The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศุภกร บุญสงค์, 2024-02-08 19:37:58

รายงานการฝึก

รายงานการฝึก

รายงานการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร์ นายศุภกร บุญสงค ์ รหัสนักศึกษา 630112801016รุ่น ๖๓ หมู่๑ ประจ าภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๖ คณะมนุษยศาสตร ์ และสังคมศาสตร ์ มหาวิทยาลยัราชภัฏบุรีรัมย ์


รายงานการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ ชื่อ นายศุภกร บุญสงค ์ รหัสนักศึกษา ๖๓๐๑๑๒๘๐๑๐๑๖ ช้ันปีที่๔ หมู่ที่๑ สถานที่ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ที่ว่าการอ าเภอปราสาท ต าบลกงัแอน อา เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร ์ ระยะเวลาในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ระหว่างวันที่๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ถึงวันที่๓๑ มกราคม ๒๕๖๗ คณะมนุษยศาสตร ์ และสังคมศาสตร ์ มหาวิทยาลยัราชภัฏบุรีรัมย ์ ประจ าภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๖


กิตติกรรมประกาศ การที่ข้าพเจ้าได้มาฝึ กงาน ณ ที่วา่การอา เภอปราสาท จงัหวดัสุรินทร์ต้งัแต่วนัที่๓๐ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๓๑ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗ ท าให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ มีค่ามากมาย สา หรับรายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพฉบบัน้ีสา เร็จลงไดด้ว้ยดีจากความร่วมมือและ สนบัสนุนจากหลายฝ่าย ดงัน้ี ที่ว่าการอ าเภอปราสาท พันจ่าตรี ทวัช พันธุชิน นายอ าเภอปราสาท ที่อนุมัติเห็นชอบให้ข้าพเจ้าฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพที่ ที่ว่าการอ าเภอปราสาท นายส าราญ สารจันทร์ ปลัดอ าเภอฝ่ ายงานส านักงานอ าเภอผู้ให้ค าแนะน าช่วยเหลือด้านข้อมูล แนะน าวิธีการปฏิบัติงานในขณะฝึ กประสบการณ์ นางภัทรวดี จันไตรย์ พนังงานราชการ ที่ก ากับดูแลการท างานของข้าพเจ้าอย่างใกล้ชิด และคอยให้ ค าแนะน าเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน รวมถึงการสอนเทคนิควิธีการปฏิบัติงานให้เป็ นไปด้วยดีตลอด ระยะเวลา การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพของข้าพเจ้า และบุคคลท่านอื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามทุกท่านที่ได้ให้ค าแนะน า ช่วยเหลือในการจดัทา รายงานฉบบัน้ี รวมท้งัคณะอาจารยป์ระจา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ทุกท่านที่ไดใ้หค้า แนะนา และขอ้คิดเห็น ต่าง ๆ ของการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพมาโดยตลอด ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเป็ นที่ปรึกษาในการ ทา รายงานฉบบัน้ีจนเสร็จสมบูรณ์ตลอดจนใหก้ารดูแลและใหค้วามเขา้ใจเกี่ยวกบัชีวิตการทา งานจริง ขา้พเจา้ขอขอบคุณ ไว้ณ ที่น้ี นายศุภกร บุญสงค์ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ผู้จัดท า


ค าน า การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ เป็นการเตรียมความพร้อมของนกัศึกษาก่อนที่จะสา เร็จการศึกษา เพื่อที่จะออกสู่การปฏิบัติงานจริง หรือออกสู่ตลาดแรงงาน การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพท าให้เกิดการเรียนรู้ หรือประสบการณ์นอกเหนือจากที่เรียนในหลักสูตรวิชาฝึ ก ให้รู้จักการน าวิชาความรู้ที่ได้เรียนไประยุกต์ใช้ กบัการปฏิบตัิงานในหน่วยงานหรือองคก์าร ซ่ึงการฝึกคร้ังน้ีทา ใหไ้ดร้ับความรู้ในเรื่องของการปฏิบตัิงาน ของหน่วยงานราชการมากข้ึน อีกท้งัเป็นการทา ใหเ้กิดการเรียนรู้ถึงกระบวนการต่างๆของงานราชการ ตาม กิจกรรมหรือการบนัทึกตามรายละเอียด ในรายงานเล่มน้ีเป็นการมุ่งหวงัให้ตวันกัศึกษาไดเ้รียนรู้ปัญหาและ อุปสรรคต่างๆ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในหน่วยงานหรือองค์การ และการน าความรู้ที่ได้เรียนไปใช้กับการ ปฏิบตัิงาน อนัจะทา ใหม้ีความรู้ที่เพิ่มมากข้ึนและนา ไปใชอ้ยา่งเป็นรูปธรรมในการปฏิบตัิงานในหน่วยงาน ต่อไป ผู้จัดรายงาน ขอขอบพระคุณอาจารย์ประจ าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ทุกท่าน ที่ได้กรุณา เสียสละเวลาในการเตรียมความพร้อม ติดตามนิเทศการปฏิบตัิงานใหแ้ก่นกัศึกษาที่ออกไปฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ และขอขอบคุณที่ว่าการอ าเภอปราสาท ที่ไดเ้อ้ืออา นวยสถานที่ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพคร้ังน้ี ตลอดจนการสอนการปฏิบตัิงานต่างๆที่จะเป็นการเพิ่มพูนความรู้ใหก้บัผฝู้ึกประสบการณ์วิชาชีพ จนกระทงั่ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในคร้ังน้ีสา เร็จลุล่วงไปดว้ยดีและผฝู้ึกประสบการณ์วิชาชีพจะนา ความรู้ที่ได้ น้นั ไปใชใ้หเกิดประโยชน์สูงสุด ผู้จัดท าหวัง ้วา่รายงานฉบบัน้ีสามารถนา ไปเป็นแนวทางปฏิบตัิงานจริง ไดม้ากก็นอ้ยและหากผิดพลาดประการใดตอ้งขออภยัมา ณ ที่น้ี ศุภกร บุญสงค์ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์


สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ค าน า สารบัญ สารบัญภาพ บทที่1 บทน า ชื่อและที่ต้งัสถานประกอบการ รูปแบบการจัดองค์กรและการบริหารงานขององค์กร ผู้ควบคุมดูแล และต าแหน่งงานของผู้ควบคุมดูแล ต าแหน่งและลักษณะงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ปฏิบัติ บทที่ 2 ลักษณะของการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจ วัตถุประสงค์ของการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจ ลักษณะงานที่นักศึกษาปฏิบัติและได้รับมอบหมาย บทที่ 3 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ทฤษฎีที่น ามาประยุกต์ใช้ในการท างาน ทฤษฎี SWOT สรุปผลการปฏิบัติงานฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจ ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ แนวทางการแก้ไข ข้อเสนอแนะในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนังสือส่งตัวนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ภาคผนวก ข หนังสือส่งตัวนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพกลับสถาบัน ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรมการปฏิบัติงาน ภาคผนวก ง ประวัตินักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ


สารบัญภาพ เรื่อง หน้า


บทที่ 1 ข ้ อมูลพ ื้นฐานท ี่ว่าการอา เภอปราสาท ที่ว่าการอ าเภอปราสาท ประวัติความเป็ นมาที่ว่าการอ าเภอปราสาท ปราสาท เป็ นอ าเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ นับเป็ นอ าเภอที่มีความเจริญมากเป็ นอันดับสองของ จงัหวดัรองจากอา เภอเมืองสุรินทร์และนอกจากน้ีอา เภอปราสาทนบัเป็นอา เภอที่มีประชากรมากเป็นลา ดบัที่ 2 ของจังหวัด รองจากอ าเภอเมือง ประชากรส่วนใหญ่ของอา เภอปราสาทเป็นชาวไทยเช้ือสายเขมรและมี ชาวกูยลาวและไทยเช้ือสายจีนเจือปนบา้งเลก็นอ้ยแต่มิใช่ชนเผา่ด้งัเดิมเฉกเช่นชาวไทยเช้ือสายเขมร ซ่ึง นบัเป็นอีกอา เภอหน่ึงของจงัหวดัที่มีชาวไทยเช้ือสายเขมรมากที่สุด สาเหตุที่ราชการต้งัชื่ออา เภอน้ีวา่"อา เภอปราสาท" น้นัเนื่องจากเป็นทอ้งที่ที่มีปราสาทหินโบราณ อยมู่าก ซ่ึงสร้างโดยฝีมือชาวขอมอยหู่ลายแห่ง เช่น ปราสาทหินบา้นพลวง ต้งัอยทู่ ี่บา้นพลวง , ปราสาทหิน บ้านปราสาท ต าบลปราสาททนง, ปราสาทหินตะคร้อ ตา บลเช้ือเพลิง เป็นตน้ อ าเภอปราสาท เดิมเป็ นส่วนหนึ่งของอ าเภอเมืองสุรินทร์ ต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2480 ในช่วง รัฐบาลพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา ซึ่งเป็ นนายกรัฐมนตรีคนที่สองของประเทศไทย ทางราชการได้ พิจารณาเห็นวา่อา เภอเมืองสุรินทร์มีขอบเขตการปกครองและพลเมืองมาก บางแห่งเป็นถิ่นทุรกนัดาร ห่างไกลการปกครองดูแลไม่ทวั่ถึงการคมนาคมไม่สะดวกยากต่อการที่ประชาชนจะเขา้ไปติดต่อราชการ เพื่อความสะดวกในการปกครอง อ าเภอเมืองสุรินทร์จึงได้แยกท้องที่ต าบลกังแอน ต าบลบักได ต าบลตาเบา ตา บลปรือ ตา บลทุ่งมน ตา บลไพลและตา บลทมอจากอา เภอเมืองสุรินทร์มาต้งเป็ น อ าเภอปราสาท ั โดยต้งั ตวัที่วา่การอา เภอ ณ บา้นกงัแอน ตา บลกงัแอน อนัเป็นที่ต้งัตวัอา เภอในปัจจุบนั ที่ตั้ง ต้งัอยเู่ลขที่1 หมู่ที่ 1 ต าบลกังแอน อ าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ถนนสุรินทร์ – ช่องจอม รหัสไปรษณีย์ 32140


พันธกิจ “ เป็ นหน่วยงานของรัฐในการขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการ เรียนรู้ของชุมชน การบริหารจัดการชุมชน เพื่อสร้างพลังชุมชนให้เข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้อย่าง ยงั่ยนื ” วิสัยทัศน์ 1.พัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชน 2. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการบริหารจัดการชุมชน 3. ส่งเสริมการพัฒนาระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. พัฒนาสมรรถนะองค์กรในการท างานเชิงบูรณาการ การจัดรูปแบบการบริหารงานของที่ว่าการอา เภอปราสาท 1.กลุ่มงานบริหารงานปกครอง 1.1 งานปกครอง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ -การบริหารงานปกครองท้องที่ -การดูแลรักษาที่สาธารณะ -การก่อสร้างอาคารสถานที่ราชการ -การพัฒนาท้องที่ -การบริหารงานบุคคลของก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ -การด าเนินการเกี่ยวกับคณะกรรมการหมู่บ้าน -การบริหารงานบุคคลของข้าราชการและลูกจ้างกรมการปกครอง -การสนบัสนุนการเลือกต้งั -การส่งเสริมการพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย -การด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม -การด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ -การด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจ าน า -การด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน -การด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปื น -การขออนุญาตให้มีมหรสพและการโฆษณาขยายเสียง -การด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย


1.2 งานส านักงานอ าเภอ มีหนา้ที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกบังาน ดงัน้ี - ปฏิบตัิงานบริหารทวั่ ไป งานธุรการและงานสารบรรณ -จัดท าข้อมูล การบรรยายสรุป และการด าเนินงานประชาสัมพันธ์ของอ าเภอ -การด าเนินการเกี่ยวกับงานรับรอง ราชพิธีงานรัฐพิธีงานศาสนพิธี และงานประเพณี ต่าง ๆ - ด าเนินการงานกาชาด งานสังคมสงเคราะห์และงานสาธารณกุศลต่าง ๆ - ปฏิบัติงานเลขานุการนายอ าเภอ - ประสานการด าเนินการเกี่ยวกับการจัดท าแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ พัฒนา อ าเภอ - ให้ค าปรึกษาแนะน าเกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาต าบล หมู่บ้าน -จัดระบบการอ านวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน - ด าเนินการเกี่ยวกับงานประชุมของอ าเภอ - ด าเนินงานโครงการอ าเภอเคลื่อนที่ - ด าเนินงานของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ที่มอบหมายให้อ าเภอด าเนินการแทน - ด าเนินงานอื่นที่ก าหนดให้เป็ นหน้าที่ของนายอ าเภอ เช่น การด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ ของนายอ าเภอตามที่ก าหนดในกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายลักษณะ ปกครองทอ้งที่กฎหมายวา่ดว้ยการรักษา สิ่งแวดลอ้ม กฎหมายว่าด้วยโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นต้น ราชการแผ่นดิน กฎหมายลกัษณะปกครองทอ้งที่กฎหมายวา่ดว้ยการรักษา สิ่งแวดลอ้ม กฎหมายวา่ ด้วยโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นต้น - ด าเนินการอื่นตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย เช่น โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ โครงการปรับขยายการให้บริการประชาชนของกระทรวงมหาดไทย โครงการประเทศไทยใสสะอาด การสนับสนุนส่งเสริมการ กีฬาและนันทนาการเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิต และการส่งเสริมการท่องเที่ยว - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 1.3 งานด้านการเงินและบัญชี มีหนา้ที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกบังาน ดงัน้ี - เก็บรักษาดวงตราประจ าต าแหน่งนายอ าเภอ -จัดท าระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย -รวบรวมหลักฐานการขอเบิกจ่ายเงินงบประมาณ เงินเดือน เงินสวัสดิการต่าง ๆของ ข้าราชการ -รวบรวมหลกัฐานการขอเบิกจ่ายเงินตอบแทนเงินสวสัดิการต่าง ๆ ไดแ้ก่กา นนั ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ สมาชิก อส.


- ด าเนินการเกี่ยวกับการรับ - ส่ง หรือ นา ฝากและรายงานเงินรายไดแ้ผ่นดินรวมท้งัเงิน นอกงบประมาณ - ด าเนินการเกี่ยวกับการขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี - ด าเนินการเกี่ยวกับการขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน - ด าเนินการเกี่ยวกับการเบิกเงิน ฌปค. ของข้าราชการ และเงิน ฌกน. ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ -ควบคุมดูแลรักษาพัสดุ -ครุภัณฑ์ การขออนุมัติจ าหน่ายครุภัณฑ์ที่ช ารุด การตีราคา ทรัพย์สิน (พัสดุ -ครุภัณฑ์) ของที่ท าการปกครองอ าเภอ - ดา เนินการขออนุมตัิจดัซ้ือ/จดัจา้ง -รวบรวมและจัดท าค าขอรับการจัดสรรงบประมาณ -จัดท าทะเบียนควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ - บริหาร ควบคุม เร่งรัด และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ - ตรวจสอบและจัดท าบัญชีถือจ่ายเงินค่าตอบแทนก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ -รายงานผลการบริหารงบประมาณ - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 1.4 งานอ านวยความเป็ นธรรม มีหนา้ที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกบังาน ดงัน้ี - งานวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองและงานคดีปกครอง -การด าเนินการเกี่ยวกับความผิดทางละเมิด คดีแพ่ง คดีล้มละลายและคดีอาญา -การสอบสวนคดีอาญา -การอ านวยความเป็ นธรรม -การแกไ้ขปัญหาผมู้ีอิทธิพลในพ้ืนที่ -การสอบสวนคดีอาญา -การอ านวยความเป็ นธรรม -การแกไ้ขปัญหาผมู้ีอิทธิพลในพ้ืนที่ - งานศูนย์ด ารงธรรม -การขันสูตรพลิกศพ -การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น -การให้ค าปรึกษาด้านกฎหมาย - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 2. ฝ่ ายทะเบียนและบัตร 2.1 งานทะเบียนทั่วไป ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ


- ดา เนินการเกี่ยวกบัการจดทะเบียนต้งัชื่อสกุล, การอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อตัว ชื่อรองการ ร่วมใช้ชื่อสกุล - ดา เนินการเกี่ยวกบัการรับคา ร้องตรวจสอบกลนั่กรองการจดทะเบียนต้งัมูลนิธิจด ทะเบียนเปลี่ยนกรรมการ มูลนิธิจดทะเบียนแกไ้ขเพิ่มเติมขอ้บงัคบัมูลนิธิการเลิก มูลนิธิรวมท้งั การตรวจตราดูแลการด าเนินงานของ มูลนิธิ - ดา เนินการเกี่ยวกบัการรับคา ร้องตรวจสอบกลนั่กรองจดทะเบียนสมาคม จดทะเบียน เปลี่ยนแปลงกรรมการ สมาคม การจดทะเบียนแกไ้ขเพิ่มเติม ขอ้บงัคบัสมาคม การเลิกสมาคม - ดา เนินการเกี่ยวกบัการขายทอดตลาดและคา้ของเก่า - ด าเนินการเกี่ยวกับทะเบียนครอบครัว - ด าเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนพินัยกรรม - ด าเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนเกี่ยวกับนิติกรรม - ดา เนินการเกี่ยวกบัการจดัต้งัและอนุญาตใหด้า เนินการสุสานและฌาปนสถานนอกเขต กรุงเทพมหานคร เทศบาล และเมืองพัทยา - ด าเนินการเกี่ยวกับการตรวจตราและควบคุมดูแลศาลเจ้า - ด าเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนสัตว์พาหนะ - ดา เนินการเกี่ยวกบัการทะเบียนเกาะเพื่อการอนุรักษท์รัพยากรธรรมชาติและความมนั่คง - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 2.2 งานทะเบียนราษฎร ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ - ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 และระเบียบส านักทะเบียนกลางว่าด้วยการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 - ปฏิบัติหน้าที่ในส่วนของส านักทะเบียนอ าเภอ - ด าเนินการเกี่ยวกับการทุจริตทางการทะเบียน - ด าเนินการเกี่ยวกับการจัดท าทะเบียนประวัติ และบัตรประจ าตัวชนกลุ่มน้อยและ ชาวเขา - ดา เนินการรับคา ร้อง ตรวจสอบกลนั่กรองและพิจารณาเสนอใหจ้งัหวดัดา เนินการ เกี่ยวกบัการกา หนดสถานะชนกลุ่มนอ้ยและชาวเขาไดแ้ก่การ พิจารณาใหส้ ัญชาติกบับุตรขนกลุ่ม นอ้ยและการพิจารณาใหส้ถานะคนเขา้เมืองโดยชอบดว้ยกฎหมายแก่ชนกลุ่มนอ้ยและขาวเขา - ด าเนินการเกี่ยวกับการบันทึกและตรวจสอบฐานข้อมูลทางการทะเบียนต่าง ๆ ด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ -รายงานข้อมูลทางทะเบียน - ดูแลรักษาเครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทางการทะเบียน


-จดัทา บญัชีรายชื่อผมู้ีสิทธิเลือกต้งัเพื่อสนบัสนุนการเลือกต้งัสมาชิกสภาผแู้ทนราษฎร การเลือกต้งัสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาทอ้งถิ่นหรือผูบ้ริหารทอ้งถิ่น - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 2.3 งานบัตรประจ าตัวประชาชน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ - ด าเนินการเกี่ยวกับการให้บริการจัดท าบัตรประจ าตัวประชาชน การจัดส่ง บ.ป.1ไปยัง ส านักงานทะเบียนบัตรประจ าตัวประชาชน รวมท้งัการจดัเก็บ บ.ป.1 ที่ได้รับ คืนจากส านักงาน ทะเบียนบัตรประจ าตัวประชาชน -การประชาสัมพนัธ์เกี่ยวกบัการทา บตัรคร้ังแรกใหแ้ก่ผมู้ีอายคุรบ 15 ปี - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 3. ฝ่ ายความมั่นคงโดยมีหนา้ที่ความรับผิดชอบ ดงัน้ี - งานกิจการชายแดน - งานกิจการผู้อพยพ - งานกิจการชนกลุ่มน้อย - งานกิจการศาสนาอิสลาม - งานกิจการมวลชน -การแกไ้ขปัญหาความเดือดร้อนและความขดัแยง้ของประชาชนในพ้ืนที่ - งานกิจการหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง (หมู่บ้าน อพป.) - งานกิจการการข่าว - งานเกี่ยวกับผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ ายรักษาความสงบ - งานกิจการอาสารักษาดินแดน (อส.) - งานด้านการสื่อสาร -การจัดระเบียบสังคม -การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด -การประสานการป้องกันและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย


รูปแบบการจัดองค ์ กรและการบริหารงานขององค ์ กร ผู้ควบคุมดูแลและต าแหน่งงานของผู้ควบคุมดูแล 1. นายสมมารถ ปล้องไหม ต าแหน่ง ปลัดอาวุโสอ าเภอปราสาท 2. นายส าราญ สายจันทร์ ต าแหน่ง ปลัดอ าเภอหัวหน้ากลุ่มงานส านักงานอ าเภอ 3. นางภภัทรวดี จันไตรย์ ต าแหน่ง พนังงานราชการ ต าแหน่งและลักษณะงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ - จัดท าวาระการประชุม - เตรียมสถานที่การประชุม - จัดท ารายงานการประชุม - ถ่ายภาพกิจกรรมต่างๆ - รับส่งหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - แก้ไขหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือ–ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ส่งเอกสารหนังสือไปยังหน่วยงานต่างๆ - จัดท าหนังสือบันทึกข้อความเบิกจ่ายเงิน - กา กบัดูแลระบบการเพิ่มขอมูล THAI QM - จัดท าแผนภารกิจ GECC ที่ว่าการอ าเภอปราสาท


ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ระยะเวลาของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เริ่มต้งัแต่วนัที่30 ตุลาคม 2566 –วันที่ 31 มกราคม 2567 รวมเป็ นระยะเวลา 65 วัน 520 ชวั่โมง


บทที่ 2 ลักษณะงานของการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษา วัตถุประสงค์ของการฝึ กประสบการณ์ 1. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และได้รับประสบการณ์ชีวิตการท างานที่แท้จริง 2. เพื่อใหน้กัศึกษาไดเ้พิ่มทกัษะ สร้างเสริมประสบการณ์และพฒันาวิชาชีพตามสภาพความเป็น จริงในสถานประกอบการ 3. เพื่อฝึ กให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เคารพกฎระเบียบมีวินัยในตนเอง และท างาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติและได้รับมอบหมาย สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่ 1ระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม 2566 – 3 พฤศจิกายน 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - จัดเตรียมสถานที่ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ - ถ่ายเอกสารระเบียบการประชุม -วาระการประชุม - ถ่ายภาพการประชุมหัวหน้าส่วนราชการ –ก านันผู้ใหญ่บ้าน - ถ่ายเอกสารงานวนัรวน้า ใจหลงั่ ไหลสู่กาชาด - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - จัดเตรียมสถานที่กฐินอ าเภอ


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่ 2 ระหว่างวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 – 10 พฤศจิกายน 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - จดัเตรียมสถานที่งานวนัน้า ใจหลงั่ ไหลสู่กาชาด - เตรียมกระดาษลงคะแนนการเลือกต้งัผแู้ทนเกษตกร - เตรียมเอกสารเชิญเข้าร่วมงานกฐินอ าเภอ - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - จัดเตรียมสถานที่การประชุมงานกาชาดประจ าอ าเภอ


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่3ระหว่างวันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 – 17 พฤศจิกายน 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - จัดเก็บสถานที่ ที่จัดในงานกฐินอ าเภอ - จัดท าระเบียบการประชุม - กรอกข้อมูลยาเสพติด - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่4ระหว่างวันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 – 24 พฤศจิกายน 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - เตรียมป้ายรายชื่อหัวหน้าส่วนราชการ - ติดประกาศ


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่5ระหว่างวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 – 1ธันวาคม 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - เตรียมป้ายรายชื่อหัวหน้าส่วนราชการ - ติดประกาศ - เพิ่มขอ้มูลผเู้สพ ผคู้า้ยาเสพติดในเขตอา เภอปราสาท


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่6ระหว่างวันที่ 4ธันวาคม 2566 – 8ธันวาคม 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - เตรียมสถานที่การประชุม - ถ่ายอกสารวาระการประชุม - จัดแบรคอาหาร - จัดท ารายชื่อผู้สมัครประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - เตรียมป้ายรายชื่อหัวหน้าส่วนราชการ - ติดประกาศ


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่7ระหว่างวันที่ 12ธันวาคม 2566 – 15ธันวาคม 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - ติดประกาศ


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่8ระหว่างวันที่ 18ธันวาคม 2566 – 22ธันวาคม 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - ติดประกาศ - เพิ่มเติมรายชื่อผเู้พิ่มขอ้มูล THAI QM - ถ่ายภาพในงานบริจาคโลหิต


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่9ระหว่างวันที่ 25ธันวาคม 2566 – 28ธันวาคม 2566 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - ติดประกาศ - เพิ่มเติมรายชื่อผเู้พิ่มขอ้มูล THAI QM - จัดท าราชชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม - ท าไลด์น าเสนอในที่ประชุม


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่10ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2567 – 5 มกราคม 2567 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - ติดประกาศ - เพิ่มเติมรายชื่อผเู้พิ่มขอ้มูล THAI QM


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่11ระหว่างวันที่ 9 มกราคม 2567 – 12 มกราคม 2567 ลักษณะการปฏิบัติงาน - รับหนังสือผ่านระบบงานสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเลขส่งหนังสือราชการ - ลงเลขรับหนังสือราชการ - พิมพ์หนังสือราชการ - แก้ไขหนังสือราชการ - ติดประกาศ - เพิ่มเติมรายชื่อผเู้พิ่มขอ้มูล THAI QM - จดัทา สไลดข์องบพฒันาอ่างเก็บน้า สุวรรณาภา


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่12ระหว่างวันที่ 15 มกราคม 2567 – 19 มกราคม 2567 ลักษณะการปฏิบัติงาน - สรุปจ านวนข้อมูล Thai QM - จัดท าเอกสารสมัครศูนย์บริ การสะดวก Govemmet Easy Contace Center (GECC) จัดท า แบบสอบถามความพึงพอใจ ค้นหาหนังสือเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับการให้บริการประชาชน คา สั่งต่างๆ เป็ นต้น


สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่13ระหว่างวันที่ 22 มกราคม 2567 – 26 มกราคม 2567 ลักษณะการปฏิบัติงาน - ท าแผนภารกิจ GECC เช่น พิมพ์หนังสือราชการ , แบบสอบถามความต้องการและความพึง พอใจของผู้รับบริการที่ว่าการอ าเภอปราสาท , โปสเตอร์เกี่ยวกับงานบริการแต่ละกลุ่มงาน , จัดเรียงเอกสารใส่แฟ้ม เป็ นต้น สรุปการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ที่14ระหว่างวันที่ 29 มกราคม 2567 – 31 มกราคม 2567 ลักษณะการปฏิบัติงาน - ท าแผนภารกิจ GECC เช่น พิมพ์หนังสือราชการ , แบบสอบถามความต้องการและความพึง พอใจของผู้รับบริการที่ว่าการอ าเภอปราสาท , โปสเตอร์เกี่ยวกับงานบริการแต่ละกลุ่มงาน , จัดเรียงเอกสารใส่แฟ้ม ค้นหาหนังสือ ท าหนังสือ ท าคา สั่ง เป็ นต้น


บทที่ 3 สรุปผลและข ้ อเสนอแนะ ทฤษฎีที่น ามาประยุกต ์ใช้ในการท างาน ทฤษฎี PDCA แนวคิดและความเป็ นมาของระบบ วงจร PDCA เป็ นวงจรที่คิดค้นโดย วอลเตอร์ ชูวฮาร์ท ผู้บุกเบิกการใช้สถิติส าหรับแวดวง อุตสาหกรรม ต่อมา PDCA เริ่มเป็นที่รู้จกักนัมากข้ึนเมื่อเดมมิ่ง (William Edward Deming)ได้เผยแพร่ให้ เป็นกระบวนการทา งานจึงรู้จกัในอีกชื่อหน่ึงคือ"วงจรเดมมิ่ง" ซ่ึงประกอบดว้ย(P:Plan) การวางแผน (D : Do) การปฏิบัติตามแผน (C : Check) การตรวจสอบ และ (A : Action)การด าเนินการให้เหมาะสม ซึ่งการ ปฏิบัติตาม PDCA น้นัจะปฏิบตัิเป็นข้นัตอน โดยเริ่มจากP จนถึง A และเริ่มกลบัมาปฏิบตัิในข้นั P ใหม่ ทา วนอยอู่ยา่งน้นัเป็นวงจรแห่งความสา เร็จ โครงสร้างของวงจร PDCA ข้นัตอนท้งั 4ข้นัตอนของวงจรพีดีซีเอประกอบดว้ย"การวางแผน"อยา่งรอบคอบเพื่อ"การปฏิบัติ" อยา่งค่อยเป็นค่อยไปแลว้จึง "ตรวจสอบ"ผลที่เกิดข้ึน วิธีการปฏิบตัิใดมีประสิทธิผล ที่สุดก็จะจดัใหเ้ป็น มาตรฐาน หากไม่สามารถบรรลุเป้าหมายไดก้็ตอ้งมองหาวิธีการปฏิบตัิใหม่หรือใชค้วามพยายามใหม้ากข้ึน กว่าเดิม ขั้นตอนการวางแผน (Plan)ครอบคลุมถึงการก าหนดกรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซ่ึงรวมถึงการพฒันาสิ่งใหม่ๆ การแกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนจากการปฏิบตัิงาน เป็นตน้พร้อม กบั พิจารณาว่ามี ความจา เป็นตอ้งใชข้อ้มูลใดบา้งเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงน้นั โดยระบุวิธีการเก็บขอ้มูลใหช้ดัเจน นอกจากน้ีจะตอ้งวิเคราะห์ขอ้มูลที่รวบรวมได้แลว้กา หนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดงักล่าว การวางแผนช่วยใหเ้ราสามารถลาดการณ์สิ่งที่เกิดข้ึนในอนาคตและช่วยลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจเกิดข้ึน ได้ท้งัในดา้นแรงงาน วตัถุดิบชวั่โมงการทา งาน เงินเวลา เป็นตน้ โดยสรุปแลว้การวางแผนช่วยใหร้ับรู้ สภาพปัจจุบนัพร้อมกบักา หนดสภาพที่ตอ้งการใหเ้กิดข้ึนในอนาคต ดว้ยการผสานประสบการณ์ความรู้และ ทกัษะอยา่งลงตวั โดยทวั่ ไปการวางแผนมีอยดู่ว้ยกนั2 ประเภทหลกัๆ ดงัน้ี ประเภทที่1การวางแผนเพื่ออนาคต เป็นการวางแผนสา หรับสิ่งที่จะเกิดข้ึนในอนาคตหรือกา ลงัจะ เกิดข้ึนบางอยา่ง เราไม่สามารถควบคุมสิ่งน้นั ไดเ้ลยแต่เป็นการเตรียมความพร้อมของเราสา หรับสิ่งน้นั ประเภทที่ 2 การวางแผนเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เป็ นการวางแผนเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพที่ เกิดข้ึนในปัจจุบนัเพื่อสภาพที่ดีข้ึน ซ่ึงเราสามารถควบคุมผลที่เกิดในอนาคตไดด้ว้ยการเริ่มตน้เปลี่ยนแปลง ต้งัแต่ปัจจุบนั


ขั้นตอนการปฏิบัติ (DO)ข้นัตอนการปฏิบตัิคือการลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้ กา หนดไวใ้นข้นัตอนการวางแผน ในข้นัน้ีตอ้งตรวจสอบระหวา่งการปฏิบตัิดว้ยวา่ ไดด้า เนินไปในทิศทางที่ ต้งัใจหรือไม่พร้อมกบัสื่อสารใหผ้เู้กี่ยวขอ้งรับทราบดว้ยเราไม่สมควรปล่อยใหถ้ึงวินาทีสุดทา้ยเพื่อดูความ คืบหนา้ที่เกิดข้ึน หากเป็นการปรับปรุงในหน่วยงานผบู้ริหารยอ่มตอ้งการทราบความคืบหนา้อยา่งแน่นอน เพื่อจะไดม้นั่ใจวา่ โครงการปรับปรุงเกิดความผิดพลาดนอ้ยที่สุด ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)ข้นัตอนการตรวจสอบ คือการประเมินผลที่ไดร้ับจากการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแต่ข้นัตอนน้ีมกัจะถูกมองขา้มเสมอการตรวจสอบทา ใหเ้ราทราบวา่การปฏิบตัิในข้นัที่สอง สามารถบรรลุเป้าหมายหรือวตัถุประสงคท์ ี่ไดก้า หนดไวห้รือไม่สิ่งสา คญัก็คือเราตอ้งรู้วา่จะตรวจสอบ อะไรบา้งและบ่อยคร้ังแค่ไหน ขอ้มูลที่ไดจ้ากการตรวจสอบจะเป็นประโยชน์สา หรับข้นัตอนถดัไป ขั้นตอนการด าเนินงานให้เหมาะสม (Act)ข้นัตอนการดา เนินงานใหเ้หมาะสม จะพิจารณาผลที่ได้ จากการตรวจสอบ ซ่ึงมีอยู่2กรณีคือผลที่เกิดข้ึนเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หากเป็นกรณีแรกก็ใหน้า แนวทางหรือกระบวนการปฏิบตัิน้นัมาจะทา ให้เป็นมาตรฐาน พร้อมท้งัหาวิธีการที่ จะปรับปรุงให้ดียงิ่ข้ึนไปอีก ซ่ึงอาจหมายถึงสามารถ บรรลุเป้าหมายไดเ้ร็วกวา่เดิมหรือเสียค่าใชจ้่ายนอ้ย กวา่เดิมหรือทา ใหคุ้ณภาพดียิ่งข้ึนก็ได้แต่หากเป็นกรณีที่สอง ซ่ึงก็คือผลที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่ วางไว้เราควรน าข้อมูลที่รวบรวมไว้ มาวิเคราะห์และ พิจารณาวา่ควรจะดา เนินการอยา่งไรต่อไปน้ีอาทิมอง หาทางเลือกใหม่ที่น่าจะเป็นไปไดใ้ชค้วามพยายามใหม้ากข้ึนกวา่เดิม ขอความช่วยเหลือจากผรูู้้หรือเปลี่ยน เป้าหมายใหม่ จากวงจรคุณภาพที่กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า วงจรคุณภาพ (PDCA) คือการพัฒนาการท างานใน รูปของกระบวนการ ประกอบด้วย การวางแผน (Plan) การด าเนินตามแผน (DO) การตรวจสอบ (Check) การปรับปรุงแก้ไข (Act) โดยการวางแผน การลงมือปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้และหาก ไม่ไดผ้ลลพัธ์ตามที่คาดหมายไว้จะตอ้งทา การทบทวนแผนการโดยเริ่มตน้ ใหม่และทา ตามวงจรคุณภาพซ้า อีกคร้ัง ทฤษฎี SWOT การวิเคราะห์ SWOT Analysis หรือในชื่อไทยชื่ออื่นเช่น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและ ศักยภาพ หรือ การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม เป็ นเครื่องมือในการประเมินสถานการณ์ ส าหรับองค์กรหรือโครงการ ซึ่งช่วยผู้บริหารก าหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาสและอุปสรรคจาก สภาพแวดลอ้มภายนอก ตลอดจนผลกระทบที่มีศกัยภาพจากปัจจยัเหล่าน้ีต่อการทา งานขององคก์ร SWOT เป็นตวัยอ่ที่มีความหมายดงัน้ี S : Strengths -จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบขององค์กร (ปัจจัยภายใน) W : Weaknesses -จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบขององค์กร (ปัจจัยภายใน) 0 : Opportunities -โอกาสที่จะท าให้องค์กรด าเนินการได้ (ปัจจัยภายนอก) T : Threats -อุปสรรค ข้อจ ากัด หรือปัจจัยที่คุกคามการด าเนินงานขององค์การ (ปัจจัย


ภายนอก SWOT คือ หลกัการบริหารงานท้งัภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน การประเมินและวิเคราะห์สถานภาพ ขององคก์รเพื่อกา หนดยทุธศาสตร์การบริหารเป็นสิ่งสา คญัและมีความจา เป็นเพราะนอกจากจะทา ให้ ผบู้ริหารทราบถึงความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดข้ึนแลว้การวิเคราะห์องคก์รยงัเป็นการกา หนดกรอบการ ทา งานเพื่อใหบ้รรลุวตัถุประสงค์ตามที่ต้งัเป้าหมายไวโ้ดยใชท้ฤษฎีที่เรียกวา่ Swot มาเป็ นเครื่องมือในการ ประเมินสถานการณ์ จากการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพท าให้ข้าพเจ้าทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรคต่างๆ ที่เกิดข้ึนจากการฝึกประสบการณ์ซ่ึงมีรายละเอียดดงัน้ี S หรือ Strengths จุดแข็ง -รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามเวลา - มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี - มีความอดทนในการท างาน W หรือ Weakresss จุดอ่อน -ไม่กล้าตัดสินใจดว้ยตนเองในบางคร้ัง -การสื่อสารในบางคร้ังเกิดความเขา้ใจไม่ตรงกนั O หรือ Opporunies โอกาส -ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่ไม่เคยไดท้า มาก่อน -ได้รับความวางไว้ในการปฏิบัติงาน T หรือ Threats อุปสรรค -การที่ต้องรับมือกับผู้มาใช้บริการ -อุปกรณ์บางชนิดในส านักงานมีความล่าช้าท าให้ส่งผลต่อการท างาน สรุปผลการปฏิบัติงานฝึกประสบการณ ์ วิชาชีพ/สหกจิ ในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพที่ ที่ว่าการอ าเภอปราสาท ท าให้ข้าพเจ้าได้รับประสบการณ์ในการ ท างานที่ดีมาก พี่ๆให้การต้อนรับเป็ นอย่างดี มีการสอนงานอธิบายงานที่ละเอียดและเข้าใจง่ายต่อการ ปฏิบัติงาน ให้ค าแนะน าต่างๆ ให้ข้าพเจ้าได้รับรู้และน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ 1.ได้เรียนรู้กระบวนการท างานจากบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในหน่วยงาน 2. ไดเ้รียนรู้การพิมพห์นงัสือราชการมากยงิ่ข้ึนและการจดัทา หนงัสือต่างๆ 3. ได้เรียนรู้วัฒนธรรมในองค์กร แนวทางการแก้ไขในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ


ศึกษาและทา ความเขา้ใจมากข้ึนเกี่ยวกบังานที่ไดร้ับมอบหมาย หากมีขอ้สงสัยหรือไม่เขา้ใจก็ สอบถามผคู้วบคุมฝึกเพื่อให้อธิบายในงานน้นัและเพื่อลดการเกิดขอ้ผิดพลาดในการทา งานในคร้ังต่อไป ข้อเสนอแนะในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ข้อเสนอแนะต่อสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์


บรรณานุกรม ชนิกานต์ เธียรสูตร. (2551). วงจร PDCA คืออะไร?. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567. จาก http://eduserv.ku.ac.th/km/index ดรุณี นาพรหม. (2563). หลักการวิเคราะห์ SWOT. คณะเกษตรศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ที่ว่าการอ าเภอปราสาท. (2567). ส านักงานพฒันาชุมชนอา เภอปราสาท. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567. จาก https://district.cdd.go.th/


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก หนังส ื อขอความอนุเคราะห ์ รับนักศ ึ กษาฝึ กประสบการณ ์ วชิาช ี พ


ภาคผนวก ข หนังสือตอบรับนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ


ภาคผนวก ค หนังสือส่งตัวนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพกลับสถาบัน


ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรมการปฏิบัติงาน


ประวัติส่วนตัวนักศึกษาฝึ กประสบการณ์ ประวัติส่วนตัว ชื่อ – สกุล: นายศุภกร บุญสงค์ ชื่อเล่น : พีท อายุ: 22 ปี สาขาวิชา : รัฐประศาสนศาสตร์ รุ่น : 63 รหัสนักศึกษา : 630112801016 ระดับ : รป.บ. 4 ปี เกิดวันที่ : 24 ธันวาคม 2544 ชื่อ-สกุล บดิา : นายไพวรรณ บุญสงค์ ชื่อ-สกุล มารดา : นางกาญจนา บุญสงค์ ท ี่อยู่ปัจจุบัน : 226 หมู่9 ต าบลโคกสะอาด อ าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ การศึกษา : จบช้นั ประถมศึกษาจากโรงเรียนนิคมสร้างตนเองปราสาท3ฯ จบช้นัมธัยมศึกษาจากโรงเรียนสุรินทร์ราชมงคล ปัจจุบนักา ลงัศึกษาระดบั ปริญญาตรีสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โทรศัพท์: 093-5488-508 E-mail : [email protected] , [email protected]


Click to View FlipBook Version