1
2
ความเปน็ มาของโครงการมหงิ สาสายสืบ
โครงการมหิงสาสายสืบ พัฒนามาจากโครงการรางวัล
จอหน์ มวั ร์ อวอรด์ (The John Muir Award) ซง่ึ เปน็ โครงการท่กี อ่ ต้งั ข้นึ
ในประเทศสก็อตแลนด์ และประสบผลสำเร็จในการดำเนินโครงการ
เป็นอยา่ งมาก
จอห์น มัวร์ เปน็ ชาวอเมรกิ ันซง่ึ เกิดในประเทศสก็อตแลนด์ มีชวี ติ
อยู่ในช่วงปี ค.ศ.1800 และเป็นบิดาแห่งการก่อต้ังระบบอุทยานแห่งชาติ
ของประเทศสหรัฐอเมริกา จอหน์ มัวร์ ใช้เวลาเกอื บชวั่ ชีวิตในการสำรวจ
พื้นท่ีป่าในประเทศสหรัฐอเมริกา และ ส่งเสริมให้ประชาชนท่ัวไปให้ทำ
กิจกรรมสำรวจธรรมชาติเช่นที่เขาได้ทำ โดยเขา หวังว่าการเปิดโอกาสให้
คนไดส้ ำรวจ เรยี นรู้ และใกลช้ ดิ กบั ธรรมชาติ จะชว่ ยใหผ้ คู้ นนน้ั เกดิ ความรกั
และหวงแหนในธรรมชาติ เชน่ เดียวกับประสบการณ์ท่ีตัวเขาเคยไดร้ บั
3
โครงการมหิงสาสายสืบ คอื อะไร ?
โครงการมหิงสาสายสืบเป็นโครงการท่ีกรมส่งเสริมคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการต้ังแต่ปี พ.ศ.2548 โดยมุ่งเน้นให้เยาวชน
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม และ
ส่งเสริมให้เยาวชนได้มีโอกาสค้นหาและพัฒนาศักยภาพของตน
โดยการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมท่ีท้าทายความสามารถในการสำรวจ
และดูแล รักษาพื้นท่ีธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตน
ผา่ นกจิ กรรมการ “คน้ หา” พนื้ ทธ่ี รรมชาตทิ ก่ี ลมุ่ มคี วามสนใจแลว้ จงึ ลงมอื
“สำรวจ” พื้นท่ีนั้นอย่างต่อเน่ืองและสม่ำเสมอ ตลอดจนดำเนินการ
“อนรุ ักษ”์ พื้นทด่ี งั กล่าวดว้ ยวิธีการตา่ งๆ ทก่ี ลมุ่ สามารถทำได้ จากนนั้
จึงนำประสบการณค์ วามสำเรจ็ ท่ีกลมุ่ ไดร้ ับไป “แบง่ ปัน” หรอื เผยแพร่
ให้บุคคลอื่นได้รับรู้รับทราบและเห็นถึงประโยชน์ความสำคัญของพื้นท่ี
นน้ั ต่อไป
โดยแนวคดิ สำคญั ของโครงการคอื การเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ทสี่ นใจ
ในทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติ
ผา่ นกจิ กรรมการเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละสงั คม อกี ทงั้ ยงั เปน็ กจิ กรรม
การเรยี นรทู้ เ่ี ด็กและเยาวชนทำแล้วรู้สกึ มีความสขุ สนกุ สนาน และไม่ใช่
“การแข่งขัน” เพอ่ื ชงิ เงินรางวลั
4
ทำไมต้องเปน็ “มหิงสาสายสืบ” ?
ในปี พ.ศ. 2546 กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมได้เร่ิมดำเนินโครงการมหิงสาสายสืบ
(นำรอ่ ง) ข้ึน ภายใตช้ อ่ื “โครงการรางวัลเยาวชนอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม” ในพน้ื ทเี่ ขตการศึกษา 5 (เดมิ )
ไดแ้ ก่ จงั หวดั ราชบรุ ี สพุ รรณบรุ ี กาญจนบรุ ี สมทุ รสงคราม เพชรบรุ ี และประจวบครี ขี นั ธ์ ซง่ึ เปน็ พน้ื ท่ี
ส่วนหนง่ึ ของผนื ป่าตะวนั ตก อนั เปน็ แหลง่ ถิ่นทอ่ี ยอู่ าศัยสดุ ท้ายของฝงู “มหิงสา” (Bubalus bubalis)
หรอื “ควายปา่ ” ในเมืองไทย และมหิงสาคือเหตุผลสำคญั เหตุผลหน่งึ ทท่ี ำใหเ้ กิดเขตรักษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่
หว้ ยขาแข้งขน้ึ และได้รบั การขน้ึ ทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติจากองคก์ ร UNESCO
มหงิ สา หรอื ควายปา่ นอกจากจะใหค้ วามรสู้ กึ ถงึ ความเปน็ “ไทย-ไทย” แลว้ มหงิ สายงั เปน็
สัตว์ท่ีมีคุณประโยชน์อย่างยิ่งต่อผืนป่าและระบบนิเวศ มหิงสาเป็นสัตว์ท่ีแข็งแรงและฉลาดมาก
นอกจากนีม้ หิงสายงั เปน็ “แบบอยา่ งทด่ี ี” ของการทำงานเปน็ กลุ่ม เพราะฝงู มหิงสาจะปกปอ้ งลูกเลก็ ๆ
ใหอ้ ยหู่ ่างจากสัตวผ์ ู้ลา่ เชน่ เสือ ดว้ ยการยนื เรยี งเป็นแถวให้ลกู เลก็ ๆ อย่ใู นตำแหน่งทีป่ ลอดภัย
มหงิ สา หรือ ควายปา่ จงึ ถูกใช้เป็นสญั ลักษณโ์ ครงการฯ เพอ่ื ต้องการจะ “ส่ือ” ใหเ้ ห็นถงึ
ความสำคญั ของพลงั เยาวชนในการรว่ มกนั ทำงาน เพอื่ คณุ ประโยชนต์ อ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
5
วัตถปุ ระสงค์ของการดำเนินโครงการ มหงิ สาสายสบื
เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้เข้าไปสำรวจ เรียนรู้ ในพื้นที่ธรรมชาติ อันจะมีส่วนสำคัญ
ในการพัฒนาความตระหนัก ความรู้สึกรักและหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติของทอ้ งถ่นิ
เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนเห็นถึงคุณค่า ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และมีส่วนร่วม
ในการแสดงความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ิน
เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะทางสังคม
การช้ีบง่ ปญั หา และการทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื
6
แนวทางการดำเนนิ โครงการมหิงสาสายสืบ
โครงการมหงิ สาสายสบื ไมม่ เี งนิ รางวลั หรอื คา่ ตอบแทนใดๆ ใหแ้ กผ่ เู้ ขา้ รว่ มโครงการ นอกจาก
ความภาคภมู ิใจของตวั เยาวชนเองทไี่ ด้แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และส่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถนิ่ ท่ีตน
อาศยั อยู่ โดยเยาวชนทกุ คนจะไดร้ บั “รางวลั แหง่ ความภาคภูมิใจ” เม่อื กลุ่มของตนสามารถรว่ มกัน
ดำเนนิ โครงการไดค้ รบถว้ นตาม 4 ขน้ั ตอนความทา้ ทาย และตามกรอบกำหนดระยะเวลาทก่ี ลมุ่ เยาวชน
เลือกดำเนินโครงการ ดังนี้
1. มหงิ สาสายสบื 3 เดอื น : ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 3 เดือนอยา่ งต่อเน่อื ง
2. มหิงสาสายสืบ 6 เดอื น : ระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 6 เดอื นอย่างต่อเนื่อง
3. มหงิ สาสายสบื 12 เดอื น : ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 12 เดือนอย่างต่อเน่ือง
และเยาวชนจะตอ้ งสง่ รายงานความกา้ วหนา้ มาทกี่ รมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื บอกเลา่
เรื่องราวต่างๆ ที่ได้ดำเนินการตามแบบฟอร์มท่ีกำหนด พร้อมจัดส่งสรุปผลงานท้ังหมดที่เยาวชน
ได้ลงมือทำในรูปแบบที่หลากหลายตามแนวคิดและความสามารถของแต่ละกลุ่ม เช่น วรรณกรรม
เลม่ รายงาน คลิปวิดโิ อ ฯลฯ
ส่ิงท่ีสำคัญ ในการดำเนินโครงการควรเริ่มต้นจากความสนใจของตัวเยาวชนรวมกลุ่มกัน
เพ่ือที่จะทำกิจกรรมสำรวจธรรมชาติรอบตัว โดยกลุ่มเยาวชนจำเป็นจะต้องมี “พ่ีเลี้ยงโครงการ”
ท่ีมีความเสียสละและพร้อมให้คำปรึกษา แนะนำ เพ่ือให้โครงการสามารถดำเนินการได้ครบถ้วน
ตาม 4 ขั้นตอนความทา้ ทาย
7
8 การเดนิ ทาง 4 ก้าวย่าง ...
... อย่างท้าทาย
เมื่อกลุ่มเยาวชนได้เลือกระยะเวลา ขั้นที่ 2 : การสำรวจ (Explore)
ในการดำเนินโครงการแล้ว สมาชกิ ในกลุ่มจะต้อง
ร่วมกันดำเนนิ โครงการให้ครบถว้ นตาม 4 ข้นั ตอน หลงั จากไดพ้ นื้ ทธ่ี รรมชาตทิ กี่ ลมุ่ สนใจแลว้
ความทา้ ทายดังต่อไปนี้ กลมุ่ เยาวชนจะตอ้ งเขา้ ไปสำรวจ และเรยี นรลู้ กั ษณะ
ธรรมชาติในพ้ืนที่นั้นอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ขัน้ ที่ 1 : การค้นหา (Discover) เพอ่ื ศกึ ษาวา่ มสี งิ่ มชี วี ติ พชื สตั ว์ ชนดิ ใดอาศยั อยบู่ า้ ง
และสงิ่ มชี วี ติ เหลา่ นน้ั มคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งไร ทำไม
เป็นข้ันตอนการค้นหาพื้นที่ธรรมชาติ พน้ื ทแี่ หง่ นจี้ งึ มคี วามสำคญั ตอ่ สงิ่ มชี วี ติ ทอ่ี าศยั อยู่
สำหรับเร่มิ ต้นโครงการ โดยสิ่งสำคัญคอื จะตอ้ ง และชมุ ชนใกลเ้ คยี ง หากเวลาเปลย่ี นไป ธรรมชาติ
เปน็ พ้นื ท่ที ี่กลมุ่ สนใจ และเหมาะสมกบั ศกั ยภาพ มกี ารเปลย่ี นแปลงบา้ งหรอื ไม่ อะไรเปน็ สาเหตทุ ท่ี ำให้
ของตนเอง จากน้ันจึงเข้าไป “ทำความรู้จัก” เกดิ การเปลีย่ นแปลง และมีแนวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ การ
กับพื้นท่ีโดยสำรวจดูว่าพื้นที่ดังกล่าวมีอะไรบ้าง เปลยี่ นแปลงขน้ึ อกี หรอื ไมใ่ นอนาคต ซง่ึ เยาวชนจะ
ท่ีน่าสนใจและน่าศึกษาและต้องสามารถบอก สามารถเกบ็ เกย่ี วความรแู้ ละประสบการณท์ ไ่ี ดจ้ าก
ไดว้ า่ “เพราะเหตุใดจงึ เลอื กพ้นื ทีแ่ ห่งน้”ี การสำรวจ ผ่านการจดบันทึกร้อยเรียงเรื่องราว
วาดภาพ หรอื ทำแผนทปี่ ระกอบ เป็นตน้
9
ขัน้ ที่ 3 : การอนุรักษ์ (Conserve) ขัน้ ที่ 4 : การแบ่งปัน (Share)
เป็นการแสดงความรับผิดชอบตอ่ พ้นื ท่ี เป็นข้ันตอนการนำความรู้ที่ได้จากข้ัน
ธรรมชาตินั้นๆ ด้วยการลงมือกระทำสิ่งท่ีเป็น สำรวจวธิ กี ารดแู ลรกั ษาต่างๆ จากขน้ั อนรุ กั ษ์
ประโยชน์และเหมาะสมกับพื้นที่ โดยนำข้อมูล มาเผยแพร่ สื่อสาร แลกเปล่ียนประสบการณ์
ที่ได้จากการศึกษา สำรวจเรียนรู้ มาวิเคราะห์ ความสำเร็จและความภาคภูมิใจที่ได้จากการ
หาแนวทางเพ่ือทำให้พ้ืนที่มีสภาพดีขึ้นกว่าเดิม ดำเนินโครงการฯ ใหก้ บั เพอื่ นๆ คร-ู อาจารย์
หรือเพื่อช่วยปกป้องบริเวณพ้ืนท่ีท่ีดำเนิน ชุมชน หรือผู้ที่สนใจ เพื่อให้เกิดการคงไว้ซึ่ง
โครงการไม่ให้เสื่อมโทรมลงไปกว่าเดิม ซึ่งการ ความโดดเด่นในธรรมชาติ โดยสามารถใช้รปู แบบ
แสดงความรับผิดชอบต่อพ้ืนท่ีน้ันสามารถ ในการสอ่ื สารแลกเปลย่ี นประสบการณท์ ห่ี ลากหลาย
กระทำได้หลากหลายวิธี เช่น การรณรงค์/ เช่น การทำคู่มือเดนิ ศึกษาพืน้ ที่ธรรมชาติ (guide
เชิญชวน การปลูกตน้ ไม้ การเขยี นจดหมายถึง walk) การจดั นทิ รรศการเกย่ี วกบั กจิ กรรมทไ่ี ดท้ ำ
หน่วยงานในท้องถิ่นเพื่อกระตุ้นให้ดูแลรักษา และสิ่งที่ได้ค้นพบ การนำชมบริเวณทางเดิน
สภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น รวมถึงการทำเส้นทาง ศึกษาพื้นที่ธรรมชาติจากป้ายสัญลักษณ์ท่ีได้
ศึกษาธรรมชาติเพ่ือให้ผู้อื่นได้สำรวจพ้ืนที่น้ัน ทำไว้สำหรับให้ผู้เยี่ยมชมได้ศึกษา การพูดคุย
บ้าง เปน็ ต้น แลกเปลยี่ นประสบการณ์ การแสดงละครหุน่ เชิด
หุ่นเงา แต่งบทเพลงเกี่ยวกบั การอนุรักษธ์ รรมชาติ
ทำโปสเตอร์ แผน่ พับ จัดทำเวบ็ ไซต์บอกเร่ืองราว
กิจกรรมทไี่ ด้ทำ เป็นตน้
10
เส้นทางเดินของมหิงสาสายสืบ
กลุ่มเยาวชนสามารถเลือกพนื้ ทธี่ รรมชาติใดๆ กไ็ ดใ้ นทอ้ งถิ่นตามท่ีกลมุ่ สนใจ อยากเข้าไป
ศึกษา แตต่ อ้ งมคี วามปลอดภยั เดินทางสะดวก เหมาะสมกับศกั ยภาพของตนเองและระยะเวลาในการ
ดำเนนิ โครงการ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ พนื้ ทใี่ นการดำเนนิ โครงการ และทสี่ ำคญั ตอ้ งไดร้ บั การอนญุ าตจากเจา้ ของ
พื้นที่กอ่ นการดำเนินกจิ กรรมทกุ ครงั้
11
เข้าร่วมโครงการมหงิ สาสายสบื แล้วได้อะไร?
สำรวจและศึกษาว่าในพ้ืนที่ธรรมชาติ (พ้ืนท่ีท่ีใช้ดำเนินโครงการ) มีสิ่งมีชีวิตชนิดใดอาศัย
อยู่บ้าง มีสภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร และมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างไร นอกจากน้ันทำให้เรา
ทราบวา่ ในพน้ื ท่ีนนั้ ๆ มคี วามโดดเดน่ และมีคณุ ค่าแตกต่างจากทอี่ ่นื อย่างไร
ได้รับความสนุกสนาน และไดป้ ระสบการณจ์ ากการสำรวจธรรมชาติ
ได้รับความรผู้ า่ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสงั คมจากการดำเนินโครงการ
ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
แบ่งปนั แลกเปลย่ี นประสบการณก์ ับผูอ้ ่ืน
รจู้ กั การทำงานเปน็ ทีม ในการวางแผนและการรว่ มมือปฏบิ ัตงิ านโครงการฯ
พัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตใิ นท้องถิ่น
แสดงความรบั ผดิ ชอบของตนเองในการช่วยอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
เสริมสรา้ งความเชือ่ มัน่ และทักษะในการส่ือสารสำหรับใช้ในการดำเนนิ โครงการ
12
13
ใคร...สามารถเข้าร่วมโครงการมหิงสาสายสืบได้บ้าง ?
คณุ สมบัติเยาวชนที่สนใจ
1. อายุ 8-18 ปี ทงั้ ในและนอกระบบโรงเรยี นท่ีมใี จรัก สนใจ และอยากเรียนรูเ้ ร่อื งราว
ของธรรมชาติ
2. สามารถทำงานเปน็ กลุ่มได้
3. รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ น่ื
4. พร้อมที่จะเป็นนกั สำรวจ ออกสำรวจโลกกว้างรอบๆ ตวั
บทบาทของเยาวชน
1. รวมกล่มุ เพือ่ นๆ ท่ีสนใจพร้อมเรียนรแู้ ละพร้อมลุยจำนวนกลุ่มละ 5-8 คน
2. หาพ่เี ลีย้ งประจำกลมุ่ 1 คน และตอ้ งปฏิบตั งิ านรว่ มกับพี่เล้ียงในการดำเนินโครงการฯ
3. ดำเนนิ กจิ กรรมตาม 4 ขัน้ ตอนความทา้ ทาย (คน้ หา สำรวจ อนรุ ักษ์ และแบ่งปัน)
4. การดำเนนิ กจิ กรรมต้องมีความปลอดภัยในสวัสดภิ าพและสขุ ภาพ ภายใตก้ ารดูแล
และคำแนะนำของพี่เลีย้ ง
5. ดำเนนิ โครงการให้สำเรจ็ ตามกรอบเวลาที่เลอื ก
6. ต้องได้รบั การอนญุ าตจากผู้ปกครอง
คณุ สมบัติของพี่เลี้ยงโครงการ
ครู อาจารย์ เยาวชนพเ่ี ล้ียงกล่มุ นักอนรุ ักษ์ นักส่ิงแวดลอ้ ม นกั ส่ือความหมายธรรมชาติ
เจ้าหน้าทีจ่ ากหนว่ ยงานราชการและองค์กรเอกชนต่างๆ หรือบคุ คลทีม่ คี ุณสมบตั ิตอ่ ไปนี้
1. ปฏิบัตงิ านร่วมกับเด็กและเยาวชน
2. สนใจงานด้านอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
3. อยากเห็นเดก็ และเยาวชนไทยสนใจ ใสใ่ จและรับผดิ ชอบต่อทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม
4. มีเวลาให้คำแนะนำปรกึ ษาตลอดการดำเนินโครงการกับกลมุ่ เยาวชน
5. เข้าใจเป้าหมาย แนวคดิ หลกั ของโครงการมหิงสาสายสืบ
6. ต้องผ่านการอบรมพ่ีเลี้ยงโครงการมหงิ สาสายสืบ
14
บทบาทสำหรับพี่เลี้ยงโครงการ
พ่ีเล้ียงนอกจากจะต้องผ่านการฝึกอบรมพ่ีเล้ียงโครงการมหิงสาสายสืบแล้ว จะต้องเข้าใจ
เปา้ หมายทแี่ ทจ้ ริงของโครงการมหิงสาสายสืบ คอื การเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ และเยาวชนได้มโี อกาสใกลช้ ดิ
กบั ธรรมชาติ ผา่ นการทำกจิ กรรมตาม 4 ขนั้ ตอนความทา้ ทาย และจะตอ้ งตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ
ของเยาวชนอย่างตรงไปตรงมาและเปน็ กลาง โดยบทบาทหนา้ ท่ีหลักของพเ่ี ลยี้ ง ไดแ้ ก่
1. ใหค้ ำแนะนำทางวชิ าการ ให้คำปรกึ ษาแก่เด็กและเยาวชนในการดำเนินโครงการ
2. กระตนุ้ ให้เยาวชนคดิ หารปู แบบและวิธกี ารในการคน้ หา สำรวจ อนุรกั ษ์ และแบง่ ปัน
ได้อยา่ งสอดคล้อง เหมาะสมกับศักยภาพของเยาวชนและพ้ืนท่ีท่ีดำเนินการ
3. ตดิ ตาม ประเมินผลโครงการอยา่ งตอ่ เนื่องตามสภาพจรงิ
4. พจิ ารณาความสำเรจ็ ของโครงการ
15
การฝกึ อบรมพี่เลี้ยงโครงการมหงิ สาสายสืบ
เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จน้ัน พี่เลี้ยง
จำเปน็ ตอ้ งผา่ นการฝกึ อบรมพเ่ี ลย้ี งโครงการมหงิ สาสายสบื โดยการฝกึ อบรมนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ทำความ
เขา้ ใจทต่ี รงกนั กบั พี่เลีย้ ง เกยี่ วกับแนวคิดของโครงการมหิงสาสายสืบ ข้นั ตอนและวิธกี ารในการดำเนิน
โครงการ บทบาทของพ่ีเล้ียงในการเป็นที่ปรึกษา แนะนำโครงการ ตลอดจนการฝึกและพฒั นาทักษะ
ความเชอื่ มั่นในการเปน็ พี่เลยี้ ง เปดิ โอกาสให้พ่เี ลีย้ งได้พบปะ พดู คยุ แลกเปลย่ี นประสบการณค์ วาม
คิดเห็น รวมถึงการสร้างเครือข่ายการติดต่อระหว่างกัน ซ่ึงช่วยให้การดำเนินโครงการมหิงสาสายสืบ
เป็นไปได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
ระยะเวลาท่ีใช้ในการฝึกอบรมประมาณ 4-5 วัน โดยกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม
จะเปดิ รบั สมคั รเขา้ รว่ มฝกึ อบรมเปน็ พเ่ี ลย้ี งโครงการในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ มนี าคม และจะจดั ฝกึ อบรมฯ
ในช่วงเดอื นเมษายนของทุกปี (ติดตามรายละเอียดในชว่ งเวลาดงั กล่าวได้ท่ี www.deqp.go.th)
16
17
ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการมหงิ สาสายสบื
1. พเ่ี ลีย้ ง/เยาวชนรับทราบขอ้ มูลรายละเอยี ดโครงการมหงิ สาสายสบื
2. เยาวชนหาพเ่ี ลยี้ งเพือ่ เป็นท่ีปรกึ ษาโครงการ
3. ผทู้ สี่ นใจเปน็ พ่เี ลีย้ งโครงการ สง่ ใบสมคั รมายงั กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม
4. กรมสง่ เสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อมคัดเลอื กและส่งจดหมายเชญิ เข้าร่วมฝกึ อบรมเป็นพี่เล้ยี ง
โครงการ
5. เปดิ รบั ขอ้ เสนอโครงการ โดยกลมุ่ เยาวชนสง่ ขอ้ เสนอโครงการ (ตามแบบฟอรม์ ทก่ี ำหนด)
มายงั กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ตามวนั เวลา ทก่ี ำหนด (ตามปฏทิ นิ ของโครงการ)
6. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมประกาศผลกลุ่มเยาวชนท่ีผ่านการพิจารณาข้อเสนอ
โครงการ
7. กลุ่มเยาวชนดำเนินโครงการตามแผนการดำเนินงานโดยมีพ่ีเล้ียงให้คำปรึกษา แนะนำ
ติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ งานอย่างตอ่ เนอื่ ง
โครงการระดบั 6 เดอื น และ 12 เดอื น สง่ รายงานความกา้ วหนา้ (ตามแบบฟอรม์
ทีก่ ำหนด) มายังกรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดล้อม ตามวัน เวลา ทก่ี ำหนด
โครงการระดับ 12 เดือน รับการประเมินผลการดำเนินงาน จากการลงพ้ืนที่
ของคณะกรรมการ
8. กลุม่ เยาวชนส่งรายงานสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ ทผี่ ่านการประเมินผลจากพ่เี ลยี้ ง
ให้กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อมพิจารณา
9. มอบรางวัลและเกยี รติบตั รใหก้ ลุม่ เยาวชนที่ผา่ นเกณฑ์
18
ปฏทิ ินการเดินทาง...
พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม สงิ หาคม กนั ยายน
เปิดรบั แจง้ ผล รบั ของ
ขอ้ เสนอ การพจิ ารณา ที่ระลึกและ
โครงการ ข้อเสนอ คู่มอื การ
3มหิงสา เดอื น รอบที่ 1 (30 มิ.ย. ดำเนนิ งาน
(1 พ.ค.-15 มิ.ย. ของทุกป)ี
ของทุกปี) เรม่ิ โครงการ
1 2 3
2 3
เปดิ รับ แจง้ ผลการ รับของ
ขอ้ เสนอ พิจารณา ที่ระลกึ และ
คู่มือการ
6 โครงการ ข้อเสนอ ดำเนนิ งาน
เริม่ โครงการ
มหิงสา เดือน (1 พ.ค.-15 มิ.ย. (30 มิ.ย.
1
ของทกุ ป)ี ของทุกปี)
12มหิงสา เดือน เปดิ รับ แจง้ ผลการ รบั ของ
ข้อเสนอ พจิ ารณา ทร่ี ะลึกและ
โครงการ ข้อเสนอ คู่มือการ
(1 พ.ค.-15 มิ.ย. (30 ม.ิ ย. ดำเนินงาน
ของทุกป)ี ของทุกป)ี เรม่ิ โครงการ
1 2 3
11 12
ส่งผลงาน
พเ่ี ลี้ยงโครงการ
...ของมหิงสาสายสบื 19
ตลุ าคม พฤศจกิ ายน ธนั วาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มนี าคม เมษายน
สง่ ผลงาน แจง้ ผลการ รบั ของ ส่งผลงาน
รอบที่ 1 พจิ ารณา ทร่ี ะลกึ รอบท่ี 2
เปดิ รบั ขอ้ เสนอ และ
ขอ้ เสนอ (30 พ.ย. คมู่ อื การ
โครงการ ของทกุ ปี) ดำเนนิ งาน
รอบที่ 2
(1 ต.ค.-15 พ.ย. 1
ของ4ท ุกปี)
2 3 4
สง่ รายงาน สง่ ผลงาน
ความ
ก้าวหนา้
4 5 6 7
ส่งรายงาน สง่ รายงาน
ความ ความ
กา้ วหนา้ กา้ วหน้า
ครง้ั ที่ 1 ครัง้ ท่ี 2
4 5 6 7 8 9 10
เปิดรับสมัครเปน็ จัดฝึกอบรม
พ่ีเลีย้ งโครงการ พ่เี ล้ยี ง
โครงการ
20
วธิ ีการรับสมัครเข้าร่วมโครงการ
1. รวมกลุ่มเพือ่ นๆ ท่สี นใจพรอ้ มเรียนรูแ้ ละพรอ้ มลยุ จำนวนกล่มุ ละ 5-8 คน
2. หาพี่เล้ยี งประจำกลมุ่ 1 คน ซ่ึงอาจเป็นครู เจา้ หน้าท่ีจากองคก์ รเอกชน หรือ บุคคลใด
ท่ีพรอ้ มให้คำแนะนำทางวชิ าการ ใหค้ ำปรึกษาการดำเนินโครงการ ท่ีสำคัญคือ สามารถมีเวลาให้กับ
โครงการและดูแลกลุ่มได้ และต้องผ่านการฝึกอบรมเป็นพ่ีเล้ียงโครงการจากกรมส่งเสริมคุณภาพ
ส่งิ แวดล้อม
(สำหรบั พเ่ี ลย้ี งทไ่ี มเ่ คยไดร้ บั การฝกึ อบรม สามารถดรู ายละเอยี ดชว่ งเวลาการรบั สมคั รไดจ้ าก
ปฏิทนิ การเดนิ ทางของมหงิ สาสายสืบ)
3. ส่งขอ้ เสนอโครงการ (ตามแบบฟอร์มทก่ี ำหนด) มาท่ีสว่ นส่งิ แวดล้อมศึกษา กองสง่ เสริม
และเผยแพร่ กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม 49 พระราม 6 ซอย 30 พญาไท กรงุ เทพฯ 10400
*** ภายใน วนั เวลา ท่กี ำหนด เท่านนั้ ***
4. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมจะประกาศผลกลุ่มเยาวชนท่ีผ่านการพิจารณาข้อเสนอ
โครงการ ในวันท่ี 30 มถิ นุ ายน ของทุกปี