The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dmc.srn2, 2022-07-11 02:06:41

รายงาน2564

รายงานประจำปี 2564

1

2

คำนำ

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับน้ี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จัดทำขึ้นเพ่ือสรุปผลการดำเนินงานการปฏิบัติราชการในรอบปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 และเพ่ือการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของหน่วยงานให้สาธารณชนทราบ รวมไปถึง
การนำผลการดำเนนิ งานไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนร่วม
ในการดำเนินการทุกข้นั ตอนเพ่ือให้ได้มาซึ่งรายงานฉบับน้ี และหวังเปน็ อย่างยิ่งว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง ในแง่การให้ข้อมลู เพือ่ พฒั นาประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานต่อไป

สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 2

3

สารบัญ

คำนำ หนา้

บทที่ 1 บทนำ 1
ความสำคัญและความเปน็ มา 4
วัตถุประสงค์ของรายงาน 4
ขอบเขตของรายงาน 5
วิธกี ารดำเนินการ/ประโยชนท์ ่ีได้รับ
6
บทที่ 2 บรบิ ททวั่ ไปและทิศทางการบริหารงาน 7
ขอ้ มูลทต่ี ั้ง 10
ขอ้ มลู ทางการศกึ ษา
ทศิ ทางการบรหิ ารงาน 16

บทที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานตามภารกจิ ของสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา

บทท่ี 4 สรุปผลการดำเนินงาน ปญั หา ข้อเสนอแนะ และการวเิ คราะห์ศกั ยภาพ

สรุปผลการดำเนนิ งาน 45

ปัญหา ขอ้ เสนอแนะและการวิเคราะหศ์ ักยภาพสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา 48

ภาคผนวก/คณะผู้จดั ทำ

1

บทนำ

2

บทที่ 1

บทนำ

ความสำคญั และความเป็นมา

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จัดต้ังขึ้นเม่ือวันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ.2546
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 36 และมาตรา 37
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื งกำหนดเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา ลงวนั ที่ 30
ตุลาคม พ .ศ.2545 กำห น ดให้ มีเขต พ้ื น ที่ การศึกษ าทั่ วป ระเท ศ 175 เขต และเพิ่ ม เป็ น 185 เขต
ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศกำหนดเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นเขตพื้นท่ีการศึกษาเป็นเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษา 183 เขต และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 62 เขต รวมทั้งสิ้น 245 เขต ซึ่งประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เร่ือง กำหนดเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ลงวันท่ี 28 มกราคม พ.ศ.2564
และจังหวัดสุรินทร์แบ่งเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็น 4 เขต ซึ่งสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2
รับผิดชอบดูแลสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ท่ีบริการ 5 อำเภอ จำนวน 218 โรงเรยี น ดงั น้ี

1. อำเภอรัตนบุรี ประกอบดว้ ย 53 โรงเรียน
2. อำเภอชุมพลบรุ ี ประกอบ 48 โรงเรยี น
3. อำเภอท่าตูม ประกอบด้วย 64 โรงเรยี น
4. อำเภอสนม ประกอบดว้ ย 30 โรงเรยี น
5. อำเภอโนนนารายณ์ ประกอบดว้ ย 23 โรงเรียน

3

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 เป็นหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงาน
คณ ะกรรมการการศึกษ าข้ั น พ้ื น ฐาน กระท รวงศึกษ าธิการมี อำน าจห น้ าท่ี ตาม ราช กิจจานุ เบ กษ า
เร่ือง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.2560(ข้อ5) และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2561 โดยแบ่งออกเปน็ 9 กลมุ่ 1 หนว่ ย ดังต่อไปนี้

1. กลุ่มอำนวยการ
2. กลุ่มบริหารงานบคุ คล
3. หน่วยตรวจสอบภายใน
4. กลมุ่ บรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรพั ย์
5. กลมุ่ ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษา
6. กลุม่ กฎหมายและคดี
7. กลมุ่ สง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร
8. กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
9. กล่มุ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
10.กลมุ่ นโยบายและแผน

อำนาจหน้าท่ีของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2553 อยู่ในการกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
มอี ำนาจหน้าที่ดงั น้ี

1. อำนาจหน้าท่ีตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
มาตรา 37 ให้มีสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เพ่ือทำหน้าที่ในการดำเนินการให้เป็นไปตาม

อำนาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 36 และให้มีอำนาจหนา้ ท่ีเกี่ยวกับการศึกษา ตามที่กำหนด
ไวใ้ นกฎหมายนหี้ รือกฎหมายอนื่ และมอี ำนาจหนา้ ท่ี ดงั น้ี

(1) อำนาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐานของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

(2) อำนาจหน้าทใี่ นการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รว่ มกบั สถานศกึ ษา

(3) รับผดิ ชอบในการพจิ ารณาแบ่งสว่ นราชการภายในสถานศึกษาของสถานศกึ ษาและสำนักงานเขต
พ้นื ทกี่ ารศึกษา

(4) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีอ่ ่นื ตามที่กฎหมายกำหนด

4

2. อำนาจหนา้ ที่ตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนกั งานเขต
พนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา พ.ศ. 2560

(1) จัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และความต้องการของท้องถิน่

(2) วิเคราะห์และจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษาและหน่วยงานในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับ ตรวจสอบ ติดตาม
การใชจ้ า่ ยงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว

(3) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นาหลักสตู รรว่ มกบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
(4) กำกบั ดแู ล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐานและในเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
(5) ศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั และรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริมสนับสนุน
การจดั และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
(7) จัดระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
(8) ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชนองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
รวมทัง้ บคุ คล องค์กรชุมชน องค์กรวชิ าชพี สถานบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อืน่ ทีจ่ ัดการศึกษารปู แบบ
ทห่ี ลากหลายในเขตพน้ื ที่การศึกษา
(9) ดำเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนการวจิ ยั และพัฒนาการศึกษาในเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
(10) ประสาน ส่งเสริม การดำเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน
ดา้ นการศึกษา
(11) ประสานการปฏิบตั ิราชการท่ัวไปกับองค์กรหรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ภาครัฐ เอกชน และองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถิน่
(12) ปฏิบัติหน้าที่งานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องหรือได้รับ
มอบหมาย

วัตถปุ ระสงคข์ องรายงาน

เพอ่ื รวบรวม สรปุ ผล และวเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ในการรายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารและองค์คณะบุคคล
(ก.ต.ป.น.) ใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รวมทั้ง
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานใหส้ าธารณชนทราบ

ขอบเขตการรายงาน

การรายงานผลการดำเนินงาน เป็นการรายงานผลการปฏิบัติราชการของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 เพื่อรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด/ผู้บริหาร/ก.ต.ป.น. ตลอดจน
เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ไปยังสาธารณชน ประกอบด้วย

5

 ผลการปฏิบัติราชการ
1. ผลรายงานผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
2. ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ของสำนักงานเขต

พ้ืนที่การศึกษา ตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (ยุทธศาสตร์)

3. ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขต
พืน้ ท่กี ารศึกษา ตามมาตรฐานสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา พ.ศ.2560 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

4. ผลการประเมินความโปร่งใสของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาออนไลน์ (Integrity and
Transparency Assrssment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

5. ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติราชการ ปี พ.ศ.2564 (KRS System)

 ผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
- ผลการทดสอบและประเมนิ คุณภาพการศึกษาระดับชาติ ( ONET/NT)

ประจำปีการศกึ ษา 2563

 ผลการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
- ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในของ

สถานศึกษา จากรายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา (SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563

วธิ กี ารดำเนนิ การ

1. ศึกษา และวิเคราะห์ผลการดำเนินงานการปฏิบัติราชการของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

2. กำหนดขอบเขตของรายงานผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564

3. รวบรวมขอ้ มลู ผลการดำเนนิ งานตามขอบเขตทตี่ ้งั ไว้
4. วิเคราะห์ข้อมลู ผลการดำเนินงาน
5. สรุป รายงานผลการดำเนินงานประจำปี เพ่ือเสนอต่อผู้บริหารและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
สู่สาธารณชน

ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั

ผู้บริหาร องค์คณะบุคคล(ก.ต.ป.น.) และผู้เกี่ยวข้อง ใช้รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
เป็นฐานข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รวมทั้งเป็นการเผยแพร่
ประชาสมั พันธ์ผลการดำเนินงานประจำปีของหนว่ ยงานใหส้ าธารณชนไดท้ ราบ

6

ข้อมูลพื้นฐาน
และ

ทศิ ทางการบรหิ ารงานของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

7

บทที่ 2

ข้อมูลพืน้ ฐานและทิศทางการบรหิ ารงานของสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

ข้อมูลท่ีตั้งสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ต้ังอยู่ ณ เลขที่ 219 หมู่ 1 ถนนศรีรัตน์

ตำบลรัตนบุรี อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ รับผิดชอบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัด ครอบคลุมเขต
พื้นที่บริการ 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอรัตนบุรี อำเภอสนม อำเภอโนนนารายณ์ อำเภอทา่ ตมู และอำเภอชมุ พลบุรี โดยมี

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับ อำเภอเกษตรวสิ ัย และ อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอโพนทราย (จังหวดั ร้อยเอ็ด)
(จังหวดั ศรสี ะเกษ) และ อำเภอพยัคฆภมู ิพสิ ัย (จงั หวดั มหาสารคาม)

ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั อำเภอสตกึ และอำเภอพุทไธสง (จงั หวดั บุรีรมั ย์) อำเภอศีขรภมู ิ อำเภอสำโรงทาบ
อำเภอจอมพระ (จงั หวัดสุรนิ ทร)์

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอบึงบูรพ์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ(จังหวัดศรีสะเกษ) และ
อำเภอสำโรงทาบ (จังหวดั สุรนิ ทร)์

ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับ อำเภ อสตึก อำเภ อพุ ทไธสง (จังหวัดบุรีรัมย์) และอำเภ อ
พยัคฆภมู พิ สิ ัย (จังหวดั มหาสารคาม)

8

ข้อมูลทางการศกึ ษา

ตารางที่ 1 จำนวนนักเรียนจำแนกตามรายอำเภอ ปีการศึกษา 2564 (ข้อมลู ณ 10 พฤศจิกายน 2564)

ท่ี อำเภอ ชาย จำนวน รวม จำนวน
4,018 หญงิ 7,703 ห้องเรยี น
1 รัตนบุรี 2,134 3,685 4,037
2 สนม 1,565 2,953 497
3 โนนนารายณ์ 4,067 1,903 7,640
4 ทา่ ตูม 3,984 6,298 280
5 ชมุ พลบรุ ี 1,388
15,768 28,631 199
รวม 3,673
586
3,014
448
13,663
2,010

ตารางท่ี 2 จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 (ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2565)

ชนั้ /รายการ นักเรียนทจี่ บการศกึ ษา

จบประถมศกึ ษาปีที่ 6 จำนวน(คน) ร้อยละ
ศึกษาต่อ
3,373 100
- โรงเรียนเดมิ
- โรงเรียนอนื่ สังกัด สพฐ 3,373 100
-โรงเรยี นสังกัดเอกชน
- โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั 861 25.53
- กศน.
- อ่ืน ๆ 2,436 72.22
- โรงเรยี นอนื่ สังกัด อปท.
12 0.36

6 0.17

8 0.23

39 1.16

11 0.33

9

ช้ัน/รายการ นักเรยี นท่ีจบการศกึ ษา

จบชั้นมยั มศกึ ษาช้ันท่ี 3 จำนวน(คน) ร้อยละ
ศกึ ษาต่อ ม.4 โรงเรยี นเดิม
ศึกษาต่อ ม.4 โรงศึกษาอ่ืน ในจงั หวดั เดิม 1,034 100
ศึกษาต่อ ม.4 โรงศึกษาอื่น ในต่างจังหวัด
ศกึ ษาต่อ ม.4 โรงศึกษาอ่นื ใน กทม. 00
สถาบันอาชวี ศกึ ษาของรัฐบาล 416 40.23
สถาบนั อาชีวศกึ ษาของเอกชน
ศกึ ษาต่อสถาบนั อน่ื ๆ 39 3.78
ไมศ่ ึกษาต่อ ทำงานภาคอุตสาหกรรม
ไมศ่ ึกษาต่อ ทำงานภาคการเกษตร 5 0.488
ไมศ่ ึกษาต่อ ทำงานการประมง
ไม่ศึกษาต่อ ทำงานค้าขาย ธรุ กิจ 385 37.238
ไมศ่ ึกษาต่อ ทำงานบรกิ าร
ไม่ศึกษาต่อ ทำงานรับจ้างทว่ั ไป 81 7.838
ไมศ่ ึกษาต่อ ทำงานอน่ื ๆ
บวชในศาสนา 73 7.06
ไม่ประกอบอาชีพและไม่ศกึ ษาต่อ
อน่ื ๆ 00

5 0.48

00

00

00

2 0.19

26 2.51

00

2 0.19

00

ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนบุคลากรทป่ี ฏิบัตงิ านในสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา (ข้อมลู ณ 24 ธนั วาคม 2564)

ท่ี รายการ รวม

1 ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 1
2 รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา 3
3 ศึกษานเิ ทศก์ 8
4 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอืน่ 36
5 พนกั งานราชการ 4
6 ลูกจ้างประจำ 3
7 ลกู จา้ งช่ัวคราว 17
72
รวมทั้งสิ้น

10

ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนข้าราชการครู ตามสายบรหิ ารและสายผสู้ อนแยกรายอำเภอ
(ข้อมูล ณ 24 ธนั วาคม 2564)

อำเภอ ผบู้ รหิ ารโรงเรียน ครูผู้สอน รวม

รตั นบรุ ี 54 457 511
สนม 29 249 278
โนนนารายณ์ 20 197 217
ท่าตูม 62 486 548
ชมุ พลบุรี 48 405 453
214 1,794 2,008
รวม

11

ทิศทางการบรหิ ารงานของสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 2

วสิ ัยทศั น์ (VISION)
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 2 ก้าวสู่ความเปน็ หนึ่ง “ To be the first ”

พันธกิจ (MISSION)
1. จัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
2. พฒั นาผูเ้ รียนให้มคี วามสามารถและมคี วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ เพื่อสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสตู รและคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21
4. สร้างโอกาสความเสมอภาคลดความเหลี่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างท่ัวถึง

และเทา่ เทียม
5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีสมรรถนะด้านภาษาและการใช้

เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

เปา้ หมายการพฒั นาที่ยัง่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. พัฒ นาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และ จัดการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

(Digital Technology) เพ่อื พัฒนามุง่ สู่ Thailand 4.0

นโยบาย
1. ด้านความปลอดภยั
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ

สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยดุคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาวะที่ดี
สามารถปรับตัวต่อโรคอบุ ตั ใิ หม่และโรคอบุ ัติซำ้

2. ด้านโอกาส
2.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ท้ังทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์

สังคม และสติปัญญา ใหส้ มกับวยั
2.2 ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อย่างมีคุณภาพ

ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่อื อาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่อื การศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพตรงตาม
ศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศ
เพื่อเพิ่มขดี ความสมารถในการแข่งขันของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อป้องกันไม่ให้ออกจาก
ระบบการศกึ ษา รวมทงั้ ชว่ ยเหลอื เด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคนั ให้ได้รับการศึกษาชน้ั พนื้ ฐานอย่างเทา่ เทยี มกนั

12

2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพมีทักษะ
ในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

3. ด้านคุณภาพ
3.1 ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ มีทกั ษะการเรียนรูแ้ ละทักษะท่ีจำเป็นของโลกในศตวรรษ

ที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มที ศั นคติทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ บ้านเมือง

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดชั้นสูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจทิ ัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขง่ ขนั และการเลือกศึกษาต่อ
เพื่อการมีงานทำ

3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ท่ีเน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักท่ีจำเป็นในแต่ละระดับ
จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมท้ังส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการจัด
การศกึ ษาเพื่อพฒั นาพหปุ ญั ญา พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนทุกระดับ

3.4 พัฒนาครูและบุคลกรทากรศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนตาม
หลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏบิ ัติหน้าท่ีได้ดี มีความร้คู วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลมีการพัฒนา
ตนเองทางวิชาชพี อยา่ งต่อเน่อื ง รวมท้งั มจี ิตวิญญาณความเปน็ ครู

4. ด้านประสิทธิภาพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน

บนฐานข้อมูลสารสนเทศท่ีถกู ตอ้ ง ทันสมยั และการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียน

ทสี่ ามารถดำรงอยู่ได้อยา่ งมีคณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มีคณุ ภาพอยา่ งย่งั ยนื สอดคล้องกับบรบิ ทของพนื้ ท่ี
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสกางการศึกษา ท่ีมีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3

นอ้ ยกวา่ 20 คน ใหไ้ ด้รับการศกึ ษาย่างมีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั นโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษาที่ตั้ง

ในพื้นท่ีลักษณะพิเศษ
4.5 สนับสนุนพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเพ่ิม

ความคล่องตวั ในการบริหารและการจัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
4.6 เพิม่ ประสิทธภิ าพกรนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

13

กลยทุ ธห์ น่วยงาน (STRATEGY)
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 2 มียทุ ธศาสตร์ในการดำเนินงาน ดังน้ี
1. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านความม่นั คง

2. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน

3. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
4. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
6. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ

นโยบายการบรหิ ารจดั การองคก์ ร
ของสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 2

14

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้กำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในอนาคต เป็นแนวทางใน
การจัดการศึกษาจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 -2565) แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 และมงุ่ สู่ Thailand 4.0 ดังน้ี

กลยุทธ์ท่ี 1 ด้านการจดั การศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของมนุษยแ์ ละของชาติ
กลยุทธ์ที่ 2 ดา้ นการจดั การศึกษาเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
กลยุทธ์ท่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
กลยุทธ์ที่ 4 ด้านการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาที่มีคุณภาพ

มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศึกษา
กลยุทธ์ท่ี 5 ดา้ นการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
กลยทุ ธ์ท่ี 6 ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา

15

ผลการดำเนินงาน

16

บทท่ี 3

ผลการดำเนนิ งาน

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีผลการดำเนินงานตามภารกิจ
ท่ีเกิดจากกระบวนการขับเคล่ือนการดำเนินงานท่ีหลากหลาย ส่งผลต่อผู้รับบริการสถานศึกษาและผู้เรียน
ท้งั เชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ ตามผลการดำเนินงาน ดังน้ี

1. ผลการปฏิบัตริ าชการ
1.1 ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามแผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

1.2 ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน (ยุทธศาสตร์ สพฐ.)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

1.3 ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขต
พื้นทก่ี ารศึกษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ.2560 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

1.4 ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาออนไลน์

(Integrity and Transparency Assrssment Online: ITA Online) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1.5 ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ปี พ.ศ.2564 ( KRS System)

2. ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

2.1 ผลการทดสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (NT,ONET) ประจำปี

การศึกษา 2563

3. ผลการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา

3.1 ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเพ่ือการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2563

17

1.1 ผลการปฏิบตั ริ าชการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ดำเนิน งานประสบผลสำเร็จ
ตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ในแผนปฏิบัติการ และนำเข้าข้อมูลรายงานความก้าวหน้าโครงการในระบบ eMENSCR
ตามที่สภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตกิ ำหนดไว้ ท้ังหมด 14 โครงการ 6 กลยุทธ์ ดังน้ี

กลยทุ ธ์ที่ 1 การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความมั่นคงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ

โครงการพัฒนาบุคลากรหนว่ ยงานทางการศึกษาต้านภยั ยาเสพติด
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 กำหนดดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนการ

พัฒนาบุคลากรหน่วยงานทางการศึกษาต้านภัยยาเสพติด โดยให้มีการจัดการแข่งขันกีฬาชนิดต่าง ๆ ทั้งในระดับ
โรงเรียน ระหว่างเครือข่ายโรงเรียน และระหว่างหน่วยงานข้ึน เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการสร้างนักกีฬาระดับนักเรียน
ครูและบุคลาการทางการศึกษา ให้มีความสามารถไปสู่จุดสูงสุดที่จะเข้าร่วมในการคัดเลือกและเชื่อมต่อการพัฒนา
กีฬาพ้ืนฐาน ไปสู่การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ โดยให้นักเรียนและเยาชนทดสอบความสามารถทางการกีฬาด้วยตนเอง
และพยายามพัฒนาทักษะในการเล่นกีฬาเพ่ือเป็นนักกีฬาทีมชาติในโอกาสต่อไป ร่วมถึงการส่งเสริมการเล่นกีฬา
ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ประชาชนในชุมชน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรงส่งผลต่อการปฏิบัติงาน
ได้อย่างมีคุณภาพ สามารถเรียนรู้ฝึกฝนได้ด้วยตนเอง มีน้ำใจเป็นนักกีฬา และมีิกิจกรรมร่วมกันเพื่อ "รู้รักสามัคคี"
และการมนี ำ้ ใจในหมคู่ ณะ

ผลการดำเนนิ งาน
มีการจัดการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด (ภายใต้มาตรการความปลอดภัยในสภานการณ์โควิด) เพ่ือ
สร้างสุขภาพอนามัยที่ดี เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ และการส่งเสริมการเป็นพลเมืองที่ดีมีคุณภาพ ให้แก่ นักเรียน
ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ท้ัง 218 โรงเรียน ตามประเภทกีฬาท่ีจัดการแข่งขัน 5 ประเภท ดังนี้
1. ฟุตบอล 2. ฟุตซอล 3. ตะกร้อ 4.วอลเลย์บอล 5.กีฬาเปตอง ณ สนามสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สรุ ินทร์ เขต 2

งบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรร 100,000 บาท

เบกิ จา่ ยงบประมาณดำเนินการท้ังสิ้น 100,000 บาท

18

กลยุทธ์ที่ 2 การจัดการศึกษาเพ่อื เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

โครงการพฒั นาครูปฐมวัย TO BE THE FIRST สู่ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายในการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจริงและปรับปรุงหลักสูตร

การศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ไดก้ ำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสติปัญญา ครอบครัว ชุมชน สังคม และเพื่อให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
และให้สถานศึกษาใช้เป็นกรอบในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องมีการจัดทำหลักสูตร
ให้สอดคล้องกับสภาพบริบทชุมชน สังคมของสถานศึกษา ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทบทวน
และตรวจสอบ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติทช่ี ่วยส่งเสริม สนับสนุนการใช้หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยให้มีประสิทธิภาพ
สูงสุด

ผลการดำเนินงาน
จากการจัดการสัมมนา แลกเปล่ียน ปรับปรุง ทบทวน หลักสูตรสถานศึกษา ระดับหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย ครูปฐมวัย ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนปฐมวัยของโรงเรียนในสังกัดทุกโรง (3,260 คน)
และครูปฐมวัยของโรงเรียนในสังกัดทุกโรงๆละ 2 คน (436 คน) ได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กล่าวคือ
โรงเรียนมีหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทงั้ 4 ด้านเต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกบั ทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีเป้าหมายแนวทางและขอบเขตในการดำเนินการจัดการศึกษา
และนกั เรียนมีผลการประเมินพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน ในระดับดีขึน้ ไปรอ้ ยละ 96

งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 80,000 บาท

เบกิ จ่ายงบประมาณดำเนนิ การทง้ั สิ้น 33,600 บาท

19

กลยุทธ์ที่ 2 การจัดการศกึ ษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

โครงการสรา้ งความเขม้ แข็งและพัฒนาคณุ ภาพงานวชิ าการเครอื ข่าย 15 เครือข่าย
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 2 ได้ดำเนินการตามโครงการสร้างความ

เข้มแข็งและพัฒนาคุณภาพงานวิชาการเครือข่าย 15 เครือข่าย ผ่านกิจกรรม ยกระดับคุณภาพการศึกษา
15 เครือข่ายโรงเรียนในสังกัด นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยจัดสรรงบประมาณ
ให้เครือข่ายโรงเรียน เครือข่ายละ 40,000 บาท เพื่อจัดกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิตามความเหมาะสม จำแนกเป็น
1.การเข้าค่ายวิชาการ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรทู้ างวชิ าการ 3. การใช้แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ และเมื่อมีการขับเคลื่อนตามกิจกรรมการยกระดับคุณภาพการศึกษาในแต่ละเครือข่ายแล้ว มีกิจกรรม
การลงพืน้ ทนี่ ิเทศ ตดิ ตาม และสรุปผลการดำเนินงานพร้อมจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งาน

ผลการดำเนนิ งาน

1. นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน 3,376 คน และนักเรียนระดับชั้น ม.3 จำนวน 1,091 คน ได้รับ
การอบรมพฒั นาด้านคณุ ภาพวชิ าการ เพือ่ การเตรียมความพร้อมการทดสอบ ONET

2. เกิดความเข้มแข็งของเครือข่ายโรงเรียนผ่านการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทำให้มีความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ซงึ่ ตอ้ งปรับรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนให้เข้ากับสถานการณ์

งบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร 600,000 บาท

เบิกจ่ายงบประมาณดำเนนิ การทั้งส้ิน 599,544 บาท

20

นโยบายท่ี 2 การจดั การศกึ ษาเพ่ือเพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

สง่ เสริมการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเปน็ เลิศ ผ่าน Digital Education Excellence
Platform : DEEP
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการพัฒนา

แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศผ่าน Digital Education Excellence Platform : DEEP เพ่ือพัฒนา
บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศและ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ผา่ นDigital Education Excellence Platform : DEEP

ผลการดำเนนิ งาน
1. ข้าราชการครู จาก 218 โรงเรียนในสังกัด (admin ประจำโรงเรียนๆละ 1 คน) และศึกษานิเทศก์
มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ และแพลตฟอรม์ ด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
ผ่าน Digital Education Excellence Platform : DEEP โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการจากสำนักงานเขต
พนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
2. ข้าราชการครูที่เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการพัฒนาการจัด
การเรียนการสอนออนไลน์ และแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ ผ่าน Digital Education Excellence
Platform : DEEP นำความรู้ไปขยายผลต่อในโรงเรียน ให้แก่ ผู้บริหาร ครู และนักเรียนได้มีช่องทางหรือทางเลือก
ในการเรียนรผู้ า่ นออนไลน์

งบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร 80,000 บาท
เบกิ จา่ ยงบประมาณดำเนินการทง้ั ส้นิ 29,280 บาท

21

กลยทุ ธ์ที่ 3 การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เพื่อการประเมนิ สัมฤทธิผลการปฏบิ ัติงานในหนา้ ท่ี
ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา
และผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการพัฒนาความรู้ความสามารถ

ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อศึกษาผลงาน กระบวนการพัฒนาองค์กร ตลอดจนถอดบทเรียน
ในการเป็นผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ มีภาวะผู้นำ และสามารถขับเคลื่อน
การนำนโยบายไปสู่การสร้างโอกาสและคุณภาพการศึกษาตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ด้วยการจัดโครงการ
กิจกรรม เพื่อให้บุคลากรเกิดการพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร มีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสู่เป้าหมาย
ความสำเร็จที่ต้องการ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติของบุคลากรทางการศึกษา
ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อหน่วยงาน และสร้างเสริมคุณภาพชี วิตที่ดีให้กับข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา

ผลการดำเนนิ งาน
1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประกอบด้วย ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสำนักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา จำนวน 2 ราย / ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 6 ราย /ตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียน จำนวน 30 ราย / คณะกรรมการ จำนวน 28 ราย และเจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้อง 18 ราย ได้รับการพัฒนา
ผ่านกิจกรรม การประชุมอบรมสัมมนาให้ความรู้ การมีคณะกรรมการท่ีปรึกษาหรือพ่ีเลี้ยง coaching Team ในช่วง
ระยะเวลา 1 ปี และการประเมนิ สัมฤทธิผลการปฏิบตั ิงาน

2. ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาศกั ยภาพการปฏิบัติงาน สามารถปฏบิ ัติ
หน้าที่ตามสายงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล จนสามารถเผยแพร่แก่สาธารณชนเชิงประจักษ์ มีทักษะ
อาชพี ตระหนักในความสำคัญที่จะพัฒนาตนเองให้เตม็ ตามศักยภาพ ปรับตัวและเรียนร้สู ิ่งใหม่

งบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรร 50,000 บาท

เบิกจ่ายงบประมาณดำเนนิ การทัง้ สนิ้ 26,830 บาท

22

นโยบายท่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการปฏิบตั ิงาน ด้วยกระบวนการ PLC
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานทางการศึกษา ท่ีแบ่งการบริหารจัดการออกเป็นกลุ่มงาน

เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของภาระงานท่ีแตกต่างกัน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ในการปฏิบัติงาน ด้วยภาระงานท่ีหลากหลายและแตกต่างกัน การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานจึงถือได้ว่า
เป็นภารกิจท่ีสำคัญย่ิงประการหนึ่ง เพื่อก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการ ระเบียบกฎหมาย
ข้อบังคับ ตลอดจนหลักเกณฑ์อ่ืนๆ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเกิดการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรร่วมกันในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และส่งเสริมให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในองค์ความรู้ที่สำคัญท่ีมีผล
ต่อการปฏบิ ัติราชการ

ผลการดำเนินงาน
ข้ า ร า ช ก า ร ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใน ส ำ นั ก ง า น เข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า
สุรินทร์ เขต 2 ท่ีเข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภารกิจงาน
ในหน้าท่ีและการศึกษาดูงาน โดยประเด็นการแลกเปล่ียนรู้ ได้แก่ การสรุปผลการดำเนินงานในหน้าที่ นวัตกรรม
หรือแนวทางการดำเนินงานในหน้าที่ และการวิเคราะห์ปัจจัยสู่ความสำเร็จและการแก้ไขปัญหาในการทำงาน ส่งผล
ให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง และผู้อ่ืนตามภาระงาน สามารถติดต่อสื่อสารได้อย่าง
มีคุณภาพ ในหน่วยงานและสถานศึกษา มีการทำงานร่วมกันภายในหน่วยงานอย่างมีระบบและเป็นประชาธิปไตย
รวมทงั้ นำความรทู้ ่ไี ด้รบั มาพัฒนางานตนเองได้

งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร 160,000 บาท

เบิกจ่ายงบประมาณดำเนินการทง้ั ส้นิ 160,000 บาท

23

นโยบายท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

โครงการพัฒนาการจัดการความรู้ (KM) เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้สามารถบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามนโยบายของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต 2 จัดให้มีการบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานและสอดคล้องกับหลักสูตร
สถานศึกษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้และ ตามมาตรฐานและ
ตวั ชี้วดั ตามหลักสตู รที่กำหนดไว้ เพ่อื ให้เกิดความบริสุทธ์ิ ยุติธรรม มีประสิทธิภาพและเกิดผลดีแก่ทางราชการ จึงได้
ให้มีการพัฒนาคุณภาพเพื่อรองรับการประกันคุณภาพการศึกษาได้เป็นอย่างดี ท้ังน้ีการจัดโครงการการพัฒนา
การจัดการความรู้(KM) จึงเป้นหนึ่งในแนวทางท่ีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใช้เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ในระดับสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา

ผลการดำเนินงาน

บคุ ลากรทางการศึกษาในสังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 2 ทกุ คน และ
ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด ทั้ง 218 โรงเรียน ได้รับการพัฒนามีความสามารถในการจัดการความรู้ (KM)
สามารถนำความรมู้ าต่อยอดงานในหน้าที่ พัฒนางานให้เป็นระบบเพื่อประโยชน์สูงสดุ ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
โดยการดำเนินการกำหนดความรู้หลักภาระงาน ร่วมกับทิศทางการบริหารงานของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
นำไปสู่การสืบค้นแหล่งความรู้จนสามารถเกิดกระบวนการเรียนรู้ แล้วนำความรู้เหล่านั้นมาดัดแปลง ต่อยอด
ประยุกต์ใช้ในงาน และนำผลการดำเนินงานท่ีได้ผลมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ (PLC & Symposium) ตลอดจนจัดทำคู่มือ
หรอื คลงั รวบรวมความรู้ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์

24

นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน
และลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศึกษา

โครงการรบั นกั เรียน สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 2
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาได้ดำเนินการจัดทำโครงการรับนักเรียน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ ได้เข้ารับ
การศกึ ษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 2 ท้ังในระดบั กอ่ นประถมศึกษา
ประถมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีท่ี 1 สามารถดำเนินการรับนักเรียนได้อย่างมีคุณภาพ มีการจัดทำข้อมูล
สารสนเทศการสำรวจสำมะโนประชากรวยั เรยี น ช่วงอายุ 3 -18 ปี เข้าเรยี น และการประชุมเชิงปฏิบัติการโปรแกรม
ทางการศึกษา School MIS

ผลการดำเนินงาน
1. ร้อยละ 100 ของประชากรวัยเรียนอายุ 3-5 ปี ไดร้ ับการศึกษาระดบั ก่อนประถมศึกษา
2. รอ้ ยละ 100 ของประชากรวัยเรียนทมี่ ีอายุอยู่ในเกณฑ์การศกึ ษาภาคบังคับ ไดร้ บั การศึกษาระดับ
ประถมศึกษาปที ่ี 1
3. ร้อยละ 100 ของนักเรยี นท่จี บการศกึ ษาช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เรยี นตอ่ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1
4. ร้อยละ 98.28 นักเรียนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เรียนต่อระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 4
(สายสามญั และสายอาชีพ)

งบประมาณทไี่ ด้รับจัดสรร 30,700 บาท

เบิกจ่ายงบประมาณดำเนนิ การท้ังสน้ิ 30,700 บาท

25

นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม

โครงการยกระดบั ห้องเรยี นคณุ ภาพ สู่ TO BE THE FIRST
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้ ปรับปรุงระบบการศึกษา

ให้มีประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับความหลากหลายของการ
จัดการศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ผ่านกิจกรรมการประกวดการพัฒนาคุณภาพห้องเรียนให้เหมาะสมตามบริบท ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
มีนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ในห้องเรียนที่หลากหลายเกิดข้ึน มีต้นแบบแห่งการพัฒนาคุณภาพห้องเรียนร่วมกันใน
ระดบั อำเภอในเขตพนื้ ท่ีบรกิ าร

ผลการดำเนินงาน
1. มีห้องเรียนคุณภาพต้นแบบเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพร่วิธีการทำงาน หรือวิธีปฏิบัติ
ทีเ่ ปน็ เลิศ เพื่อเป็นแบบอย่างให้สถานศึกษาอื่นมกี ารเทียบเคียงคุณภาพของห้องเรียน และเป็นแนวทางในการต่อยอด
ความคิดในการพัฒนาคุณภาพห้องเรียนของสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยทุกโรงเรียนในสังกัดส่งเข้าประกวด
ห้องเรียนคุณภาพในระดับเครือข่าย แล้วเครือข่ายคัดเลือกห้องเรียนคุณภาพเพ่ือเป็นตัวแทนของเครือข่าย
(15 โรงเรยี นจาก 15 เครอื ขา่ ย) เพอื่ นำเสนอผลงานในระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษา
2. มีการบูรณาการภารกิจส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพห้องเรียน กับโครงการติดตาม
ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาระดบั โรงเรยี น

งบประมาณท่ีได้รับจัดสรร - บาท (บูรณาการกับงบโครงการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
และ นเิ ทศการศกึ ษา)

เบิกจา่ ยงบประมาณดำเนินการทัง้ ส้นิ - บาท

26

นโยบายท่ี 6 ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา

โครงการอบรมพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาสู่การจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 ผา่ นชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC : Professional Learning Community)

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาได้จัดทำโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สู่การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ .ศ. 2564 ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC :Professional Learning Community ) ข้ึน เพ่ือให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ได้มี
ความรู้เร่ืองการจัดทำแผนปฏิบัติการและการเขียนโครงการ การรายงานผลและการประเมินโครงการ ไดน้ ำไปพัฒนา
และวางแผนการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงข้ึน หน่วยงานมีแผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ 2564 และโครงการท่ีเช่ือมโยงกับนโยบายทุกระดับนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการ
บรู ณาการความรว่ มมือจากทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษา

ผลการดำเนินงาน

1. มีการอบรมพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC :Professional Learning Community
ส่งผลให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาและผู้อำนวยการโรงเรียน
หรือผู้แทนโรงเรียนละ 1 คนท้ัง 218 โรงเรียน) มีความรู้ความเข้าใจสามารถเขียนโครงการ จัดทำแผนปฏิบัติการ
ของสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายทุกระดับ

2. มีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นกรอบในการกำหนดทิศทาง แนวทางการ
ดำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุผลตามเป้าหมายและควบคุมการบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ และ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีเผยแพร่สสู่ าธารณชน

งบประมาณท่ีได้รับจัดสรร 197,800 บาท

เบกิ จ่ายงบประมาณดำเนินการทั้งสิน้ 149,330 บาท

27

นโยบายท่ี 6 ด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา

โครงการกำกับตดิ ตามแบบวถิ ีชีวิตปกติใหม่ (The New Normal For Monitoring)
โครงการการกำกับติดตามแบบ วิถีชีวิตปกติใหม่ (The New Normal For Monitoring)

โดยนำแนวคิดเพ่ือการพัฒนาด้านการกำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายใต้วิถีชีวิตปกติใหม่
(New Normal) ซึ่งเป็นผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ทำให้
วิถีชีวิตการทำงานต้องปรับเปล่ียนโดยมีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication technology) มาเป็น
เครื่องมือสำคัญในการขับเคล่ือนระบบการกำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการในองค์กร เพ่ือรองรับการทำงาน
บนระบบฐานข้อมูลออนไลน์ (online database) ในอนาคต ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดในการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาขององค์กร

ผลการดำเนนิ งาน

1. ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา นกั เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต 2 มีการพัฒนาคณุ ภาพและศกั ยภาพตามนโยบาย จดุ เน้น และยทุ ธศาสตร์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2. มีระบบการกำกับติดตาม และสามารถรายงานผลการดำเนินงานท้ังในรูปแบบออนไลน์และ
เชิงประจักษ์ที่มีประสิทธิภาพ แล้วนำผลการดำเนินงานไปวิเคราะห์ศักยภาพองค์กร เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาในระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา

3. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนภารกิจงานการกำกับติดตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ รองรับ
การเปล่ียนแปลงตามแบบวิถีชีวิตปกติใหม่ (New Normal) ได้แก่ การสร้างความรู้ความเข้าใจในแนวทาง
การติดตาม การประชุมคณะทำงาน และปฏิทินการขับเคล่ือนการดำเนินงานด้านการกำกับติดตามไปยังผู้รับผิดชอบ
นโยบาย/ตัวช้ีวดั ผา่ นแอปพลิเคชัน่ และชอ่ งทางออนไลน์ เช่น Line /Tiktok/Google Meet/Zoom/Facebook

งบประมาณทไ่ี ด้รบั จัดสรร 45,800 บาท

เบกิ จ่ายงบประมาณดำเนินการทง้ั ส้ิน 7,500 บาท

28

นโยบายที่ 6 ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษา

โครงการติดตามตรวจสอบการบริหารงบประมาณ การเงิน บญั ชี และพัสดุ ของสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
และสถานศกึ ษาในสงั กัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 2 และสถานศึกษาในสังกัด จัดกิจกรรม
ลงพ้ืนทเี่ พือ่ นเิ ทศ ติดตาม ให้คำปรึกษา เพ่ือสง่ เสริมสนบั สนนุ การปฏบิ ัตงิ านการเงิน บญั ชีและพัสดุ
ผา่ นกระบวนการ/วิธีการ/รปู แบบการดำเนนิ งาน ดังน้ี

1. การวางแผน/ดำเนนิ การตามแผนที่กำหนด/สรุปผลการตรวจสอบ ตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน
2. การตรวจสอบปฏิบัติงานโดยการสังเกต การตรวจนับ การตรวจสอบเอกสารหลักฐานใบสำคัญ
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง การสอบถาม การสนทนาพูดคยุ
3. การนิเทศติดตามท่ีต่อเนื่อง ในรูปแบบเชิงส ร้างสรรค์และก่อให้เกิดการพัฒ นางาน
ดา้ นการบริหารงานการเงินบัญชแี ละพัสดุของโรงเรยี นในสังกัด ซึ่งก่อใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดต่อการปฏบิ ัติงาน
4. การให้บริการให้คำปรึกษาแนะนำ และตอบข้อหารือสถานศึกษาในสังกัดด้วยวาจา
และเป็นลายลกั ษณ์อักษร โดยใช้ช่องทางการส่อื สารทางโทรศพั ท์ ทางไลน์ และอื่นๆ
และสร้างเครือขา่ ยพัฒนาการดำเนนิ งานมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้นึ

ผลการดำเนนิ งาน
เจ้าหน้าที่การเงินบัญชี เจ้าหน้าที่พัสดุ ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 2 สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามระเบียบ แนวปฏิบัติ คำส่ัง ข้ อบังคับ
และมตคิ ณะรฐั มนตรีที่เกยี่ วขอ้ ง

งบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรร 30,000 บาท

เบกิ จา่ ยงบประมาณดำเนินการทง้ั สน้ิ 16,440 บาท

29

นโยบายท่ี 6 ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา

โครงการพัฒนาประสทิ ธภิ าพผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและบุคลากรในสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 2

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ได้ดำเนินโครงการพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหารสถานศึกษาและ
บุคลากรในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 เพ่ือใช้เป็นช่องทางการแจ้งนโยบาย ข้อ
ราชการสำคัญเร่งด่วนให้ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่ม/หน่วย และบุคลากรทางการ
ศึกษา ในสังกัดได้ทราบและถือปฏิบัติได้ถูกต้อง รวมทั้งการรายงานผลการดำเนินงานของสำนักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แลกเปลี่ยนเพ่ือหาทางแก้ไขร่วมกันเก่ียวกับการ
ปฏิบตั ิงาน

ผลการดำเนนิ งาน
มีการดำเนินการในรูปแบบการจัดประชุมรวม 6 คร้ังในห้วงตลอดปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดย
ปรับลดจากการประชมุ ประจำเดือนลง เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของผู้บริหารสถานศกึ ษาและข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยปฏบิ ัตติ าม
ข้อบังคับของกรมควบคุมโรคอย่างเข้มงวด ประเด็นหลักสำคัญในการประชุมในแต่ละครั้ง ได้แก่ การแจ้งข้อราชการ
สำคัญเร่งด่วน / การรายงานผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการแลกเปล่ียนเรียนรู้
รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผปู้ ฏบิ ตั ิงาน

งบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร 90,000 บาท

เบกิ จ่ายงบประมาณดำเนนิ การท้ังสนิ้ 90,000 บาท

30

นโยบายที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา

โครงการพัฒนาขอ้ มูลข่าวสารเพือ่ การประชาสมั พันธ์งานด้านการศึกษาสู่สาธารณชน
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นหน่วยงานบริการทางการศึกษาอยู่ภายใต้กำกับ ดูแล

ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระบวนการปฏิรูปการศึกษาจะบรรลุวัตถุประสงค์ย่อมข้ึนอยู่กับ
กระบวนการประชาสัมพันธ์งานด้านการศึกษา ไปยังกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความรู้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน
โดยกำหนดพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือและสนับสนุนต่อการ
จัดการศึกษาและพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ซ่ึงกำหนดพัฒนาข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์งานด้านการศึกษา
สู่สาธารณชน ชมุ ชนและประชาชน ให้เป็นไปอย่างกว้างขวางครอบคลุมพืน้ ทบ่ี ริการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ดำเนิน
โครงการพัฒนาข้อมูลข่าวสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์งานด้านการศึกษาสู่สาธารณชน เพ่ือรองรับการทำงานดังกล่า;

ผลการดำเนนิ งาน
มกี ารพัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์ทงั้ ในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ ได้แก่ เว็ปไซตห์ นว่ ยงาน
(www.srn2.go.th) , กลุ่มไลน์ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (กลุ่มไลน์บุคลากรในสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา/กลุ่มไลน์ผู้บริหารโรงเรียน/กลุ่มไลน์ครูธุรการ) , เพจของหน่วยงาน (FB : สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2) , ช่องยูทูปข่าวสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ,ปรับปรุง
ทำเนียบผู้บริหารสถานศึกษา 218 แห่ง , ทำเนียบบุคลากรสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา , การจัดทำป้ายไวนิล
ประชาสัมพันธ์งานด้านการศึกษา กิจกรรมด้านการศึกษาตลอดทั้งปี การจัดทำป้ายทางเข้ากลุ่ม/หน่วย
ภายในสำนักงานเพื่อเป็นการประชาสมั พนั ธ์องค์กร และอำนวยความสะดวกแกผ่ ู้มาติดตอ่ ราชการ

งบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรร 50,000 บาท

เบิกจา่ ยงบประมาณดำเนนิ การทงั้ ส้ิน 50,000 บาท

31

นโยบายท่ี 6 ดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา

โครงการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จัดให้มีโครงการ ติดตาม ตรวจสอบ

ประเมินผลและนิเทศการศึกษา เพ่ือพัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
อย่างมีคุณภาพ ผ่านกิจกรรมหลัก ได้แก่ การวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ การลงพ้ืนที่นิเทศติดตาม
โรงเรียน การพัฒนาศึกษานิเทศก์และ ก.ต.ป.น. (นิเทศตามนโยบายเร่งด่วน/การพัฒนานวัตกรรมการนิเทศ
และการเข้ารว่ มประชมุ /อบรมพัฒนากับหนว่ ยงานอ่ืนๆ)

ผลการดำเนนิ งาน
1. มกี ารเพมิ่ ประสิทธิภาพระบบบรหิ ารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
2. ทุกโรงเรียนได้รับการนิเทศออนไลน์การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3. มีการพัฒนาศึกษานิเทศก์และ ก.ต.ป.น./ นิเทศตามนโยบายเร่งด่วน/ การพัฒนานวัตกรรมการ
นิเทศ/และการเขา้ ร่วมประชมุ /อบรมพัฒนากับหนว่ ยงานอนื่ ๆ ผ่านระบบออนไลน์

งบประมาณทไี่ ด้รับจัดสรร 100,000 บาท

เบกิ จา่ ยงบประมาณดำเนินการทงั้ ส้ิน 16,678 บาท

32

1.2 ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน (ยุทธศาสตร์ สพฐ.)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กลยุทธ์/ตัวชี้วดั คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน
รอ้ ยละ 85 ไมบ่ รรลุ
กลยุทธท์ ี่ 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของสงั คมและของประเทศชาติ
ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีสง่ เสริม สนบั สนุนในการสรา้ ง
ภูมิคุ้มกันพร้อมรับมือกบั การเปลย่ี นแปลงและภยั คุกคามรูปแบบใหมใ่ นทุกรูปแบบ

กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ รอ้ ยละ 80 บรรลุ
ตัวชี้วดั ท่ี 5 ร้อยละผูเ้ รียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ เพ่มิ ขึ้น -
สตปิ ญั ญา รอ้ ยละ 70
รอ้ ยละ 100 บรรลุ
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ ไมบ่ รรลุ
พน้ื ฐาน (O-NET) รอ้ ยละ 50 ข้ึนไป ร้อยละ 100
ไม่บรรลุ
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 8 ร้อยละของนักเรียนทผี่ ่านการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตาม
หลกั สตู รระดับดขี น้ึ ไป

ตัวช้วี ดั ที่ 10 รอ้ ยละของครสู อนภาษาองั กฤษในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาและ
มธั ยมศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาและยกระดับความรภู้ าษาอังกฤษโดยใชร้ ะดับการพัฒนา
ทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ตวั ช้วี ัดที่ 11 ร้อยละของสถานศกึ ษาทสี่ อนในระดับ ม.ตน้ ทไ่ี ดร้ ับการเตรียมความ
พร้อม ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตรใ์ นการประเมินระดับนานาชาติ
โครงการ PISA

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 14 รอ้ ยละของผเู้ รียนได้รับการพฒั นาให้มีความรู้ สมรรถนะ หรือทักษะ รอ้ ยละ 80 บรรลุ
อาชีพในด้านต่างๆ เพอ่ื ประกอบอาชีพ การดำรงชวี ติ อยู่รว่ มกันในสังคมอย่าง รอ้ ยละ 80 บรรลุ
สอดคล้องตามสภาพความต้องการและบรบิ ทของแตล่ ะพนื้ ท่ี ตลอดจนความทา้ ทายที่
เปน็ พลวัตรของโลกในศตวรรษที่ 21 - -

ตวั ช้วี ดั ท่ี 14.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6

ตัวชวี้ ดั ท่ี 14.2 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3

ตัวชี้วัดที่ 14.3 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6

กลยุทธ์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่มี ีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 15 อัตราการเข้าเรียนของผูเ้ รียนแตล่ ะระดับการศกึ ษาต่อประชากรกลุ่มอายุ

33

ตวั ชีว้ ัดท่ี 15.1 ประชากรวยั เรียนทม่ี อี ายุถึงเกณฑ์การศกึ ษาภาคบงั คบั เข้า รอ้ ยละ 100 บรรลุ
เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 100 บรรลุ
ร้อยละ 100
ตวั ชีว้ ัดที่ 15.2 นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ทจ่ี บหลักสูตรในปกี ารศึกษา รอ้ ยละ 78 -
2563 ไดศ้ ึกษาต่อชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 -

ตัวชวี้ ัดท่ี 15.3 นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท่จี บหลักสตู รในปีการศึกษา
2563 ไดศ้ ึกษาต่อชั้นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 หรือ เทยี บเทา่

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 15.4 นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ท่จี บหลักสตู รในปกี ารศึกษา
2563 ไดศ้ ึกษาต่อในระดับทส่ี ูงขึน้

กลยุทธ์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80 บรรลุ

ตวั ชวี้ ดั ที่ 19 ร้อยละของนักเรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและตระหนกั ในการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

หมายเหตุ : กลยุทธ์ที่ 2 การจดั การศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ และกลยุทธ์ท่ี 6
การปรบั สมดลุ และการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศึกษา ใชข้ อ้ มูลจากสำนกั /หนว่ ย/กลุม่
ศนู ยใ์ นส่วนกลาง สพฐ.

34

1.3 ผลการตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจัดการศกึ ษาของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา พ.ศ.2560 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี/้ ประเดน็ การพิจารณา ระดบั ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
คุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 การบริหารจดั การองคก์ ารสู่ความเป็นเลศิ (ใชผ้ ลการประเมนิ การเป็นระบบราชการ 4.0 ของ กพร. สพฐ.)

มาตรฐานท่ี 2 การบรหิ ารและการจดั การศึกษาท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ(ใชผ้ ลการประเมินการเปน็ ระบบราชการ 4.0 ของ

กพร.สพฐ.)

มาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิผลการบรหิ ารและการจดั การศึกษา

ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ปรับปรงุ กระบวนการสง่ เสรมิ สนับสนุนการพฒั นางานขาดความ
มีผลงานทแ่ี สดงความสำเร็จและเป็นแบบอย่าง ชัดเจน ไม่สะท้อนสภาพปัญหาขององคก์ ร ไม่
ได้ ครอบคลุมกลุม่ งานและส่วนมากเปน็ งานประจำ ดงั นน้ั
ควรสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ทกุ กลุ่ม/หนว่ ย เห็น
ความสำคัญ ในการพฒั นางานอยา่ งสม่ำเสมอ หา
รปู แบบหรอื วธิ กี ารทำงานในการเพิ่มประสิทธภิ าพใน
การบรหิ ารจดั การทงั้ ภายในสำนกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาและสถานศึกษาท่สี อดคล้องและเหมาะสม

ตวั บง่ ช้ีท่ี 2 สถานศึกษามีคณุ ภาพ สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามีแนวทางการส่งเสรมิ
ตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและการศึกษา สนบั สนนุ กำกบั ติดตามไดค้ รอบคลมุ สถานศกึ ษา
ข้นั พ้นื ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพการศึกษา ทกุ ขนาด และสะท้อนสภาพปัญหา พรอ้ มท้ังมโี ครงการ
ดีเยีย่ ม กิจกรรม กระบวนการดำเนินงานท่ีพฒั นางานประกนั
คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกดั เปน็ ไปอยา่ ง
ชดั เจน มกี ารสรา้ งความตระหนกั ให้กับผู้บรหิ าร
สถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทเ่ี กีย่ วข้อง ทง้ั นี้ ควร
บรหิ ารจัดการโดยใช้พน้ื ทเ่ี ปน็ ฐาน และขบั เคล่ือนดว้ ย
นวัตกรรมอยา่ งต่อเนื่อง

35

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี/้ ประเดน็ การพจิ ารณา ระดบั ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
คุณภาพ

ตัวบ่งชีท้ ี่ 3 ผู้เรียนระดบั ปฐมวยั และระดับ สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามกี ระบวนการสง่ เสรมิ

การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานมีคณุ ภาพตามหลักสูตร สนบั สนนุ การพฒั นาผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ ชดั เจน

ประกอบดว้ ย ครอบคลุมทกุ ช่วงวยั สอดคล้องกับสภาพปัญหา โดย

1) ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั จัดให้มีโครงการ กิจกรรม การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

2) การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียน ดเี ย่ียม ครอบคลุมทุกด้าน เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความสามารถในการ

ระดบั ชาต(ิ National Test: NT) อา่ น การเขยี นและการคดิ วิเคราะห์ได้ตามเปา้ หมาย

3) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การเรยี น การสอนดว้ ย

ขน้ั พื้นฐาน(O-NET) รปู แบบวิธีการทีห่ ลากหลายสอดคล้องกับการเรียนรู้

4) ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ของผู้เรยี นจนผลสัมฤทธิ์มีพฒั นาการท่ดี ีข้นึ อยา่ ง

5) ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน ต่อเน่ือง อยา่ งไร ก็ตาม ควรสง่ เสริม สนับสนนุ การ

การคดิ วเิ คราะห์ และการเขยี น นำเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาช่วยในการพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษาให้ครอบคลุมในทกุ มิติ

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 4 ประชากรวัยเรยี นไดร้ บั สทิ ธแิ ละ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ เพ่ือ
โอกาสทางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เท่าเทียมกัน สรา้ งโอกาส ทางการศึกษาให้กับผ้เู รียนทุกช่วงวัยได้
ศึกษาตอ่ ในระดบั ที่สูงขึ้นหรอื มีความร้ทู ักษะ ทว่ั ถงึ ชดั เจน และ ตอ่ เน่ือง สอดคล้องกับสภาพบรบิ ท
พนื้ ฐานในการประกอบอาชีพ ประกอบดว้ ย ของพนื้ ที่ ทัง้ กลุ่มผู้เรยี นปกติและกลุ่มผเู้ รยี นท่ีมีความ
1) จานวนประชากรวัยเรยี นที่มีอายถุ ึงเกณฑ์ ต้องการพิเศษ ส่งผลให้ผู้เรียนได้รบั สทิ ธแิ ละโอกาส
การศกึ ษาภาคบงั คับได้เข้าเรยี นช้ัน ป.1 ทางการศึกษาอยา่ งเทา่ เทียม มีการศึกษาต่อทส่ี งู ข้นึ
2) อตั ราการออกกลางคันลดลง และมีความร้ทู ักษะพน้ื ฐานในการนาไปใชป้ ระกอบ
3) อัตราการศึกษาต่อในระดับท่ีสงู ขึน้ ของ ดีเย่ียม อาชพี ในขณะเดยี วกัน ควรมีการจดั ทาข้อมูล
ผู้เรยี นทจี่ บชัน้ ป.6 /ม.3 /ม.6 สารสนเทศท่ีเป็นระบบ เท่ยี งตรง ตรวจสอบงา่ ย
4) ผู้เรียนระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานทม่ี ีความ
ตอ้ งการพิเศษได้รับการดูแลชว่ ยเหลือและ
ส่งเสรมิ ใหไ้ ดร้ ับการศกึ ษาเต็มตามศักยภาพ
ไดแ้ ก่ เด็กพิการเรียนรวม เดก็ ด้อยโอกาส และ
เด็กทม่ี ีความสามารถพิเศษ
5) ผูเ้ รียนช้ัน ม.3 มีความรู้และทักษะพนื้ ฐาน
ในการประกอบอาชีพ และศึกษาตอ่ ในสาย
อาชพี

36

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้/ี ประเด็นการพิจารณา ระดบั ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
คุณภาพ

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ควรมกี ารส่งเสรมิ

ศึกษา พนกั งานราชการ ลกู จ้างในสำนักงาน สนับสนุนใหบ้ ุคลากร เสนอผลงานเข้ารับการประเมิน

เขตพน้ื ที่การศึกษาและสถานศึกษามีผลงานเชิง พอใช้ ครอบคลุมกล่มุ เปา้ หมาย มแี นวทางการสร้างแรงจูงใจ
ประจักษ์ ตามเกณฑ์ ได้รับการยกยอ่ งเชดิ ชู ในการเสนอผลงานเข้ารับการประเมินในระดับตา่ งๆ

เกียรติ อยา่ งไรกต็ าม ควรมีการพัฒนาบคุ ลากรในสังกัดให้มี

ความรู้ ความเขา้ ใจและรู้เทา่ ทนั การเปล่ียนแปลง

สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ความจำเปน็ ของพ้ืนท่ี ด้วย

วิธกี ารทีห่ ลากหลายอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ตัวบ่งช้ที ่ี 6 ผูร้ ับบริการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีความตระหนักและเห็น

มีความพึงพอใจในการบริหาร และการจดั ความสำคัญ ในการพฒั นางาน โดยประชาสมั พนั ธ์ให้กับ

การศกึ ษา รวมทัง้ การให้ บริการ ดเี ยยี่ ม ผ้ทู ี่มารับบริการและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ตอบ
แบบสอบถามความพงึ พอใจต่อการบริหารจัดการท้ัง 4

ดา้ น เพอ่ื นำขอ้ เสนอแนะ และความคิดเหน็ ไปใช้ในการ

ปรบั ปรุง พัฒนางาน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน อย่างไรก็

ตาม ควรใช้กระบวนการวิจยั ชว่ ยในการแสวงหาจดุ เด่น

จดุ อ่อน จุดทีค่ วรพฒั นา ที่สะทอ้ นการปฏิบัตงิ านได้

จริง

สรปุ ภาพรวมมาตรฐานที่ 3 ดมี าก

1.4 ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสของสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาออนไลน์
(Integrity and Transparency Assrssment Online: ITA Online)
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้ผลคะแนนการประเมนิ รวม 84.28 อยู่ในระดบั
B (ผลการประเมินไม่ผา่ น) อยูใ่ นลำดบั ที่ 207 จากทั้งหมด 225 เขต

37

1.5 ผลการประเมินส่วนราชการตามาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ
ปี พ.ศ. 2564 (KRS System)

การประเมนิ ตวั ชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ คะแนน รอ้ ยละ
(นำ้ หนัก 100)
ตัวช้ีวัดที่ 1 ระดับดวามสำเร็จของการดำเนนิ โดรงการสง่ เสริมผเู้ รียนใหม้ ี 0.45450 100
คุณลกั ษณะ และ ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (น้ำหนัก 9.09)
0.25270 55.60
ตัวชี้วดั ท่ี 2 ระดบั คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษา (นำ้ หนกั 9.09) 0.45450 100

ตัวชี้วัดท่ี 3 การพฒั นาองค์การสูต่ ิจิทลั Data Catalogue (น้ำหนกั 9.09) 0.09090 20

ตัวชี้วดั ท่ี 4 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 0.45450 100
(PMQA)(น้ำหนัก 9.09) 0.45450 100
0.36360 80
ตวั ชวี ัดท่ี 5 การลดพลังงาน (น้ำหนัก 9.09)
0.45450 100
ตัวชีวัดท่ี 6 มาตรการลดและคดั แยกขยะมูลฝอยในหนว่ ยงานภาครฐั (นำ้ หนัก 9.09)
0.38178 84
ตัวชี้วัดท่ี 7 การกำกบั ดแู ลการทจุ ริต (ITA) (น้ำหนัก 9.09) 0.36724 80.80
0.45500 100
ตัวชีวดั ท่ี 8 ระบบตดิ ตามการปฏบิ ตั งิ านเพือ่ การบรหิ ารงานขององค์กร (น้ำหนัก
9.09)

ตัวช้รี ดั ที่ 9 การส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยกี ็ดจิ ิทัลในองค์กร (น้ำหนัก 9.09)

ตวั ชรี ดท่ี 10 การสร้างคุณธรรมจริยธรรมในองค์การ (นำ้ หนัก 9.09)

ตัวช้ีรดที่ 11 ความคดิ เหน็ ของผไู้ ต้บังคบั บญั ชาต่อผูบ้ ังคบั บัญชา (นำ้ หนัก 9.1)

รวม (น้ำหนกั 100) 4.18372
83.67
มาตรฐานขั้นสงู

38

2.1 ผลการทดสอบและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดับชาติ (ONET,NT)
ประจำปกี ารศึกษา 2563

ผล ONET ประจำปีการศกึ ษา 2563 สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

39

ผล NT ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 2

40

3.1 ผลการประเมินคณุ ภาพตามาตรฐานการศึกษาเพือ่ การประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563

ตาราง แสดงผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาโดยรวม
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 2

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3 โดยรวม

ระดับคุณภาพ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
โรงเรียน โรงเรียน โรงเรยี น โรงเรียน
ยอดเยย่ี ม
ดเี ลศิ 65 29.82 87 39.91 47 21.56 78 35.78
ดี
74 33.94 67 30.73 80 36.70 81 37.16
ปานกลาง
กำลังปรับปรงุ 79 36.24 63 28.90 91 41.74 59 27.06

รวม 0 0.00 1 0.46 0 0.00 0 0.00

0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

218 100.00 218 100.00 218 100.00 218 100.00

41

สรุปผลการดำเนินงาน
ปญั หาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะ
และการวเิ คราะห์ศกั ยภาพองคก์ ร
สกู่ ารจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

42

บทที่ 4

สรปุ ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

1. ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 มีผลการดำเนินงานตามโครงการ/
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ และมีการนำเข้าข้อมูลโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 ในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) และได้ผ่านการอนุมัติ รวมท้ังสิ้น 14 โครงการ
ภายใต้นโยบายการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี

โดยทุกโครงการที่ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ทงั้ 6 นโยบาย และมีผลการดำเนินงานท่บี รรลเุ ป้าหมายตัวช้วี ดั โครงการ ดงั น้ี

กลยุทธ์ที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ ได้แก่ โครงการพัฒนา
บุคลากรหน่วยงานทางการศึกษาต้านภัยยาเสพติด

กลยุทธ์ที่ 2 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ได้แก่
1.โครงการพัฒนาครูปฐมวยั TO BE THE FIRST ส่ทู ักษธในศตวรรษที่ 21 2. โครงการสร้างความเขม้ แข็งและพัฒนา
คุณภาพงานวิชาการเครือข่าย 15 เครือข่าย 3.โครงการส่งเสริมการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความ
เปน็ เลิศผ่าน Digital Education Excellence Platform : DEEP

กลยุทธ์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ 1. โครงการพัฒนา
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ในตำแหน่งรอง
ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และผู้อำนวยการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานด้วยกระบวนการ PLC
3. โครงการพัฒนาการจัดการความรู้ (KM) เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา

กลยุทธ์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐานและลดเหล่ือมล้ำ
ทางการศึกษา ได้แก่ 1.โครงการรบั นกั เรียน สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 2

กลยุทธ์ท่ี 5 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ได้แก่
1. โครงการหอ้ งเรียนคุณภาพ

กลยุทธ์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ได้แก่ 1.โครงการ
อบรมพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรืทางวิชาชีพ (PLC : Professional Learning Community) 2.การกำกับติดตามแบบวิถี
ชวี ิตปกตใิ หม่ (The New Normal For Monitoring) 3. โครงการตดิ ตามตรวจสอบการบรหิ ารงบประมาณ การเงิน

43

บัญชีและพัสดุ ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 4. โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ
ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทณื เขต 2 5.โครงการพัฒนา
ข้อมูลข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์งานด้านการศึกษาสู่สาธารณชน 6.โครงการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและ
นิเทศการศกึ ษา

2. ผลการติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาตามตัวช้วี ัด
แผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีผลการดำเนินงานตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัติ
ราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จำนวนทั้งหมด
9 ตัวชี้วัด พบว่าตัวชี้วัดท่ีประเมินโดยเทียบค่าเป้าหมาย จำนวน 8 ตัวช้ีวัด บรรลุเป้าหมายจำนวน
6 ตวั ช้วี ดั ไมบ่ รรลเุ ปา้ หมาย จำนวน 2 ตัวชี้วดั และติดตามไม่ประเมนิ ผลค่าบรรลุเป้าหมาย จำนวน 1 ตวั ช้วี ดั

3. ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา พ.ศ.2560 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีผลการดำเนินงานตามมาตรฐานสำนักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา จำนวนทั้งหมด 3 มาตรฐาน 6 ตัวบ่งช้ี พบว่า สรุปภาพรวมท้ัง 3 มาตรฐาน ได้ระดับคุณภาพ
ดีมาก

4 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาออนไลน์ (Integrity and
Transparency Assrssment Online: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้ผลคะแนนการประเมินรวม 84.28 อยู่ใน
ระดบั B (ผลการประเมนิ ไมผ่ ่าน) อยใู่ นลำดับท่ี 207 จากท้ังหมด 225 เขต

5. ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ปี พ.ศ.2564
( KRS System)

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 11 ตัวชี้วัด
ค่านำ้ หนัก 100 ผลการประเมนิ ภาพรวมรวม 83.67 อยูใ่ นระดบั คุณภาพ มาตรฐานขัน้ สูง

6. ผลการทดสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (ONET/NT) ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ข้ันพื้นฐาน (O-NET) / NT ดงั นี้

44

- ONET ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าเฉลี่ยรวมทุกวิชา สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา 2562 ท่ี 1.71 โดยวิชา
ภาษาไทย/วิทยาศาสตร์/ภาษาอังกฤษมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น และต้องพัฒนาวิชาคณิตศาสตร์ ในส่วนของค่าคะแนน
เปรียบเทยี บระดับประเทศต่ำกว่าท่ี 1.17

- ONET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยทุกวิชา ลดลงกว่าปีการศึกษา 2562 ที่ 0.82 โดยวิชา
ภาษาอังกฤษมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น และต้องพัฒนาวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ในส่วนของค่าคะแนน
เปรยี บเทยี บระดับประเทศต่ำกว่าท่ี 2.57

- NT ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลีย่ 51.54 สูงกวา่ ระดับประเทศ มีนักเรยี นได้คะแนนเต็ม 100 วิชา
คณิตศาสตร์ จำนวน 3 คน

ท้งั น้ี ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญเน่ืองมาจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ทำให้การจดั การเรียนการสอน และการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนเป็นไปด้วยความยากลำบาก

7. ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาเพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา (SAR)
ปีการศกึ ษา 2563

สถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม จำนวน 78 แห่ง (ร้อยละ 35.78) ระดับดีเลิศ จำนวน 81 แห่ง
(ร้อยละ 37.16) ระดับดี จำนวน 59 แหง่ (ร้อยละ 27.06) โดยมผี ลประเมนิ แยกเป็นรายมาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มีระดับยอดเย่ียม จำนวน 65 แห่ง (ร้อยละ 29.82) ระดับดีเลิศ จำนวน 74 แห่ง (ร้อย
ละ 33.94) ระดับดี จำนวน 79 แหง่ (ร้อยละ 36.24)

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีระดับยอดเยี่ยม จำนวน 87 แห่ง (ร้อยละ 39.91) ระดับดีเลิศ
จำนวน 67 แหง่ (ร้อยละ 30.73) ระดบั ดี จำนวน 63 แห่ง (รอ้ ยละ 28.90) ระดบั ปานกลาง จำนวน 1 แหง่ (รอ้ ยละ 0.46)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ มรี ะดบั ยอดเย่ียม จำนวน 47 แห่ง (รอ้ ยละ
21.56) ระดบั ดีเลศิ จำนวน 80แหง่ (ร้อยละ 36.70) ระดับดี จำนวน 91 แหง่ (ร้อยละ 40.74)

45

ปัญหาอปุ สรรค/ขอ้ เสนอแนะผลการดำเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ.2564
และการวเิ คราะห์ศกั ยภาพสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
สู่การจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565

จากผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ได้มีการสะท้อนปัญหา ข้อคิด ข้อเสนอแนะ
การทำงานเพ่ือพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผ่านการประชุมสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 และการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ผ่านกิจกรรม
แบ่งกลุ่มเพือ่ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (PLC) สู่การวเิ คราะห์องคก์ รร่วมกัน (SWOT) ตลอดจนการใช้ตารางกริด (Matrix)
เป็ น เค รื่อ งมื อช่ วยวิเคราะห์ ปั จจัยเสี่ย งใน แต่ ละปั จจัยถึ งความ น่ าจะเป็ น แล ะผล กระท บ ที่ จะเกิ ด
ว่าอยู่ในระดับสูง หรือปานกลาง หรือต่ำ โดยผู้ตรวจสอบภายในสามารถสรุปและรวบรวมปัจจัยเส่ียงและเกณฑ์
ความเสย่ี งในรูปของตารางปัจจัยเสย่ี งและเกณฑ์ความเสย่ี ง

46

วเิ คราะหศ์ ักยภาพสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาสุรินทร์ เขต 2 (SWOT Analysis)

ในการประชุมสรปุ ผลดงั กล่าว เกิดกระบวนการแลกเปล่ียนเรยี นรู้แนวทางรว่ มกัน รวมทง้ั การวเิ คราะห์ปัจจัย
สู่ความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคท่ีต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ซึ่งกระบวนการวิเคราะห์ศักยภาพของ
สำนักงานเขตพื้ นที่ การศึกษ า ท ำให้ ท ราบถึงต้น ทุน ที่มีและปั จจัยที่ ส่งผลต่อความสำเร็จ กล่าวคือ

 จดุ แข็ง (Stengths) คือปจั จัยและตน้ ทนุ ของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
 จดุ ออ่ น (Weakness) คือสงิ่ ที่สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาต้องปรบั ปรุงและพัฒนาให้ดีข้นึ
 โอกาส (Opportunities) คือ ชอ่ งทางทมี่ งุ่ ไปส่ผู ลสำเรจ็ ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
 อุปสรรค (Threats) คือปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความสำเร็จของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
และเป็นสงิ่ ท่ตี อ้ งเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อแก้ไขปญั หาและหาทางออกร่วมกัน
ท้ังนี้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จึงได้พบปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ในการดำเนินงาน พร้อมท้ังวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรเพื่อการพัฒนางานในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ด้วยการกำหนด
ทิศทางในการทำงานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สรุปได้ดังน้ี

จุดแขง็ (Strengths)
จุดแข็ง (Strengths)
1. มโี ครงสรา้ งองค์กร มีการบรหิ ารงานและมอบหมายงานเป็นคำสั่งทชี่ ดั เจน
2. มกี ลยทุ ธ์ วิสยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย และตัวชวี้ ัดชดั เจน
3. มีการบรหิ ารงานโดยยดึ หลักการมสี ่วนรว่ ม โดยมีเครือข่ายโรงเรยี น สมาคม ชมรม ในการขับเคลอ่ื นนโยบาย
4. มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการประสานงาน ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
ทันสมัย
5. บุคลากรมีความมุง่ มนั่ ในการปฏบิ ัติงาน
6. มคี วามสามคั คใี นหมู่คณะและทำงานเปน็ ทมี

47

จุดออ่ น (Weaknesses)
1.บุคลากรไมค่ รบตามกรอบอัตรากำลังท่ี ก.ค.ศ.กำหนด
2.ขาดการสง่ เสรมิ นวตั กรรมใหมๆ่ ในการปฏิบตั งิ านและการพัฒนาความเป็นเลิศ
3. ขาดการสรา้ งขวัญกำลังใจในการทำงานของบุคลากร
4. ความคิดแตกตา่ ง และหลากหลายระหวา่ งบุคคล ทำให้เหน็ รว่ มกันยาก
5. ค่านยิ มในการปฏบิ ัติงานยังไมม่ ีมาตรฐานเป็นหนงึ่ เดยี ว
6. ขาดการบูรณาการ ในการใช้ข้อมลู รว่ มกันระหวา่ งกลุม่ งาน
7. ระบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม ยังไม่เป็นระบบ

โอกาส (Opportunities)

1.หน่วยงานอื่น องคก์ ร ชุมชน มคี วามพงึ พอใจและให้ความร่วมมือ ในการจดั การศกึ ษาเป็นอยา่ งดี
2.ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรรัฐและเอกชน ในการสนับสนุนการจัด
การศกึ ษา
3.นำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากร มีการสร้างเครือขา่ ยในการตดิ ต่อส่อื สาร
4.มีภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย วัฒนธรรมประเพณีท่ีดงี าม
5.การคมนาคม และระบบสาธารณูปโภคสง่ ผลตอ่ การเลือกเข้ารบั การศกึ ษา และการศึกษาต่อ
6.คา่ นยิ มและวัฒนธรรมท่ีผ้ปู กครองส่งบุตรหลานเข้ารบั การศกึ ษาท่มี คี วามพร้อม

อุปสรรค (Threats)

1.การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้เต็ม รวมทั้งไม่สามารถ
ขับเคลอื่ นกิจกรรมตามโครงการได้เตม็ ท่ี
2.การเปลี่ยนแปลงนโยบายและผ้นู ำ ทำให้เกิดผลกระทบตอ่ การบริหารจดั การศึกษา
3.ปญั หาความยากจน การอพยพแรงงานไม่เป็นหลกั แหล่งของผู้ปกครอง ส่งผลต่อปัญหาการออกกลางคันและการ
เรยี นรู้ของนกั เรยี น
4.การเปล่ยี นแปลงนโยบายของผูน้ ำ และหนว่ ยเหนอื ทบี่ ่อยครั้ง ทำให้เกดิ ผลกระทบตอ่ การจัดการศกึ ษา
5. การเพิ่ม/ลดของประชากรวัยเรียน ส่งผลต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา(โรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้น
อยา่ งต่อเน่อื ง)
6.การพฒั นาของระบบเทคโนโลยมี กี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว สง่ ผลตอ่ การพฒั นาตนเองของบุคลากร
7.ระเบยี บกฎหมายบางเรอ่ื ง มีขอ้ จำกัดต่อการปฏบิ ัติงาน และการบรหิ ารงาน


Click to View FlipBook Version