการสอนและแหล่งวิทยากรประเภทตา่ งๆ การจดั การเรยี นรใู้ หเ้ กิดขึ้น
ไดท้ กุ เวลาทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความรว่ มมอื กบั บิดามารดา ผูป้ กครองและบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย
เพ่ือรว่ มกันพฒั นาผู้เรยี นตามศักยภาพ และมาตรา 26 ให้สถานศกึ ษาจดั การประเมนิ ผเู้ รยี นโดย
พจิ ารณาจากพฒั นาการของผ้เู รียน ความประพฤติ การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น การรว่ มกจิ กรรมและ
ทดสอบควบคไู่ ปในกระบวนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรปู แบบการศึกษาให้
สถานศกึ ษาใช้วธิ ที ห่ี ลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขา้ ศกึ ษาต่อและใหน้ ำผลการประเมินผ้เู รยี นตาม
วรรคหนึ่งมาใช้ประกอบการพจิ ารณาด้วย

Active Learning คือกระบวนการจัดการเรียนรทู้ ผี่ ู้เรียนไดล้ งมือกระทำและไดใ้ ช้กระบวนการ
คิดเกีย่ วกบั สิง่ ท่ีเขาไดก้ ระทำลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรภู้ ายใต้สมมตฐิ าน
พน้ื ฐาน 2 ประการคือ 1) การเรียนรเู้ ปน็ ความพยายามโดยธรรมชาติของมนษุ ย์, และ 2) แตล่ ะบุคคลมี
แนวทางในการเรียนรทู้ ี่แตกตา่ งกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผ้เู รียนจะถูกเปล่ียนบทบาทจาก

7

ผู้รบั ความรู้ (receive) ไปสกู่ ารมสี ว่ นรว่ มในการสร้างความรู้ (co-creators)
( Fedler and Brent, 1996)

Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอยา่ งหน่งึ แปลตามตัวกค็ ือเป็นการเรียนรู้

ผ่านการปฏิบตั ิ หรอื การลงมือทำซ่ึง “ความรู้” ที่เกิดข้นึ ก็เปน็ ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
กระบวนการในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทผี่ ้เู รียนต้องได้มโี อกาสลงมอื กระทำมากกวา่ การฟงั เพยี งอยา่ ง
เดียว ต้องจัดกจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นไดก้ ารเรยี นรู้โดยการอ่าน, การเขยี น, การโตต้ อบ, และการวิเคราะห์
ปัญหา อีกท้ังใหผ้ เู้ รียนได้ใชก้ ระบวนการคดิ ข้นั สูง ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์, การสังเคราะห์, และการ
ประเมนิ คา่

จากการทผี่ ูส้ อนไดว้ เิ คราะหส์ ภาพการเรยี นการสอนแล้ว พบวา่ นักเรยี นสว่ นใหญข่ องโรงเรียน
ปอพานพิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก ยังขาดความกระตอื รอื รน้ ไมเ่ ตรียมการเรียนลว่ งหน้ามากอ่ น
นกั เรยี นขาดทกั ษะในการคิดวเิ คราะห์ ไมก่ ลา้ ตดั สินใจ ไมก่ ลา้ แสดงออก ขาดทกั ษะในการสรุปประเด็น
และสื่อสาร และบกพรอ่ งเร่ืองความรับผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย อาจมีสาเหตทุ เ่ี กดิ จาก
กระบวนการสรา้ งแรงจงู ใจของนักเรยี นตำ่ ทำใหน้ ักเรียนขาดความอดทน และขาดความกระตือรอื รน้
นักเรยี นขาดความมุ่งมน่ั ใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น ขาดแรงจงู ใจใฝ่ผลสัมฤทธแิ์ ละจติ พิสยั เชงิ บวกประกอบกบั การมี
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคอ่ นขา้ งต่ำเป็นส่วนมาก หากผูส้ อนนำวธิ กี ารสอนท่ใี ช้ Active Learning มาใช้
ในห้องเรยี น สร้างวธิ กี ารเรยี นการสอนแบบใหมข่ ้ึนมาใหน้ ่าเรยี น มชี ีวติ ชวี า ไดก้ ระตุน้ นกั เรียนเกดิ
กระบวนการตามผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง ดังท่ีกลา่ วมาได้โดยนำ Active Learning มาใชใ้ นการจดั การ
เรียนการสอน สามารถพฒั นาให้ความสนใจของผเู้ รยี นในบทเรียนมมี ากข้นึ พัฒนาข้นึ ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นมี
พฤติกรรมการเรยี นรูท้ ดี่ มี ากขึ้นได้และนำไปสผู่ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขน้ึ ไดด้ กี วา่ เดมิ

วัตถปุ ระสงค์ในการจดั การเรยี นการสอน

1. เพอ่ื พัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมแบบ Active Learning ผ่านรปู แบบ KACHINO Model ท่ี
สอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกบั นานาชาติ (PISA)
2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ที่
เรยี นรู้ ผา่ นกจิ กรรมแบบActive Learning ผ่านรูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคลอ้ งตามแนว
ทางการประเมนิ ผลนักเรยี นรว่ มกับนานาชาติ (PISA) ให้มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
3. เพื่อเปรียบเทยี บทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ก่อนเรยี นและหลังเรยี นของ
นักเรียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ทเ่ี รยี นรูผ้ า่ นกจิ กรรมแบบ Active Learning ผ่านรูปแบบ KACHINO
Model ท่ีสอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA)
4. เพอื่ ศกึ ษาความคิดเห็นของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ท่มี ตี อ่ รูปแบบการเรียนรทู้ แ่ี บบ Active
Learning ผา่ นรปู แบบ KACHINO Model ทส่ี อดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรียนร่วมกบั
นานาชาติ (PISA)

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ ไดร้ บั

1. ไดข้ ้อค้นพบรปู แบบการเรยี นการสอนแบบมีส่วนรว่ ม (Active Learning) เพอ่ื พฒั นาทักษะ
และพฤตกิ รรมการเรียนรู้ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

8

2. ได้ทราบถงึ ระดับความพึงพอใจของนกั เรยี นทีมตี อ่ การเรยี นการสอนวชิ าวิทยาศาสตร์หลัง
การสอนแบบ Active Learning

3. ไดแ้ นวทางในการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น โดยใช้การสอนแบบมสี ่วนรว่ ม
(Active Learning)

4. นักเรียนมีการพัฒนาพฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ ้านพุทธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) เช่น
พฤติกรรมทเ่ี ก่ียวกับสติปญั ญา และการร้คู ดิ ดา้ นจิตพสิ ยั (Affective Domain) เช่น พฤตกิ รรม
ทางด้านจิตใจ เกี่ยวกับคา่ นิยม ความร้สู ึก ความซาบซงึ้ ทศั นคติ ความเชอื่ ความสนใจ และคณุ ธรรม
และดา้ นทกั ษะพิสยั (Psychomotor Domain) เชน่ พฤติกรรมการเรียนรู้ที่บอกถึงความสามารถในการ
ปฏิบัตงิ านได้อยา่ งคลอ่ งแคล่วชำนาญ และมคี ุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ดังนี้

4.1 ความฉลาดทางสติปญั ญา (Intelligence Quotient: IQ)
4.2 ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient: EQ)
4.3 ความฉลาดในการริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ (Creativity Quotient: CQ)
4.4 ความฉลาดทางศีลธรรม จรยิ ธรรม (Moral Quotient: MQ)
4.5 ความฉลาดท่เี กดิ จากการเลน่ (Play Quotient: PQ)
4.6 ความฉลาดในการแกไ้ ขปัญหา (Adversity Quotient: AQ)
5. นำข้อมูลทไ่ี ด้ใชเ้ ป็นแนวทางในการแก้ปญั หาและพฒั นาการเรยี นการสอนแบบมีสว่ นร่วม
(Active Learning) ในรายวิชาอ่ืน ๆ ตอ่ ไป

กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้

เป้าหมาย เพอื่ พัฒนาผู้เรยี นให้เปน็ ผูม้ คี วามรอบรู้

นโยบาย กา้ วทันโลกและการเปลยี่ นแปลง
มีคุณธรรมและจริยธรรม
สามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้
และพัฒนาตนเองได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั

ปรัชญา ประสบการณ์นยิ ม (Progressivism)

ทฤษฎี การสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง

วธิ ีการศึกษา (Constructivism)

1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง

ประชากร คอื นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก
กลุ่มตวั อยา่ ง คือ นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/1 จำนวน 15 คน โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มงั
คลาภเิ ษก
2. เครื่องมอื ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมลู

เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูลของการวิจยั คร้งั น้แี บ่งเป็น 3 แบบ คอื
1) แผนการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active Learning)

9

2) แบบทดสอบทกั ษะการคิด (Thinking Skills) และ

3) แบบสอบถามความพงึ พอใจต่อการเรยี นรู้

2.1 แผนการสอนแบบมสี ่วนร่วม (Active Learning) ท้ังนเ้ี ม่อื สร้างแผนการสอนแบบมสี ว่ นร่วม

(Active Learning) เสรจ็ เรียบแล้วจะนำเสนอต่อผู้เชย่ี วชาญเพอ่ื ใหต้ รวจสอบเนอื้ หาและความถกู ตอ้ ง

ตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ ดังน้ี

2.1.1 นำแผนการสอนแบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) เสนอตอ่ ผ้เู ช่ยี วชาญ เพอื่ ให้

ผูเ้ ชย่ี วชาญประเมิน

2.1.2 นำแผนการสอนแบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) ทีไ่ ด้กลบั คนื มาแก้ไขและนำกลับ

ไปใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครงั้

2.1.3 นำแผนการสอนแบบมสี ว่ นร่วม (Active Learning) ทีไ่ ดม้ าปรับปรงุ แกไ้ ขและนำไปใช้

ต่อไป

2.2 แบบบันทึกพฤติกรรมทางการเรยี น ตรวจสอบแบบบนั ทึกพฤตกิ รรมทางการเรยี น โดยเสนอต่อ

ผเู้ ชี่ยวชาญ เพือ่ ใหผ้ ้เู ชย่ี วชาญตรวจสอบ และปรับปรุง ในขอ้ ท่ไี ดร้ บั คำแนะนำจากผเู้ ชย่ี วชาญ

2.3 แบบทดสอบ ทักษะการคิด (Thinking Skills) โดยแบบทดสอบก่อน และหลังเรียนมีลักษณะ

เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน จำนวน 20 ข้อ

หาคา่ ความยากงา่ ยโดยการทดสอบคา่ p ค่า r ได้ค่าความเทยี่ งทีโ่ ดยใชส้ ูตร KR – 20 เทา่ กับ 0.941

2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การเรยี นรขู้ องนักเรียน โดยแบบสอบถาม เปน็ แบบมาตรา

ประมาณค่า 5 ระดบั (Rating Scale) ตามแบบของลเิ คิรท์ (Likert) โดยผวู้ ิจัยไดก้ ำหนด

คะแนนของคำตอบแตล่ ะขอ้ ดงั น้ี

มากทีส่ ดุ ให้ค่านำ้ หนักคะแนนเท่ากบั 5

มาก ให้คา่ น้ำหนกั คะแนนเท่ากับ 4

ปานกลาง ใหค้ า่ นำ้ หนกั คะแนนเทา่ กับ 3

นอ้ ย ให้ค่านำ้ หนกั คะแนนเทา่ กบั 2

น้อยท่สี ดุ ให้ค่านำ้ หนกั คะแนนเท่ากับ 1

สว่ นเกณฑ์การแปลความหมายคะแนน กำหนดไวด้ ังน้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2535)

4.51-5.00 หมายความวา่ อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ

3.51-4.50 หมายความวา่ อยู่ในระดบั มาก

2.51-3.50 หมายความวา่ อยู่ในระดบั ปานกลาง

1.51-2.50 หมายความวา่ อยใู่ นระดับ น้อย

1.00-1.50 หมายความวา่ อยู่ในระดบั นอ้ ยที่สุด

ได้ค่าความเชอื่ ม่นั ด้วยสมั ประสทิ ธิแ์ อลฟาของครอนบาค เทา่ กับ 0.823

3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ณ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก
3.2 ครูผสู้ อนตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หลงั เรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การเรยี นรทู้ ่ี
บันทกึ เสร็จแลว้ มาตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมลู ที่สมบูรณ์ไมต่ ำ่ กว่าร้อยละ 80
3.3 กรณีทีพ่ บว่าแบบทดสอบกอ่ นเรียน หลงั เรยี น และแบบสอบถามความพงึ พอใจต่อการเรียนรู้ ไม่
ถูกตอ้ งและไม่สมบูรณ์ จะถูกตัดออก

10

4. การสงั เคราะห์/วิเคราะห์ขอ้ มูล

4.1 สังเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมทางการเรียน ของนักเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active
Learning) จากแบบบันทึกพฤตกิ รรมทางการเรียน

4.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active

Learning) ก่อนเรียน และหลังเรียน โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าร้อย
ละ

4.3 การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active

Learning) โดยใชค้ ่าเฉลีย่ ( ̅) และค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ผลการศกึ ษาพฤติกรรมทางการเรยี นดว้ ยการเรยี นรูแ้ บบมีส่วนรว่ ม (Active Learning)

พฤติกรรมทางการเรียน หลังการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) ดีขึ้นทั้งในด้านการ
ทำงานเป็นกลุ่มของผู้เรียน การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกเพื่อสะท้อนความคิดเห็นร่วมกัน
จากการสงั เกตและประเมินของผูส้ อน ดังตารางท่ี 1
ตารางท่ี 1 ผลการศกึ ษาพฤติกรรมทางการเรียน ดว้ ยการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นร่วม (Active Learning)

หัวขอ้ กจิ กรรม กจิ กรรม สื่อ การวัดและการประเมนิ ผล

1. จำลองการทำงานของ 1. บรรยาย 1. Power point สงั เกตการทำงานเปน็ กลุ่มของผู้เรียน/
ปอด 2. อภปิ ราย 2. ใบความรู้ การแสดงความคดิ เหน็ /การมสี ว่ นรว่ ม
2. บิงโกระบบรา่ งกาย 3. ค้นควา้ และ 3. เอกสาร ในการวิเคราะห์การสรา้ งชน้ิ งาน
3. รถพลังลูกโปง่ นำเสนอผลงาน ประกอบการสอน พบวา่ ผเู้ รยี นมีการทำงานเป็นกลมุ่
4. ดินน้ำมนั ลอยนำ้ 4. ฝึกปฏิบตั ิ 4. แบบฝึกปฏิบตั ิ แสดงความคดิ เหน็ ร่วมกนั มแี สดงออก
5. มหงิ สาสายสบื สรา้ งช้นิ งาน 5. กิจกรรม มากขนึ้ รวมถึงมีวางแผนร่วมกนั ในการ
แก้ปญั หา นำเสนอสะทอ้ นคิดแกป้ ญั หาและสรา้ ง
แผนผังความคิดเช่อื มโยงประเดน็
บรู ณาการเข้าด้วยกนั ไดร้ ว่ มถงึ มกี าร
นำเสนอได้

2. ผลเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ดว้ ยการเรียนรูแ้ บบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning)

คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) หลังเรียน
สูงกวา่ กอ่ นเรยี น รอ้ ยละ 44.4 ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ดว้ ยการเรยี นรแู้ บบมีส่วนรว่ ม (Active

Learning)

ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน n คะแนน ̅ S.D. อตั ราผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
เตม็ (รอ้ ยละ)

ก่อนเรียน 15 20 6.06 0.88 44.4

11

หลงั เรียน 15 20 16.40 2.92

3. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนด้วยการเรยี นรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม (Active Learning)

ความพงึ พอใจของนักเรียนด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) โดยรวมอยรู่ ะดบั

มาก ( ̅= 4.297, S.D.= 0.6501) เม่ือพิจารณารายขอ้ พบวา่ นกั เรียน มคี วามพึงพอใจมากท่ีสดุ คอื
การเรียนการสอนแบบการเรยี นร้แู บบมสี ว่ นร่วม (Active Learning) ช่วยฝึกใหน้ กั เรยี นเกิดความคดิ

สรา้ งสรรค์ อยใู่ นระดับมาก ( ̅ =4.47, S.D.= 0.805 ) รองลงมาคอื การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรู้

แบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) มคี วามนา่ สนใจ และรู้สกึ สนกุ กบั การเรยี น อยใู่ นระดับมาก ( ̅
=4.40,S.D.= 0.879) และนอ้ ยทส่ี ุดคือ การเรยี นการสอนแบบการเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วม (Active

Learning) ทำให้นักเรยี นมีทศั นคตทิ ีด่ ตี ่อการเรยี น อยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.20, S.D.=0.748) และการ
เรยี นการสอนแบบการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นร่วม (Active Learning) ชว่ ยใหน้ กั เรียนสามารถนำความรทู้ ไี่ ด้

ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ อย่ใู นระดับมาก ( ̅=4.20, S.D.=0.748) ตามลำดบั ดงั ตารางที่ 3
ตารางท่ี 3 ความพงึ พอใจของนักเรยี น ดว้ ยการเรยี นร้แู บบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning)

รายการประเมนิ ̅ S.D. ระดับ

1. การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรแู้ บบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) 4.07 0.442 มาก
สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาและวัตถุประสงค์

2. การเรียนการสอนแบบการเรยี นรแู้ บบมสี ่วนร่วม (Active Learning) 4.40 0.879 มาก
มคี วามนา่ สนใจ และรู้สกึ สนกุ กับการเรียน

3. การเรยี นการสอนแบบการเรียนรู้แบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) 4.40 0.489 มาก
ชว่ ยใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเนอื้ หาในบทเรยี นได้มากยิ่งขน้ึ

4. การเรียนการสอนแบบการเรยี นรู้แบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) 4.07 0.679 มาก
ส่งเสริมให้นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนรูส้ ามารถทำงานรว่ มผอู้ ื่นได้

5. การเรียนการสอนแบบการเรยี นร้แู บบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) 4.33 0.471 มาก
ส่งเสรมิ กระบวนการคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาไดด้ ้วยตนเอง

6. การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นร่วม (Active Learning) 4.47 0.805 มาก
ช่วยฝึกใหน้ กั เรยี นเกิดความคิดสร้างสรรค์

7. การเรียนการสอนแบบการเรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วม (Active Learning) 4.33 0.596 มาก
สรา้ งบรรยากาศท่ดี ใี นการศึกษา

8. การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วม (Active Learning) 4.20 0.748 มาก
ช่วยใหน้ ักเรยี นสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ

9. นกั เรียนมคี วามกล้าแสดงออกมากข้ึนโดยการเรียนการสอนแบบการ 4.40 0.489 มาก
เรียนรูแ้ บบมสี ่วนร่วม (Active Learning)

10. การเรยี นการสอนแบบการเรียนรแู้ บบมสี ่วนรว่ ม (Active 4.20 0.748 มาก
Learning) ทำใหน้ ักเรยี นมที ัศนคติทดี่ ตี ่อการเรยี น

11. นกั เรียนอยากให้มีการเรยี นการสอนแบบการเรยี นรู้แบบมีสว่ นรว่ ม 4.30 0.800 มาก
(Active Learning) ในรายวชิ าอ่ืนๆ อีก

12

โดยรวม 4.297 0.6501 มาก

อภปิ รายผล

จากผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active
Learning) สามารถอภปิ รายผลตามวตั ถุประสงค์ ได้ดงั น้ี
1. เพ่อื ศกึ ษาพฤตกิ รรมทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning

ผา่ นรูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ

(PISA) พฤตกิ รรมทางการเรียนของนักเรยี น หลังการได้รับการเรียนร้แู บบมสี ว่ นรว่ ม (Active

Learning) ดีขน้ึ ทง้ั ในด้านการทำงานเป็นกล่มุ ของผู้เรยี น การแสดงความคิดเหน็ และการแสดงออกเพื่อ
สะท้อนความคดิ เหน็ ร่วมกัน จากการสงั เกตและประเมนิ ของผูส้ อน สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ
ญาณัญฎา ศริ ภัทรธ์ าดา (2553) ที่พบว่า นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมทางการเรยี นกอ่ นและหลงั การทดลองใช้
การสอนแบบมสี ว่ นรว่ มดีขึ้น ทงั้ นีเ้ พราะการจดั การเรยี นการสอนแบบการเรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วม
(Active Learning) กระตนุ้ ให้เกดิ การเรยี นแบบกระบวนการกลมุ่ ซง่ึ จะชว่ ยให้เรียนแตล่ ะคนทราบ
จุดเด่นจดุ ดอ้ ยของผอู้ น่ื และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้รว่ มกนั ภายในกล่มุ มกี ารกลา้ แสดงออกกล้าแสดง
ความคดิ เหน็ วิเคราะห์ รวมถงึ มีวางแผน กลนั่ กรองรว่ มกนั ภายในกลุ่มกอ่ นการนำเสนอสะทอ้ นคดิ จาก
โจทย์ปัญหาท่ใี ห้ จึงทำใหน้ ักศึกษามพี ฤติกรรมทางการเรยี นท่ีมคี ุณลักษณะจิตพสิ ัยเชงิ บวกและ
คณุ ธรรมที่พึงประสงค์
2. เพ่ือเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นโดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active

Learning ผา่ นรปู แบบ KACHINO Model ท่ีสอดคล้องตามแนวทางการประเมนิ ผลนกั เรยี น

ร่วมกบั นานาชาติ (PISA)

คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active
Learning) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนสอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์ (2553)
ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา (2553) ณัฐธีร์ เรขะพรประสิทธิ์ (2555) รสิตา รักสกุล, สุวรรณา สมบุญสุโข,
และก้องกาญจน์ วชิรพนัง (2558) ที่พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั
เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Active Learning หลังการจัดการเรียนการสอนมีคะแนน
จากการทดสอบสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) นั้น นักศึกษาจำเป็นจะต้องศึกษาค้นคว้า และทำความเข้าใจใน
เนื้อหาที่จะทำการเรียนมาก่อน อีกทั้งยังเป็นการศึกษาค้นคว้าที่เป็นกระบวนการกลุ่ม จึงต้องมีการ
ปรึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในระหว่างกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็น ผู้แนะนำ เมื่อเสร็จสิ้นการ
นำเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ กจิ กรรม ครูผูส้ อนไดม้ กี ารบรรยายเพิ่มเตมิ ในส่วนของเนอ้ื หาที่
ขาดตกบกพรอ่ งไป จงึ ทำให้เกิดความเข้าใจในเน้ือที่จะเรยี น
3. เพ่อื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning ผ่าน

รูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคลอ้ งตามแนวทางการประเมนิ ผลนักเรยี นรว่ มกับนานาชาติ

(PISA)

ความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านรูปแบบ
KACHINO Model ท่ีสอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) โดยรวม
อยู่ระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฏฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์ (2553) ณัฐธีร์ เรขะพรประสิทธิ์

13

(2555) วรวรรณ เพชรอุไร (2555) รสิตา รักสกุล, สุวรรณา สมบุญสุโข, และก้องกาญจน์ วชิรพนัง
(2558) ที่พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจตอ่ ต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ
Active Learning ผ่านรูปแบบ KACHINO Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียน
ร่วมกับนานาชาติ (PISA) อยู่ในระดับมาก เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้
แบบ Active Learning ผ่านรูปแบบ KACHINO Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผล
นักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมหลากหลาย ส่งเสริมให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ได้แสดงออก เกิดความสนุกในการเรียนและมีความ
มั่นใจในการนำเสนอผลงาน ซงึ่ มีความนา่ สนใจมากกว่าการสอนแบบบรรยายเพยี งอยา่ งเดยี ว

สรุป
จากการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่าน
รูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA)
ส่งผลให้พฤติกรรมทางการเรียน ดีขึ้นทั้งในด้านการทำงานเป็นกลุ่มของผู้เรียน การแสดงความคิดเห็น
และการแสดงออกเพื่อสะทอ้ นความคิดเห็นร่วมกัน จากการสงั เกตและประเมนิ ของผู้สอน และนักศึกษา
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อีกทั้งนักเรียนยังเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงควรนำการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) มาใช้ในการจัดการเรียน
การสอน โดยพัฒนาให้เกิดความหลากหลาย น่าสนใจมาก และมีความสนุกกับกิจกรรมการเรียนการ
สอนมากย่งิ ข้นึ

ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้

จากผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning
ผ่านรูปแบบ KACHINO Model ท่ีสอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ
(PISA) ผูส้ อนมขี ้อเสนอแนะดังตอ่ ไป

1.1 จากผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พบว่าพฤติกรรมทางการเรียน ของนักเรียนหลังการ
เรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วม (Active Learning) ดีขึ้นทง้ั ในด้านการทำงานเป็นกล่มุ ของผู้เรยี น การแสดงความ
คิดเหน็ และการแสดงออกเพ่ือสะทอ้ นความคดิ เห็นร่วมกัน จงึ ควรนำการเรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วม (Active
Learning) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยพัฒนาให้เกิดความหลากหลาย น่าสนใจมาก และมี
ความสนกุ กบั กิจกรรมการเรยี นการสอนมากยงิ่ ขนึ้

1.2 ควรประยุกต์วิธีการเรียนการสอนที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้เป็นแนวทางใน
การพัฒนาการเรียนการสอนของนักเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) ไป
ประยกุ ต์ใช้รายวชิ าอ่นื ๆ ตอ่ ไป

1.3 ควรศึกษาเพิ่มเติมในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Active Learning) กับเทคนิควิธกี ารสอนแบบอืน่ ๆ เพื่อให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเพิม่ มากยงิ่ ขึน้

2. ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครงั้ ตอ่ ไป

14

2.1 ควรศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active
Learning) โดยการออกแบบการจัดการเรยี นการสอนท้ังรายวิชา

2.2 ควรศึกษาการประยุกต์ใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆ ซึ่ง
จะช่วยให้นักเรียนแต่ละคนทราบจุดเด่นจุดด้อยของผู้อื่น และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันภายใน
กลมุ่

ขอรบั รองว่าขอ้ มูลดงั กลา่ วขา้ งตน้ ถูกตอ้ ง และเป็นความจริง

ลงช่อื ....................................... เจา้ ของผลงาน
(นางสาวนุชมาศ สวสั ดิ์พาณชิ ย์)

ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ

ความคดิ เหน็ และคำรับรองของผูบ้ งั คบั บัญชา

เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ปฏิบัติหน้าที่และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม
มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั ท่ีกำหนดใหไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ สะทอ้ นถึงกระบวนการที่ได้จากรปู แบบการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active
Learning ผ่านรูปแบบ KACHINO Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนักเรียนร่วมกับ
นานาชาติ (PISA) อันจะเหน็ ได้จากผลสมั ฤทธ์แิ ละผลงานท่ีเกิดจากจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

จึงขอใหค้ ำรบั รองในข้อมลู ดงั กล่าวขา้ งตน้ มีความถกู ต้อง เป็นจริงทุกประการ

ลงช่ือ .........................................ผบู้ ังคับบญั ชา
(นางสาวสนุ ิษา บัวดง )

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภเิ ษก

15

เอกสารอา้ งอิง
กาญจนา ชูครวุ งศ์. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการขยายผล BFISTP และ RQSE.

โครงการอนั เนือ่ งมาจากแนวพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
เพอ่ื นำร่องการปฏริ ูปการเรียนร้วู ิทยาศาสตรใ์ นระดบั มัธยมศกึ ษา ระยะท่ี 1 (ปี 2542-2544),
(2544). (ถ่ายเอกสาร).
ณัฏฐวุฒิ ทรัพยอ์ ุปถัมภ์. (2553). การจดั การเรียนแบบใฝ่รู้ (Active Learning) ท่มี ีผลตอ่ พฤตกิ รรม
การเรยี นร้ผู ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและความพงึ พอใจในการเรยี นรายวชิ าภูมปิ ัญญาไทย
เพือ่ การพฒั นาคุณภาพชีวิต (0021311) ของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั ราช
ภฏั รำไพพรรณี. รายงานวจิ ัย คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรำไพ
พรรณี.
ณฐั ธีร์ เรขะพรประสิทธ.ิ์ (2555). การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎกี ระบวนการเรยี นรู้กระตือรอื ร้นในการ
ออกแบบและพฒั นาเคร่ืองมอื สื่อบทเรยี นอิเลก็ นกิ สแ์ บบออนไลนส์ ำหรับวชิ าความรู้
เบ้อื งตน้
เกีย่ วกับทฤษฎีพสั ดุคงคลงั . ปรญิ ญานิพนธว์ ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ.
ญาณญั ฎา ศริ ภทั รธ์ าดา. (2553). การพฒั นาพฤติกรรมการเรยี นและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
นกั ศกึ ษาในการเรียนวิชาหลกั การตลาดโดยการสอบแบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning).
รายงานวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา.
ทศิ นา แขมมณี. (2548). การจดั การเรยี นรู้โดยใชก้ ารวิจยั เปน็ ส่วนหน่งึ ของกระบวนการเรยี นรู้.
กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
เทอื้ น ทองแกว้ . (2556). เอกสารประกอบการอบรมการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม. กรงุ เทพมหานคร:
สถาบนั ราชภัฏจันทรเกษม
บณั ฑิต ทิพากร. (2550). การพฒั นาคณาจารยใ์ นสถาบันอุดมศึกษา. ใน ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์
(บรรณาธกิ าร). อาจารยม์ ืออาชีพ:แนวคดิ เครือ่ งมอื และการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
แห่ง
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2535). การวจิ ยั เบอื้ งต้น. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ไพฑูรย์ สินลารตั น์. (2545). การเรียนการสอนทมี่ กี ารวิจยั เปน็ ฐาน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
รสติ า รกั สกุล, สวุ รรณา สมบุญสุโข, และก้องกาญจน์ วชริ พนัง. (2558). สัมฤทธผิ ลของการจดั การเรียน
การสอนแบบบูรณาการ โดยใช้ Active Learning ของนักศึกษาในรายวชิ าการบรหิ ารจดั การ

16

ยุคใหม่และภาวะผู้นำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี. ใน การประชุมวิชาการ
ระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจำปี 2558 (RSU National Research Conference
2015) วันศุกรท์ ่ี 24 เมษายน 2558 ณ หอ้ ง Auditorium ชัน้ 2 อาคาร Digital Multimedia
Complex (ตึก 15) มหาวิทยาลัยรงั สติ .
วสันต์ อติศพั ท.์ (2556). การบรู ณาการนวตั กรรมเทคโนโลยใี นการฝกึ หดั ครู. วารสารศึกษาศาสตร์.
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ฉบบั ที่ 1
ศักดา ไชกจิ ภิญโญ. สอนอยา่ งไรให้ Active Learning. วารสารนวตั กรรมการเรยี นการสอน. ปที ่ี 2
ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548).
ศริ ชิ ยั กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฎกี ารทดสอบแบบดัง้ เดิม. พิมพค์ รง้ั ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร:
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
Austin, L.B.( 1997). “Teaching and Learning About Nature of Science” in
Developing
the Science Curriculum in Aotearoa New Zealand. Bell, B. and R. Baker.
(editor). New Zealand: Longman.
Bonwell, Charles C., and James. A. Eison.(1991). ActiveLearn-ing; Creating Excitement
in
the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Report No. 1. Washington, D.C.:
The George Washington University, School of Education and Human
Development.
Hendrikson, L. Active Learning. (1984). [Online]. Available: ERIC Clearinghouse for
Social
Studies/Social Science Education Boulder.
Johnson, D.W.and Johnson, F.P. (1997). Joining Together: Group Theory and Group
Skill.
(6th ed.). Boston: Alyn and Bacon.
Meyers, C. and Jones, T. (1993). Promoting active learning: strategies for the
college
classroom. San Francisco: Jossey-Bass.
McKinney, K. and Heyl, B. eds. (2008). Sociology Through Active Learning. Thousand
Oaks.CA: SAGE/Pine Forge Press.
Sheffied Hallam University. (1996). Active Teaching and Learning Approaches in
Science:
Workshop ORIC Bangkok. (Photocopied); (9–13 October), 2000.
Silberman, M. Active Learning. Boston: Allyn and Bacon.

17
Solomon, J. (1991). Teaching about the Nature of Science in British National
Curriculum.

Science Education. 75(1);95–103.

ภาคผนวก

18

รูปแบบและวิธกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
KACHINO Model

K = Knowledge มีความรทู้ างวชิ าการ

A = Awareness มีความตระหนักรู้ นำความรู้ไปใช้

อยา่ งมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม

C = Can สามารถเรยี นรูไ้ ด้ สามารถทำได้

สามารถคดิ เชอ่ื มโยงได้

H = Head พฒั นาสมอง

= Heart พัฒนาจิตใจ

= Hand พัฒนาทักษะการปฏิบัติ

= Health พฒั นาสุขภาพ

I = Inquiry Method การเรยี นรู้แบบสืบเสาะ

N = Nonstop ไม่หยดุ น่งิ ในการเรียนรู้

O = Open mind เปิดใจท่ีจะเรยี นรู้

----------------------------------------------------------------------------------

Five Step to development = ตั้งประเดน็ คำถาม
= สืบค้นความรู้
Q = Learning to Question = สรุปองค์ความรู้
S = Learning to Search = สื่อสารนำเสนอ
C = Learning to Construct = บรกิ ารสงั คม
C = Learning to Communicate
S = Learning to Serve

----------------------------------------------------------------------------------

L = Literacy = ทกั ษะการรหู้ นงั สอื อ่านออก เขียนได้
N = Numeracy = ทักษะพืน้ ฐานดา้ นการคดิ คำนวณ
R = Reasoning = ทกั ษะการใชเ้ หตผุ ล
----------------------------------------------------------------------------------

19

20

ภาพ แสดงรูปแบบและวธิ กี ารจัดกจิ รรมการเรยี นการสอน โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active
Learning ผา่ นรูปแบบ KACHINO Model ที่สอดคล้องตามแนวทางการประเมินผลนกั เรียน
รว่ มกับนานาชาติ (PISA)

กระบวนการเรียนรูใ้ นวิชาวิทยาศาสตร์

ตงั้ ประเดน็ สืบค้นความรู้ สรปุ องค์-ความรู้ สื่อสารนำเสนอ บริการสงั คม
คำถาม
ตง้ั คำถาม สืบค้น ทดลอง นำข้อสรปุ มา เผยแพรค่ วามรู้ นำความรู้ไปใช้
อธิบายปญั หา ประโยชนต์ อ่
(ผลการทดลอง)
สังคม

ขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม Q
1) ตงั้ ประเดน็ คำถาม (Learning to Question) S
2) สืบค้นความรู้ (Learning to Search) C
3) สรุปองค์ความรู้ (Learning to Construct) C
4) ส่อื สารนำเสนอ (Learning to Communicate) S
5) บริการสังคม (Learning to Serve)

เรยี นร้กู ารตง้ั คำถาม Q : Learning to Question
ใชเ้ ทคนิค 5 W 1 H
Who = ใคร คือ สงิ่ ท่ีเราตอ้ งรูว้ า่ ใครรับผดิ ชอบ ใครเก่ยี วขอ้ ง ใครได้รับผลกระทบ
What = ทำอะไร คอื ส่ิงท่เี ราต้องรูว้ า่ เราจะทำอะไร แตล่ ะคนทำอะไรบา้ ง
Where = ที่ไหน คอื สิ่งที่เราตอ้ งรวู้ ่า สถานท่ที ่เี ราจะทำว่าจะทำที่ไหน
When = เมอ่ื ไหร่ คือ สงิ่ ทเี่ ราต้องรวู้ า่ ระยะเวลาที่จะทำจนถงึ
Why = ทำไม คือ ส่งิ ท่เี ราตอ้ งรู้ว่า ส่งิ ทเี่ ราจะทำนั้น ทำดว้ ยเหตผุ ลใด เหตใุ ดจึงได้ทำส่งิ นัน้
How = อยา่ งไร คือ สิง่ ที่เราต้องรวู้ ่า เราจะสามารถทำทุกอยา่ งใหบ้ รรลผุ ลได้

เรียนรกู้ ารแสวงหาสารสนเทศ S : Learning to Search

21

องคก์ รท่ีจดั แหล่งอื่นท่ี แหล่งสืบค้น
ให้บริการ ไมไ่ ด้บริการ Online

ห้องสมุด , บคุ คล อินเตอรเ์

พิพิธภณั ฑ์
สถานที่ น็ตเรียนรูเ้ พอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ (C: Learning to Construct)

แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้

- ความรทู้ ่ีได้รับการถา่ ยทอดจากบคุ คลอ่นื

- ความรู้เกิดจากประสบการณก์ ารทำงาน

- ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการวิจยั ทดลอง

- ความรจู้ ากการประดษิ ฐค์ ดิ ค้นสงิ่ ใหม่ ๆ

- ความร้ทู ี่มีปรากฏอย่ใู นแหล่งความรภู้ ายนอก

โรงเรยี นและนักเรยี นได้นำมาใช้

เรยี นรู้เพ่อื การส่อื สาร (C : Learning to Communicate)

1. การนำเสนอขอ้ มูลโดยรายงานวจิ ยั /บทความ ( Text Presentation)
2. การนำเสนอโดยตาราง ( Tabular Presentation )
3.การนำเสนอด้วยกราฟหรอื แผนภูมิ ( Graphical Presentation )
4. การนำเสนอดว้ ยวาจา
5. การนำเสนอคลังความรู้ KM ในเวบ็ ไซต์

เรยี นรู้เพื่อตอบแทนสังคม (S : Learning to Serve)
- ทำเป็นนิทรรศการ/โครงงาน
- ทำเปน็ แผ่นพับประชาสัมพันธ์
- นำเสนอผา่ นสอื่ Online /Social media

ฯลฯ

22

ภาพ แสดงข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนบันได 5 ข้นั

ครูผู้สอนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนบันได 5 ขั้น ตามแนวทางการจัด
การศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งเริ่มต้นจากการต้ังคำถาม ซึ่งในกระบวนการนี้นักเรียนฝึกการ
คิดวิเคราะห์ในการตั้งคำถามโดยใช้ 5W1H มาเป็นพื้นฐานในการกำหนดปัญหาหรือความสนใจข้ัน
พื้นฐาน หลังจากที่กำหนดปัญหาหรือตั้งคำถามท่ีสนใจในการค้นคว้าหาคำตอบของความรู้แล้วน้ัน เข้าสู่
กระบวนการระดมแนวคิดร่วมกันผ่านกระบวนการทำงานเป็นกลุ่มเพื่อวางแผนเพื่อสืบค้นผ่านแหล่ง
เรียนรู้ หรือแหล่งสารสนเทศต่างๆ ตามความถนัดของแต่ละบุคคลและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
กลุ่มและในชั้นเรยี นโดยครูคอยติดตามและอำนวยความสะดวกและแนะแนวทางให้นักเรียนเกิดแนวคิด
เพ่มิ เตมิ ด้วยตัวของนกั เรียนเองในการคน้ ควา้ หาความรู้ และสรปุ องคค์ วามร้ทู ีไ่ ดด้ ้วยตนเองตามแนวทาง
ที่ตนเองสนใจ จากนั้นนำมานำเสนอด้วยรปู แบบและวิธีการต่างด้วยเทคโนโลยี เช่น PowerPoint แผ่น
พับสรุปความรู้ mind mapping ตัดต่อVDO ซึ่งต้องเน้นให้ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมและสามารถ
สื่อสารขยายความได้อย่างมั่นใจ ไม่ใช่อ่านเอกสารหน้าชั้นเรียนและไม่เน้นการทำรายงานทำรูปเล่มซึ่ง
เน้นเชิงปริมาณแต่ขาดคุณภาพทางวิชาการ มีการอ้างอิงแหล่งทีม่ าได้ถกู ต้อง โดยหลังจากท่ีนักเรียนแต่
ละกลุ่มได้นำเสนอเสร็จส้ินในชั้นเรียนแล้วผู้วิจัยจะทำหน้าที่คอย Coaching & Mentoring ซึ่งในการ
Coaching & Mentoring ครูผู้สอนจะทำในทุกขั้นตอนของกระบวนการบันได 5 ขั้น เพื่อฝึกการคิด
ให้กับนักเรียน ซึ่งในขั้นนี้ผู้วิจัยจะสะท้อนผลการเรียนรู้ทันทีหลังจากที่นำเสนอให้เห็นจุดเด่นจุดด้อย
และเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนางานของตนเองต่อไปให้ดีขึ้น ซึ่งจะเห็น
ลำดับพฒั นาการการเรียนรขู้ องนกั เรียนในการคิดแก้ปัญหาและพัฒนางานของตนเองอยา่ งเห็นได้ชดั เม่ือ
ได้ดำเนินการนำเสนองานใหม่ เมื่อครูผู้สอนเห็นวา่ นักเรยี นมีความพร้อมและชิ้นงานที่ได้ศึกษามาความ
สมบูรณ์เหมาะสมแล้วจะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้นำความรู้ของตนเองไปเสนอต่อสาธารณะหรือในเวที
ต่างๆต่อไป เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง ช่วงพักกลางวัน เสียงตามสาย การเผยแพร่ในเว็บไซต์ หรือลง
social media งานสปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ การจัดค่ายอัจฉรยิ ภาพทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เปน็ ตน้

23

องคป์ ระกอบของการประเมนิ การเรียนการสอนตามแนวคิดเชิงระบบ

ขัน้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ

24

บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

25

บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

26

การสำรวจและสืบค้น

27

การสรา้ งองค์ความรู้

28

การสอ่ื สารและนำเสนอโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

29

การเผยแพรส่ สู่ าธารณชน

30

การเผยแพรส่ สู่ าธารณชน

31

ประมวลภาพกจิ กรรม มหงิ สาสายสบื

ประมวลภาพกิจกรรม รถพลังงานลม
ประมวลภาพกจิ กรรมดินนำ้ มันลอยนำ้

32

สอื่ การเรยี นการสอน


Click to View FlipBook Version