The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวจินดารัตน์ มีสงเปือย รหัส108

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by meesongpueaizaza, 2021-05-05 14:51:26

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวจินดารัตน์ มีสงเปือย รหัส108

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวจินดารัตน์ มีสงเปือย รหัส108

บนั ทกึ การเรยี นรู้

เสนอ
รองศาสตราจารย์ ดร. สาราญ กาจัดภยั

โดย
นางสาวจินดารตั น์ มสี งเปอื ย
รหัสนักศกึ ษา 61101201108
นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าการสอนภาษาไทย ชน้ั ปที ่ี 3

วชิ าการวิจยั เพือ่ การเรียนรู้
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563



นางสาวจนิ ดารัตน์ มีสงเปอื ย



“ “

สมุดบันทึกการเรียนรู้เล่มนี้ ดิฉัน
นางสาวจินดารัตน์ มีสงเปือย จัดทาขึ้น
เพื่อเสนอข้อมูลการเรียนแต่ละสัปดาห์
ซ่ึงประกอบไปด้วยเนื้อหาที่เรียนแต่ละ
ชั่วโมง แผนผงั ความคิดที่สรุปเน้ือหาตาม
ความเขา้ ใจ

สมุดบันทึกการเรียนรู้เล่มนี้สาเร็จ
ได้ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์สาราญ
กาจัดภัย ท่ีให้คาปรึกษาที่ดี ให้การ
สนับสนุนและคอยให้กาลังใจตลอดมา
รวมถึงเพื่อน ๆ ที่ให้กาลังใจและให้
คาปรึกษาท่ีดีในการจัดทาสมุดบันทึก
การเรียนรู้ หากสมุดบันทึกการเรียนรู้เล่ม
นี้มีข้อบกพร่องประการใดก็ขออภัยมา
ณ ท่ีน้ี

นางสาวจนิ ดารตั น์ มสี งเปอื ย
ผจู้ ดั ทา





เรื่อง หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
ประวตั สิ ว่ นตัว 1
สัปดาห์ท่ี 1 แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรียนรู้ 2
สปั ดาหท์ ี่ 2 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกยี่ วกับการวจิ ยั 4
สัปดาหท์ ี่ 3 ตัวแปรและข้อมลู 7
สัปดาห์ท่ี 4 นาเสนองานประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 10
สัปดาหท์ ี่ 5 สมมติฐาน 13
สัปดาห์ท่ี 6 นาเสนองานการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 15
สัปดาหท์ ี่ 7 เค้าโครงวิจัย บทท่ี 1 17
สัปดาห์ท่ี 8 การตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือวจิ ัย 19
สปั ดาหท์ ี่ 9 เค้าโครงวิจยั บทที่ 2 21
สปั ดาห์ท่ี 10 เค้าโครงวิจยั บทที่ 3 23
สปั ดาห์ท่ี 11 เคา้ โครงวิจัยบทท่ี 4 25
สปั ดาห์ท่ี 12 การทดสอบ t-test 27
สปั ดาหท์ ่ี 13 เค้าโครงวจิ ัยบทท่ี 5 29
สัปดาหท์ ่ี 14 การวิเคราะห์ข้อสอบ SPSS 31
สัปดาหท์ ่ี 15 วิจยั ในช้นั เรยี น CAR 33
สัปดาห์ที่ 16 สอบปลายภาค 35
ภาคผนวก ค
ความรสู้ ึกท่ีมตี ่อครูผู้สอน 36
สัญญาการเรียน 37
38
บันทึกผลการร่วมกิจกรรมในชนั้ เรียน


ประวตั ิสว่ นตวั

ช่ือ : นางสาวจินดารัตน์
นามสกุล : มีสงเปอื ย
ชือ่ เล่น : จอยจิน
เกิดวนั ท่ี : 09/09/1999
หมเู่ ลือด : โอ
ศาสนา : พุทธ
ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาอยู่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
คณะครศุ าสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ชั้นปที ี่ 3
ช่องทางการตดิ ตอ่ : จอย จนิ
JJMEE__
09-8875-8988
[email protected]

1

สปั ดาหท์ ่ีแนวคดิ เกยี่ วกบั การเรยี นรู้ 1

หมายถึง “การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีค่อนข้างถาวรอันเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์”
จากความหมายน้ี จะเหน็ วา่ ประกอบดว้ ยคาสาคัญ 4 คาทเี่ ก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ได้แก่
1) การเปล่ียนแปลง การทาให้มีลกั ษณะแตกต่างไปจากเดิม
2) พฤตกิ รรมกริ ยิ าอาการต่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้ กับมนุษยเ์ มอ่ื ไดเ้ ผชิญกับสิ่งเร้า
3) คอ่ นขา้ งถาวรมคี วามคงทนหรอื คงอยคู่ อ่ นขา้ งยาวนาน
4) การได้รับประสบการณ์ การได้เผชิญเหตุการณ์ในธรรมชาติรอบกายหรือการได้กระทาส่ิง
ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองผ่านประสาทสมั ผัสทงั้ 5

พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ด้านพทุ ธิพิสัย 1
ความสามารถทางสมอง หรอื สติปัญญา โดย Bloom ได้
จาแนกเปน็ 6 ระดบั
1. ความรู้ (Knowledge) หรือความจา

2. ความเข้าใจ (Comprehension) พฤติกรรมการเรยี นรู้ดา้ นจติ พิสยั
3. การนาไปใช้ (Application)
เปน็ พฤตกิ รรมที่เก่ยี วขอ้ งกบั ความรูส้ กึ
4. การวเิ คราะห์ (Analysis)
ความเชือ่ เจตคติ ค่านิยม
5. การสงั เคราะห์ (Synthesis)
1. ขัน้ รับรู้ (Receiving) เป็นข้นั ทบี่ คุ คล
26. การประเมินค่า (Evaluation) รบั รู้สง่ิ เร้า
2. ขนั้ ตอบสนอง (Responding)
3. ขัน้ เหน็ คณุ คา่ หรอื สรา้ งคา่ นิยม

พฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นทักษะพิสัย (Valuing)
1. รับรแู้ ละเลยี นแบบ (Imitation) 4. ขั้นจัดระบบค่านิยม (Organization)
2. ลงมอื ปฏบิ ัตติ ามได้ (Manipulation) 5. ขัน้ สร้างลักษณะนสิ ัยจากคา่ นิยม
3. ลดความผิดพลาดจนสามารถทาไดถ้ กู ต้อง (Characterization)

(Precision) 3
4. ปฏิบตั ไิ ด้อย่างชดั เจนและต่อเนื่อง (Articulation)
5. ปฏิบตั ิไดอ้ ย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization)

2

การเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมการเรียนร้ดู า้ นพุทธิพิสยั
พฤติกรรมท่ี ความสามารถทางสมอง หรือสติปัญญา
1. ความรู้ (Knowledge)
คอ่ นข้างถาวรอัน 2. ความเข้าใจ (Comprehension)
เน่อื งมาจากการ 3. การนาไปใช้ (Application)
ไดร้ บั ประสบการณ์ 4. การวเิ คราะห์ (Analysis)
5. การสงั เคราะห์ (Synthesis)
6. การประเมนิ ค่า (Evaluation)

การเรยี นร(ู้ Learning)

พฤตกิ รรมการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะพสิ ัย พฤติกรรมการเรยี นร้ดู า้ นจิตพสิ ยั
1. รบั รูแ้ ละเลยี นแบบ (Imitation) เปน็ พฤตกิ รรมที่เกีย่ วขอ้ งกบั
2. ลงมอื ปฏิบตั ิตามได้ (Manipulation) ความรู้สึก ความเชื่อ เจตคติ คา่ นิยม
3. ลดความผดิ พลาดจนสามารถทาได้ 1. ข้ันรบั รู้ (Receiving) เปน็ ขน้ั ที่
ถูกต้อง (Precision) บุคคลรบั รู้สิ่งเรา้
4. ปฏิบัติได้อย่างชัดเจนและตอ่ เนื่อง 2. ขน้ั ตอบสนอง (Responding)
(Articulation) 3. ข้ันเห็นคุณค่า หรือสรา้ งคา่ นิยม
5. ปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งเป็นธรรมชาติ (Valuing)
(Naturalization) 4. ขั้นจัดระบบค่านิยม
(Organization)
5. ขน้ั สร้างลกั ษณะนิสัยจกค่านิยม
(Characterization)

3

ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั การวจิ ยั

สัปดาหท์ ี่ 2การวิจัย
เปน็ การค้นหาความจรงิ
(Research) ในประเด็นทีส่ นใจศกึ ษา

“ความจริง” คอื ส่ิงท่ี การดาเนินการวจิ ัย

เชอื่ ว่าจรงิ ณ เวลานัน้ ๆ มีขนั้ ตอนดงั นี้
(1) ความจรงิ นยั ทว่ั ไป เปน็ ความ (1) ตระหนักถงึ ปญั หาที่ต้องการทาวิจยั
จรงิ ท่สี ามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่าง (2) กาหนดขอบเขตของปัญหาให้ชัดเจน
กวา้ งขวาง (3) ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
(2) ความจริงยืดหยุ่นตามบรบิ ท (4) ต้งั สมมตุ ิฐานของการวจิ ยั (ถา้ จาเป็น)
เป็นความจริงทใี่ ช้ได้เฉพาะบริบท (5) เขยี นโครงร่างการวิจยั
ที่ศกึ ษา (6) สร้างหรือเลอื กเครื่องมอื เก็บรวบรวมข้อมลู
(7) ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู
การค้นหาความจริง (8) ดาเนนิ การจัดกระทาขอ้ มูล หรือวิเคราะห์
ข้อมูล
จาแนกออกเปน็ 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ (9) สรปุ ผลการวิจัย และเขียนรายงานวิจัย
(1) วธิ ีนิรนัย (Deductive) เปน็ การนาความรู้ (10) เผยแพร่ผลงานวจิ ัย (ถา้ ต้องการ)
พืน้ ฐานซ่งึ อาจเป็นกฎ ข้อตกลง ซง่ึ เป็นสง่ิ ทร่ี ู้
มาก่อน และยอมรับว่าเปน็ ความจริงเพ่อื หา เป้าหมายของการวิจัย
เหตผุ ลนาไปสขู่ ้อสรปุ
(2) วิธีอปุ นัย (Inductive) เป็นวิธีการคน้ หา (1)เป้าหมายเพื่อบรรยายหรอื พรรณนา
ความจริงผ่านประสบการณโ์ ดยใชก้ ารสังเกต (Description)
ด้วยประสาทสัมผสั ทงั้ ห้า (2)เปา้ หมายเพอื่ อธิบาย (Explanation)
(3) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เปน็ วิธีการท่ี (3)เป้าหมายเพอื่ ทานาย (Prediction)
นาเอากระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ใน (4)เป้าหมายเพ่อื ควบคุม (Control)
คอื กาหนดปญั หา ตัง้ สมมุติฐาน ลงมือเก็บ
รวบรวมข้อมลู นาข้อมูลที่ได้มาวเิ คราะห์
สรปุ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล

4

สปั ดาหท์ ี่ 2ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั การวจิ ยั
(ตอ่ )
นกั วจิ ยั

หมายถงึ ผ้ทู ด่ี าเนนิ การค้นควา้ หาความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ

จรรยาบรรณ

หมายถึง หลักความประพฤตอิ ันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและ
จริยธรรมในการประกอบอาชพี

จรรยาบรรณนักวิจยั

หมายถึง หลักเกณฑค์ วรประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ องนักวจิ ยั ท่วั ไป เพือ่ ให้การ
ดาเนนิ งานวิจยั ต้งั อยบู่ นพืน้ ฐานของจริยธรรมและหลักวชิ าการทเ่ี หมาะสม

จรรยาบรรณของนักวิจยั โดย สภาวิจยั แหง่ ชาติ มดี ังน้ี

ข้อ 1 นกั วจิ ัยต้องซื่อสัตย์และมคี ณุ ธรรมในทางวชิ าการและการจดั การ
ข้อ 2 นักวจิ ัยตอ้ งตระหนักถงึ พันธกรณใี นการทาวจิ ยั ตามขอ้ ตกลงท่ีทาไว้กบั
หน่วยงานทสี่ นบั สนนุ การวจิ ัยและตอ่ หนว่ ยงานที่ตนสังกดั
ขอ้ 3 นักวจิ ยั ต้องมีพืน้ ฐานความรู้ในสาขาวชิ าการทท่ี าวจิ ัย
ข้อ 4 นกั วิจัยตอ้ งมคี วามรับผิดชอบตอ่ สงิ่ ท่ีศกึ ษาวจิ ยั ไม่ว่าเป็นสิง่ ทมี่ ีชีวติ หรอื ไม่มี
ชวี ิต
ขอ้ 5 นกั วจิ ัยต้องเคารพศกั ดศิ์ รี และสิทธิของมนุษยท์ ่ใี ชเ้ ป็นตัวอย่างในการวจิ ยั
ขอ้ 6 นักวิจยั ต้องมีอสิ ระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทกุ ขั้นตอนของการทา
วิจัย
ข้อ 7 นกั วิจัยพงึ นาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชนใ์ นทางท่ชี อบ
ข้อ 8 นกั วจิ ัยพงึ เคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผ้อู ื่น
ข้อ 9 นกั วิจัยพงึ มคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคมทกุ ระดับ

5

ตระหนักถงึ ปัญหา บรรยายหรือพรรณนา
เพื่ออธิบาย
กาหนดขอบเขตของปญั หา เพอ่ื ทานาย
ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง เพ่อื ควบคุม
ตั้งสมมุตฐิ าน
เขียนโครงรา่ งการวิจยั
เลอื กเครอ่ื งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
เก็บรวบรวมข้อมูล
วเิ คราะหข์ ้อมลู
สรุปผลการวิจยั
เผยแพร่ผลงานวจิ ยั

การดาเนนิ การวจิ ยั เปา้ หมายของการวิจัย

ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกับการวจิ ยั ความจริง

การคน้ หาความจริง ความจรงิ นัยทั่วไป
เป็นความจริงท่ี
การวจิ ยั วธิ ีนิรนัย สามารถนาไปใชไ้ ด้
(Research) รูม้ าก่อน อย่างกว้างขวาง

เป็นการค้นหา วธิ อี ุปนัย ความจรงิ ยดื หยุ่น
ความจรงิ ใชป้ ระสบการณ์ ตามบริบท เป็น
ความจรงิ ทใี่ ช้ได้
ในประเด็นท่ี วธิ กี ารทาง เฉพาะบรบิ ทที่
สนใจศึกษา วทิ ยาศาสตร์ ศกึ ษา

6

ตัวแปรและขอ้ มลู สัปดาหท์ ี่ 3

ความหมายของตัวแปร

ตวั แปร (Variable) หมายถงึ คณุ ลักษณะของสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีสามารถแปรเปลย่ี นค่า
ไดต้ ง้ั แต่สองค่าขึน้ ไป ไม่วา่ จะเป็นค่าท่ีอยใู่ นรูปของปริมาณ หรอื คณุ ภาพ เชน่ ตัวแปร
"เพศ" แปรค่าได้ 2 ค่า คอื ชาย และหญิง เปน็ ต้น

ประเภทของตัวแปร

1. แบง่ ตามลักษณะของขอ้ มลู 2. แบ่งตามความเป็นเหตุ
เป็นผลตอ่ กัน แบ่งเป็น 2
แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ
1.1 ตัวแปรเชงิ ปริมาณ ประเภท
(Qualitative variable) คอื ตวั แปร 2.1 ตวั แปรอิสระ(Independent
ทีม่ ีการแปรคา่ ตา่ ง ๆ เปน็ จานวน variable) หรือ "ตวั แปรต้น"
หรือตัวเลข ตัวแปรเชิงปรมิ าณยงั 2.2 ตัวแปรตาม (Dependent
แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ ตัวแปร variable)ยกตวั อยา่ งงานวิจยั
ตอ่ เนอ่ื ง (Continuous variable) เรื่อง "ปจั จัยสาคญั ทม่ี ผี ลตอ่
และตัวแปรไม่ตอ่ เนือ่ ง (Discrete ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวชิ า
variable) คณติ ศาสตร์ของนักเรียนระดบั
1.2 ตวั แปรเชิงคุณภาพ มัธยมศกึ ษา" ตัวแปรตาม คอื
(Quantitative variable) คือตวั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ า
แปรท่ีมกี ารแปรค่าต่าง ๆ ได้ คณติ ศาสตร์

3. แบ่งตามประเภทของการวิจัย เช่น ถ้าเปน็ "การวิจัยเชิงทานาย (Predictive
research)" มี 2 ประเภท
3.1 ถ้าเปน็ การวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental ตวั แปรเกณฑ์ (Criteria variable)
research) แบ่งตัวแปรออกเปน็ 5 ประเภท ตวั แปรเกณฑน์ ้เี ทยี บได้กบั "ตัวแปรตาม"
ได้แก่ ตวั แปรทานายหรือตัวแปรพยากรณ์
3.1.1 ตัวแปรจัดกระทา (Treatment variable) (Predictive variable)
3.1.2 ตวั แปรตาม (Dependent variable)
3.1.3 ตวั แปรแทรกซอ้ น (Extraneous variable)
3.1.4 ตวั แปรสอดแทรก (Intervening variable)
3.1.5 ตวั แปรกลาง (Moderator variable)

7

ตัวแปรและขอ้ มูล สัปดาห์ที่ 3
ความหมายของข้อมูล (ตอ่ )

ขอ้ มูลคือ ข้อเท็จจรงิ หรือรายละเอยี ดของสง่ิ ตา่ ง ๆ ที่เกบ็ รวบรวมมาจากการ
นบั การวัดด้วยแบบทดสอบหรอื แบบสอบถาม การสงั เกต ฯลฯ ซง่ึ อาจเปน็ ตวั เลขหรือ
ไมใ่ ชต่ วั เลข ทสี่ ามารถนามาวเิ คราะห์เพอื่ หาคาตอบในส่ิงทผ่ี วู้ ิจัยตอ้ งการศกึ ษา
ประเภทของข้อมูล

ประเภทของข้อมูล

1. แบง่ ตามลกั ษณะข้อมลู แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ 2. แบง่ ตามแหล่งทม่ี าของข้อมลู หรือวธิ ีการ
1.1 ขอ้ มลู เชิงปริมาณ (Quantitative data) เปน็ ขอ้ มลู ทว่ี ดั เก็บรวบรวมขอ้ มูล แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ
คา่ ออกมาเป็นตัวเลขได้วา่ มีค่ามากหรือนอ้ ยเพียงใด 2.1 ข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary data) เป็นขอ้ มูลท่ี
แบง่ เป็น 2 แบบ ไดแ้ ก่ ได้มาโดยผ้วู ิจัยเกบ็ รวบรวมด้วยตนเองจากตน้
1.1.1 ข้อมลู แบบตอ่ เนื่อง (Continuous data) เปน็ ขอ้ มูลท่มี ี ตอหรอื แหลง่ กาเนิดของขอ้ มูลโดยตรง ข้อมูล
ค่าไดท้ ุกค่าในชว่ งทีก่ าหนด เชน่ ข้อมลู เกย่ี วกบั นา้ หนัก ประเภทนี้โดยมากไดม้ าจากการสัมภาษณ์
1.1.2 ขอ้ มลู แบบไม่ตอ่ เนอื่ ง (Discrete data) เปน็ ข้อมูลท่มี ี ทดลอง การสารวจ หรือการเกบ็ รวบรวมด้วย
ค่าเป็นไดเ้ ฉพาะจานวนเต็ม เชน่ จานวนคน สัตว์ และ แบบสอบถามตา่ ง ๆ
สง่ิ ของต่าง ๆ 2.2 ข้อมลู ทุติยภมู ิ (Secondary data) เปน็
1.2 ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ (Quantitative data) เป็นขอ้ มลู ท่ีไม่ ข้อมลู ที่ผู้วิจัยไมไ่ ด้เก็บรวบรวมจากแหลง่ กาเนดิ
สามารถระบุได้ว่ามากหรอื น้อย มักจะอยใู่ นรูปข้อความ เช่น โดยตรง แต่ได้มาโดยอา้ งองิ หรือคัดลอกจาก
ข้อมลู เกย่ี วกับ เพศ ลกั ษณะพฤตกิ รรมท่แี สดงออก สผี ม ผอู้ ่นื ท่ไี ด้เก็บรวบรวมไว้
เบอร์โทรศพั ท์ ฯลฯ

3. แบง่ ตามระดับของการวดั แบ่งเปน็ 4 ประเภท
3.1 ข้อมลู ระดับนามบญั ญตั ิ (Nominal scale) คือข้อมูลท่มี ีลักษณะเปน็ เพยี งการจัดประเภท (Categorizes)
ของคน สตั ว์ สิ่งของ เหตุการณ์หรือเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ออกเปน็ กลุ่มหรือพวก โดยแตล่ ะกล่มุ หรอื แตล่ ะพวกมี
ความเทา่ เทยี มกนั เชน่ "เพศ" จดั ประเภทเปน็ กลุ่มชาย และหญิง
3.2 ข้อมลู ระดบั เรียงอนั ดบั (Ordinal scale) คอื ข้อมลู ทีม่ ลี ักษณะเปน็ การจัดประเภท และจดั ลาดบั
(Order) หรือตาแหนง่ (Rank)
3.3 ข้อมูลระดบั อนั ตรภาค (Interval scale) คือข้อมูลทม่ี ีลักษณะเปน็ เชิงปริมาณ สามารถวัดคา่ เป็นตวั เลขที่
มีคณุ สมบตั ิสาคัญ 2 ประการ คอื (1) เรยี งลาดบั ความมากนอ้ ยได้ และ (2) ชว่ งห่างหรือความแตกต่าง
ระหวา่ งตัวเลขแตล่ ะค่าเท่ากัน
3.4 ขอ้ มลู ระดับอตั ราส่วน (Ratio scale) คอื ข้อมูลทม่ี ลี ักษณะเป็นเชิงปริมาณสามารถวัดค่าเปน็ ตวั เลขทม่ี ี
คุณสมบัตสิ าคัญครบ 3 ประการ คือ (1) เรียงลาดับความมากน้อยได้ (2) ช่วงหา่ งหรือความแตกต่างระหวา่ ง
ตวั เลขแต่ละคา่ เท่ากัน และ (3) มีจุดเริ่มตน้ จากศนู ย์ท่ีแท้จรงิ โดยที่ ศูนย์แท้ คือจดุ ทค่ี ่าของส่ิงทว่ี ัดนนั้ ไมม่ ีคา่
อยู่เลยจรงิ ๆ

8

1. แบ่งตามลกั ษณะของ 2. แบง่ ตามความเปน็ เหตเุ ปน็
ขอ้ มูล แบ่งได้ 2 ประเภท ผลตอ่ กนั แบง่ เปน็ 2 ประเภท
1.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ 2.1 ตวั แปรอิสระ
1.2 ตัวแปรเชิงคณุ ภาพ 2.2 ตวั แปรตาม

ตัวแปร (Variable) 3. แบง่ ตามประเภทของการวิจยั
หมายถงึ คุณลักษณะ ตวั แปรจัดกระทา
ของสิ่งต่าง ๆ ที่ ตัวแปรตาม
สามารถแปรเปลย่ี น ตวั แปรแทรกซ้อน
ค่าไดต้ งั้ แตส่ องคา่ ข้ึน ตวั แปรสอดแทรก
ไป ไม่วา่ จะเปน็ ค่าท่ี ตัวแปรกลาง
อยใู่ นรปู ของปริมาณ
หรือคุณภาพ ประเภทของตัวแปร

ตวั แปร ตัวแปรและขอ้ มลู ขอ้ มูล

ประเภทของขอ้ มูล ขอ้ มลู คอื ขอ้ เท็จจริงหรอื
รายละเอยี ดของสง่ิ ต่าง ๆ ที่
1. แบ่งตามลักษณะขอ้ มูล เกบ็ รวบรวมมาจากการนับ
1.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ การวดั ด้วแบบทดสอบหรือ
1.2 ขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพ แบบสอบถาม การสงั เกต

2. แบง่ ตามแหลง่ ท่ีมาของขอ้ มูลหรือ 3. แบ่งตามระดบั ของการวัด แบ่งเปน็ 4 ประเภท
วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.1 ข้อมลู ระดับนามบัญญัติ
2.1 ขอ้ มูลปฐมภูมิ 3.2 ขอ้ มลู ระดบั เรียงอันดับ
2.2 ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ 3.3 ขอ้ มูลระดับอันตรภาค
3.4 ขอ้ มูลระดบั อตั ราส่วน

9

สัปดาห์ท่ี 4นาเสนองานประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง

ประชากร กลุ่มตวั อย่าง

ในทางสถิติคาวา่ “ประชากร กลมุ่ ตัวอยา่ ง (Sample) หมายถงึ ส่วนหน่งึ ของ
(Population)” หมายถึง ประชากรทถี่ ูกเลือกขน้ึ มาดว้ ยเทคนิคการเลือกกลุม่
ทง้ั หมดของทกุ หนว่ ยของส่งิ ท่ี ตวั อยา่ งทเ่ี หมาะสม กลมุ่ ตวั อย่าง “ตอ้ งเป็นตวั แทนท่ดี ี
เราสนใจศกึ ษา ซง่ึ หน่วยตา่ ง ของประชากร”
ๆ อาจเป็น บุคคล องคก์ ร
สตั ว์ ส่ิงของ ฯลฯ เชน่ การกาหนดขนาดและ
ถา้ เราต้องการศึกษาสภาพ เลือกตัวอย่าง
ปัจจุบันด้านความฉลาดทาง
อารมณ์ (EQ) ของนกั ศกึ ษา
สถาบันราชภัฏสกลนคร
ประชากรก็คอื “นกั ศกึ ษา
สถาบันราชภฏั สกลนครทุก
ระดบั ทุกชั้นปี

การกาหนดขนาดตวั อย่าง

เหตุผลของการเลือกตวั อยา่ ง การกาหนดขนาดตวั อย่าง (Sample size)
เป็นการประมาณว่าเรอื่ งท่ตี อ้ งการศึกษา
ควรใชก้ ลุ่มตัวอยา่ งขนาดเท่าใด จึงจะ
สามารถเป็นตวั แทนของประชากรกลมุ่ ใหญ่
ได้เหมาะสม

1. ประหยดั คา่ ใช้จา่ ย
2. ประหยัดเวลาและแรงงาน
3. สะดวกในการปฏบิ ัติ และสามารถปฏิบตั ิจรงิ ได้
4. มคี วามถกู ต้องแมน่ ยาและเชอ่ื ถือไดม้ ากกว่า
ศึกษาท้งั หมดของประชากร
5. สามารถศึกษาขอ้ มูลได้กวา้ งขวางและลึกซ้ึง

10

สัปดาห์ท่ี 4นาเสนองานประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
(ตอ่ )
การเลือกกล่มุ ตวั อยา่ ง

1. การเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งโดยใช้หลกั ความน่าจะเปน็ เปน็ 2. วธิ กี ารเลอื กตวั อย่างโดยไม่ใช้
การเลือกตวั อย่างจากหน่วยทกุ หนว่ ยในประชากรดว้ ยเทคนคิ หลกั ความน่าจะเป็น เปน็ วิธีการ
การสุม่ ตวั อยา่ ง (Random sampling) ตามขนาดตวั อย่างท่ี เลือกตัวอย่างทีผ่ ้วู จิ ัยไมไ่ ด้คานึงถึง
กาหนดไว้ ความนา่ จะเปน็ ของประชากรแตล่ ะ
1.1 การเลอื กตัวอยา่ งโดยการสุ่มอยา่ งงา่ ย (Simple random หน่วยทจี่ ะได้รบั การเลือก
sampling)เปน็ การเลอื กตวั อยา่ งที่ให้แต่ละหนว่ ยในประชากรมี 2.1 การเลอื กตวั อยา่ งแบบตาม
โอกาสถูกเลือกเท่า ๆ กันในแตล่ ะคร้ังของการเลอื ก สะดวก (Convenience sampling)
1.2 การเลือกตัวอยา่ งโดยการส่มุ เป็นระบบ (Systematic หรอื การเลือกตวั อยา่ งโดยบังเอญิ
random sampling) เป็นการเลือกตัวอยา่ งจากหนว่ ยประชากร (Accidental sampling) เป็นวิธกี าร
ทมี่ ีคุณลักษณะของสง่ิ ทผี่ ู้วจิ ยั สนใจศึกษาเหมือน ๆ กนั หรือ เลอื กตวั อยา่ งทไ่ี มม่ หี ลักเกณฑ์นน่ั คอื
ใกลเ้ คยี งกัน แบบสุ่มเป็นช่วง ๆ โดยท่ีความกวา้ งของช่วงการสุ่ม เลือกใครหรือหนว่ ยตัวอย่างใดก็ได้
(Sampling interval) จะต้องเท่ากนั 2.2 การเลอื กตัวอย่างแบบโควตา
1.3 การเลอื กตวั อย่างโดยการสุ่มแบบแบง่ ช้ัน (Stratified (Quota sampling)เปน็ การเลือก
random sampling)เปน็ การเลอื กตวั อย่างท่มี กี ารจดั ประชากร ตวั อยา่ งทพี่ บบ่อยทสี่ ดุ ในการเลือก
ออกเป็นพวกหรอื ชน้ั (Stratum)โดยยดึ หลกั ว่าภายในชน้ั ตวั อย่างโดยไม่ใชค้ วามนา่ จะเป็น
เดยี วกนั จะต้องมคี ณุ ลกั ษณะท่ีตอ้ งการศกึ ษาเหมือน ๆ กันหรอื 2.3 การเลอื กตัวอย่างแบบเจาะจง
ใกลเ้ คียงกันมากท่สี ดุ (Purposive sampling) หรอื บางตารา
1.4 การเลอื กตวั อย่างโดยการส่มุ แบบกลุ่ม (Cluster random เรียกวา่ การเลอื กตวั อย่างแบบใช้
sampling) เปน็ การเลือกตัวอยา่ งแบบทป่ี ระชากรอยรู่ วมกันเปน็ วิจารณญาณ (Judgment sampling)
กลุ่ม ๆ (Cluster) เปน็ การเลอื กตวั อย่างโดยใชด้ ลุ พนิ ิจ
1.5 การเลอื กตวั อย่างโดยการสุ่มแบบหลายขน้ั ตอน (Multi- และการตัดสนิ ใจ
stage random sampling)หรือบางตาราใชค้ าว่า “การเลือก 2.4 การเลือกตัวอย่างแบบลกู โซ่
ตัวอยา่ งแบบผสมผสานเทคนิควธิ ี (Combined-strategy (Snowball sampling) วิธกี ารเลือก
sampling)” การเลอื กตัวอยา่ งแบบน้ี หมายความถึงทัง้ การเลอื ก ตวั อยา่ งนี้ จะเร่ิมตน้ จากการค้นหา
ตวั อยา่ งโดยใช้เทคนคิ การสุม่ เกนิ 1 เทคนคิ หนว่ ยตัวอย่างมาบางส่วน

11

1. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลกั ความน่าจะเปน็ 2. วิธีการเลอื กตัวอย่างโดยไม่ใชห้ ลกั
1.1 การเลือกตัวอยา่ งโดยการสมุ่ อยา่ งในงา่ ย ความน่าจะเป็น
1.2 การเลอื กตัวอย่างโดยการสุ่มเป็นระบบ 2.1 การเลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก
1.3 การเลือกตัวอย่างโดยการสุม่ แบบแบง่ ชน้ั 2.2 การเลอื กตัวอยา่ งแบบโควตา
1.4 การเลอื กตวั อย่างโดยการส่มุ แบบกลุ่ม 2.3 การเลือกตวั อย่างแบบเจาะจง 2.4
1.5 การเลือกตวั อยา่ งโดยการสุ่มแบบหลาย การเลอื กตัวอยา่ งแบบลกู โซ่

ประชากร หมายถึง การเลือกกล่มุ ตวั อย่าง
ทง้ั หมดของทุกหน่วย
ของสงิ่ ท่ีเราสนใจ
ศกึ ษา

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

กลุม่ ตวั อยา่ ง หมายถึง เหตุผลของการเลือกตัวอยา่ ง
ส่วนหน่ึงของประชากรที่
ถกู เลือกขน้ึ มา กลุม่ 1. ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย
ตวั อย่าง “ต้องเป็นตัว 2. ประหยดั เวลาและแรงงาน
แทนที่ดขี องประชากร” 3. สะดวกในการปฏบิ ตั ิ และสามารถปฏิบัตจิ ริงได้
4. มคี วามถูกต้องแม่นยาและเช่อื ถอื ไดม้ ากกว่า
ศึกษาท้งั หมดของประชากร
5. สามารถศกึ ษาขอ้ มลู ไดก้ วา้ งขวางและลึกซ้ึง

12

สมมตฐิ าน สัปดาหท์ ่ี 5

สมมตฐิ านทางสถติ ิ สมมติฐานทางการวิจยั

สมมตฐิ านทางสถติ ิ (Statistical สมมติฐานทางการวิจัย (Research
hypothesis) เป็นสมมตุ ิฐานที่ผวู้ จิ ัยกาหนด hypothesis) เปน็ คาตอบของปัญหาการ
ขึ้นสาาหรับใช้เพอื่ การทดสอบตาม วิจยั ท่ีผวู้ ิจยั คาดคะเนไวล้ ว่ งหน้าอย่างมี
กระบวนการทางสถติ ิ มี 2 แบบ คือ เหตผุ ล มี 2 แบบ คือ

(1) สมมตุ ิฐานกลาง (Null hypothesis) 1. แบบไม่มีทิศทาง เปน็ การเขยี น
ทีไ่ ม่ไดร้ ะบทุ ิศทางของความสัมพันธข์ องตัว
เขยี นแทนด้วย 0ซง่ึ เขยี นเปน็ ขอ้ ความหรอื แปรหรือทศิ ทางของความแตกตา่ งเพยี งแต่
ประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตรท์ ่มี ี ระบุว่ามีความสมั พันธ์กันหรอื แตกต่างกนั
ลักษณะเป็นกลางเก่ียวกับค่าพารามิเตอร์ของ เทา่ น้นั เช่น นกั เรียนชายและนักเรียนหญงิ
ประชากร ไม่มีความแตกตา่ งหรือไมม่ ี มเี จตคตติ อ่ การเรยี นภาษาอังกฤษแตกต่าง
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปร กัน

(2) สมมตุ ิฐานทางเลอื ก (Alternative 2. แบบมีทิศทาง เป็นการเขยี น
โดยระบทุ ิศทางของความสมั พันธ์ของตัว
hypothesis) เขียนแทนดว้ ย 1ซง่ึ เขยี นเปน็ แปรว่าสมั พนั ธใ์ นทางใด (สมั พนั ธ์กนั
ข้อความหรือประโยคสัญลกั ษณท์ าง ทางบวก หรือทางลบ) เชน่ นักเรยี นทเี่ รยี น
คณิตศาสตร์เก่ยี วกับค่าพารามิเตอร์ของ ด้วยวธิ ีสอน A มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ประชากร โดยต้องเขยี นใหส้ อดคล้องกบั มากกวา่ นักเรยี นที่เรียนด้วยวิธีสอน B
สมมตฐิ านทางการวิจยั ทตี่ ้งั ไว้

การทดสอบสมมตฐิ าน

(1) ปฏเิ สธ 0 แลว้ ไปยอมรับ 1 แทน ซึ่งกรณนี ีต้ อ้ งมีความผิดพลาดอัน
เนอื่ งมาจากปฏิเสธ 0ท้ัง ๆ ที่ความเปน็ จริง 0ถกู ตอ้ งอยู่แล้ว (Type I error) ไม่เกนิ ระดับ
นยั สาคญั ทางสถติ ิ (Level of significance หรือแทนดว้ ย α) ท่ีกาหนดไว้ ซ่ึงโดยทัว่ ไปทาง
การศึกษามักกาหนดระดับนัยสาคญั ไว้ท่ี .05หรอื .01ดังนั้น ถา้ ความผิดพลาดอัน
เน่ืองมาจากปฏิเสธ 0ท้งั ๆ ท่ี 0มันถกู ต้องอยูแ่ ล้วมคี า่ นอ้ ยกว่าหรือเท่ากับ αผวู้ ิจยั กจ็ ะ
ตดั สนิ ใจปฏเิ สธ 0แลว้ ไปยอมรับ 1แทน

(2) ยอมรบั 0ซึ่งกรณีทีผ่ ลการทดสอบสมมตฐิ านพบว่า ความผดิ พลาดอัน
เนือ่ งมาจากปฏิเสธ 0ทง้ั ๆ ท่ี 0ถูกตอ้ งอยูแ่ ลว้ มคี ่ามากกวา่ ระดับนยั สาคัญ (α)ผ้วู ิจยั ก็
จะตดั สินใจยอมรับ 0

13

สมมตฐิ าน

สมมตฐิ านทางสถติ ิ สมมตฐิ านทางวจิ ยั

(1) สมมตุ ิฐานกลาง (Null 1. แบบไม่มที ศิ ทาง
hypothesis) เขียนแทนดว้ ย เปน็ การเขยี นทไี่ ม่ไดร้ ะบุ
ทศิ ทางของความสัมพันธ์
0ซงึ่ เขียนเป็นขอ้ ความหรอื ของตัวแปร
ประโยคสญั ลกั ษณท์ าง
คณติ ศาสตรท์ ่มี ีลกั ษณะเป็น
กลางเก่ียวกบั คา่ พารามิเตอร์
ของประชากร

2) สมมุตฐิ านทางเลือก 2. แบบมที ิศทาง
(Alternative hypothesis) เป็นการเขยี นโดย
ระบทุ ศิ ทางของ
เขียนแทนด้วย 1ซึ่งเขยี น ความสมั พนั ธข์ องตวั
เป็นขอ้ ความหรอื ประโยค แปรว่าสัมพันธ์
สัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในทางใด (สมั พันธ์
เกย่ี วกบั คา่ พารามิเตอรข์ อง กันทางบวก หรือ
ประชากร ทางลบ)

14

นาเสนองานการเก็บรวบรวมขอ้ มูล สัปดาหท์ ่ี 6

วิจัยเรือ่ งหนงึ่ ๆ จะใชเ้ ครือ่ งมอื ชนดิ ใด
ย่อมข้นึ อยู่กับลักษณะของขอ้ มลู ที่
ต้องการศึกษา

แบบทดสอบ การประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิ

โดยท่ัวไปแบบทดสอบ (Test) การประเมนิ การปฏิบตั ิ (Performance
จะใชว้ ดั ความสามารถของบุคคลในด้าน assessment) เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม
สติปญั ญา (Cognitive) โดยสรา้ งเปน็ ชดุ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั พฤติกรรมการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น
ของข้อคาถามต่าง ๆ เกี่ยวกบั ตวั แปรที่ ผา่ นการลงมือปฏิบตั จิ ริงตามภาระงานท่ีได้
ต้องการศึกษา เพ่อื กระตนุ้ ใหก้ ลุ่ม ออกแบบไว้ แล้วนาขอ้ มูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ให้ได้
ตวั อยา่ งหรือผูส้ อบแสดงพฤติกรรม สารสนเทศสาหรับพัฒนาผูเ้ รียน หรอื ตัดสนิ
ตอบสนองอย่างใดอยา่ งหน่งึ คณุ ภาพการเรียนรู้

การสังเกต แบบสอบถาม

การสงั เกต (Observation) แบบสอบถาม เปน็ ชดุ ของขอ้ คาถามท่ี
เคร่อื งมือชนดิ น้ีใช้ตวั บคุ คล (ผสู้ ังเกต) สร้างขน้ึ ในรูปของเอกสารในลักษณะท่ี
ทาหน้าทีใ่ นการวัดโดยใช้ประสาทสัมผัส กาหนดและไมไ่ ดก้ าหนดคาตอบ เพ่อื ใหผ้ ตู้ อบ
ทางการได้เหน็ และได้ยนิ เปน็ สาคญั ไดอ้ า่ นแล้วตัดสินใจเลือกหรือเขียนคาตอบ
ตามคาช้ีแจงท่ีระบุไว้

การสัมภาษณ์

การสมั ภาษณ์ (Interview) เป็นการสนทนาอยา่ ง
มีจดุ มุ่งหมายระหว่างผสู้ ัมภาษณ์ (ผเู้ กบ็ รวบรวมข้อมลู )
กบั ผถู้ กู สมั ภาษณ์ (ผู้ใหข้ ้อมลู ) เกย่ี วกับเรือ่ งทตี่ อ้ งการ
ศกึ ษา และมีการบันทึกขอ้ มลู ต่าง ๆ จากการสมั ภาษณ์

15

การประเมินการปฏบิ ตั ิ เปน็
กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
เก่ยี วกบั พฤตกิ รรมการเรียนรู้
ของผูเ้ รียน ผา่ นการลงมือปฏิบัติ
จรงิ ตามภาระงานทไี่ ดอ้ อกแบบไว้

แบบทดสอบ จะใช้วดั
ความสามารถของบคุ คลใน

ดา้ นสตปิ ัญญา

การสังเกต การเก็บ
เคร่ืองมือชนิดนี้ใช้ รวบรวมขอ้ มูล
ตัวบุคคล (ผูส้ งั เกต)

แบบสอบถาม เปน็ ชดุ ของ
ข้อคาถามท่ีสรา้ งขนึ้ ในรปู
ของเอกสารในลกั ษณะที่
กาหนดและไมไ่ ด้กาหนด

คาตอบ

การสัมภาษณ์ เปน็ การสนทนา
อย่างมีจดุ มุ่งหมายระหว่างผู้สัมภาษณ์
(ผู้เก็บรวบรวมข้อมลู ) กบั ผถู้ ูกสมั ภาษณ์
(ผู้ใหข้ อ้ มูล) เกี่ยวกับเรือ่ งท่ตี อ้ งการศึกษา
และมีการบันทึกข้อมูลตา่ ง ๆ จากการ

สัมภาษณ์

16

สัปดาห์ที่เค้าโครงวิจยั บทที่ 1 7

ภมู ิหลงั

ข้อแนะนา (เขยี นใหเ้ ห็นว่า ทาไมผู้วิจัยจงึ สนใจทาวิจัยเรื่องน้ี มคี วามสาคญั
หรอื ความจาเป็นอยา่ งไร ทาแล้วจะส่งผลดีอยา่ งไร เป็นต้น)
(1) เขยี นประมาณ 3-5หนา้ โดยเขียนเป็นยอ่ หนา้ ตา่ ง ๆ

(2) หนึ่งย่อหน้ามีหนงึ่ ข้อความท่ีเปน็ ใจความหลกั อาจวางไวส้ ว่ นต้นย่อหนา้ หรอื

สว่ นทา้ ย หรอื อย่สู ่วนตน้ แลว้ ยา้ อกี คร้ังในส่วนทา้ ย

(3) ข้อความขยายหรือสนบั สนุนขอ้ ความหลกั อาจเขียนดว้ ยเหตุและผลของผูว้ ิจัย

เอง /หรือหลักการ แนวคดิ ทฤษฎี ตา่ ง ๆ

(4) ยอ่ หน้าต่าง ๆ ต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกันอย่างราบรน่ื เปน็ เหตเุ ปน็ ผลอยา่ ง

ต่อเน่อื ง จนนาสปู่ ระเด็นหรอื หัวขอ้ วิจยั ทผ่ี วู้ จิ ยั สนใจศกึ ษา

ความมุ่งหมายของการวิจัย
คาถามของการวิจยั

ความสาคญั ของการวิจยั
สมมติฐานของการวจิ ยั
ขอบเขตของการวิจยั
กรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั (เขยี นใหเ้ หน็ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์
กันระหว่างประเด็นหรือตัวแปรต่าง ๆ ท่สี นใจศึกษา)

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

17

ความสาคญั ของการวิจัย สมมตฐิ านของการวิจยั

คาถามของการวิจัย ขอบเขตของการวิจยั

ความมุง่ หมายของการวิจัย กรอบแนวคดิ ของการวิจยั (เขยี น
ภูมหิ ลงั ใหเ้ ห็นความเกี่ยวข้องสมั พนั ธก์ นั
ระหวา่ งประเดน็ หรือตัวแปรตา่ ง ๆ

ที่สนใจศกึ ษา)

เค้าโครงวจิ ยั นิยามศพั ท์เฉพาะ

1) เขียนประมาณ 3-5หนา้ โดยเขียนเป็นย่อหน้าตา่ ง ๆ
2) หน่งึ ย่อหนา้ มีหนึ่งขอ้ ความทเี่ ป็นใจความหลัก
3) ขอ้ ความขยายหรือสนบั สนุนขอ้ ความหลกั

4) ย่อหนา้ ต่าง ๆ ตอ้ งสอดคลอ้ งเชื่อมโยงกนั
อยา่ งราบร่ืน เป็นเหตุเป็นผลอยา่ งต่อเนอ่ื ง

18

สปั ดาหท์ ่ี 8การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื วิจยั ก่อนนาไปใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจริงมีความ
จาเป็นอย่างมาก เพราะถา้ เครื่องมอื ที่ใชไ้ มม่ คี ุณภาพหรือมคี ุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ตา่ ข้อมูลที่
รวบรวมได้กจ็ ะไม่ตรงกับความเป็นจริงอันจะนาไปสกู่ ารไดผ้ ลการวิจยั ทไ่ี มถ่ ูกต้องและขาด
ความนา่ เช่อื ถือ

ความเชือ่ ม่ัน (Reliability) เปน็ คณุ สมบัตขิ อง อานาจจาแนก ใชก้ บั เครือ่ งมอื ประเภท
เครือ่ งมือวัดผล หรอื เครื่องมือวิจยั รวมทง้ั ฉบบั แบบทดสอบ และแบบสอบถาม ซ่งึ
ท่ีสามารถวัดเร่ืองราวหรอื คุณลกั ษณะท่ตี อ้ งการ ข้อมลู ที่รวบรวมได้มกั อยใู่ นรปู ข้อมูลเชิง
วดั ได้คงเสน้ คงวาวัดกค่ี ร้งั กไ็ ดผ้ ลเหมอื นเดิม ปริมาณ โดยมีลักษณะการใหค้ ะแนนข้อ
คาถามรายข้อ

ความเป็นปรนยั (Objectivity) เป็นคุณสมบัติของ ความเท่ยี งตรง (Validity) หรอื บาง
เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้เก็บรวบรวมขอ้ มลู ที่แสดงถึงลักษณะ ตารางใช้คาวา่ ความตรง ใน
สาคัญ 3 ประการ คอื (1) คาถามชัดเจนอ่านแล้ว ความหมายโดยทวั่ ไปตาม
เข้าใจตรงกนั วา่ ถามเก่ยี วกับอะไร ให้ตอบด้วยวิธีใด พจนานกุ รมแปลว่าความถกู ตอ้ ง
(2) การตรวจให้คะแนนมีความคงที่ ไมว่ า่ ใครตรวจก็ สาหรบั ทางการวัดผล
ให้คะแนนตรงกัน และ (3) การแปลความหมาย (Measurement) โดยเฉพาะเก่ียวกับ
คะแนนมีความชดั เจนตรงกนั การศึกษาและจิตวิทยา มนี ักวิชาการ
หลายท่านไดใ้ ห้ความหมายของความ
การหาความยาก (Difficult) จะใช้เฉพาะกรณี เทีย่ งตรงไว้คลา้ ย ๆ กันความ
เครอ่ื งมอื วิจัยเปน็ ประเภทแบบทดสอบ (Test) ที่ เทย่ี งตรงของเครือ่ งมือวิจยั หมายถึง
วดั ดา้ นพุทธิพิสัยหรือสตปิ ัญญา (Cognitive ระดับคุณภาพของเครือ่ งมอื วิจัยที่บง่
domain) โดยเฉพาะแบบทดสอบประเภทองิ กลุ่ม บอกว่า ขอ้ มลู หรือผลการวัดตวั แปร
(Norm-referenced test) ส่วนแบบทดสอบ คณุ ลกั ษณะ หรือสิ่งท่ตี ้องการวดั
ประเภทองิ เกณฑ์ (Criterion-referenced test) ด้วยเครือ่ งมอื น้นั ๆ มีความถกู ตอ้ ง
ไมน่ ยิ มหาความยาก หรือไม่ เพียงใด

19

อานาจจาแนก ใช้กบั เครื่องมือประเภท
แบบทดสอบ และแบบสอบถาม ซง่ึ ขอ้ มลู ท่ี
รวบรวมได้มักอยูใ่ นรูปข้อมูลเชิงปรมิ าณ
โดยมลี กั ษณะการใหค้ ะแนนขอ้ คาถามราย
ขอ้

ความเช่ือม่นั (Reliability) การหาความยาก (Difficult) จะ
เป็นคุณสมบตั ิของเครอ่ื งมือ ใชเ้ ฉพาะกรณเี ครื่องมือวิจัยเปน็
วดั ผลทส่ี ามารถวดั เรื่องราว ประเภทแบบทดสอบ (Test) ทีว่ ดั
หรือคุณลักษณะทต่ี ้องการวดั ด้านพุทธพิ สิ ัยหรอื สตปิ ญั ญา
ไดค้ งเส้นคงวาวัดกี่ครง้ั ก็ได้ผล (โดยเฉพาะแบบทดสอบประเภท
เหมอื นเดมิ อิงกลมุ่

การตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื วจิ ยั

อานาจจาแนก ใช้กบั เครอื่ งมือ ความเทย่ี งตรง (Validity) หมายถึง
ประเภทแบบทดสอบ และ ระดบั คณุ ภาพของเคร่อื งมือวจิ ัยที่บง่
แบบสอบถาม ซึง่ ข้อมูลที่ บอกวา่ ข้อมูลหรือผลการวัดตวั แปร
รวบรวมได้มกั อย่ใู นรูปข้อมูลเชิง คณุ ลกั ษณะ หรือส่งิ ทตี่ อ้ งการวัดดว้ ย
ปรมิ าณ โดยมีลกั ษณะการให้ เครื่องมอื นั้น ๆ มคี วามถกู ตอ้ งหรือไม่
คะแนนขอ้ คาถามรายข้อ เพียงใด

20

สปั ดาห์ท่ีเค้าโครงวจิ ยั บทที่ 2 9

เคา้ โครงวิจัยบทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

ข้อแนะนา

1. นาเสนอเรียงตามหวั ขอ้ ทอ่ี อกแบบไว้ จบแตล่ ะหัวขอ้ ยอ่ ย/หลกั
ตอ้ งสรปุ
2. แต่ละหวั ข้อนาเสนอใหเ้ ปน็ ระบบ เชน่ เอกสารไทยกอ่ นตา่ งชาติ
เรียงจาก
เก่าไปหาใหม่
3. อา้ งอิงภายในใหถ้ ูกต้องและเป็นระบบเดยี วกันท้งั เลม่
4. เอกสารโดยเฉพาะงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ งไมค่ วรเก่ามากเกิน 5-10ปี
5. เรยี บเรียงเชงิ สังเคราะห์ ไม่ควรตัดต่อ

21

1. นาเสนอเรียงตามหวั ขอ้ ท่อี อกแบบไว้ จบแต่
ละหัวข้อยอ่ ย/หลกั ตอ้ งสรุป

2. แตล่ ะหวั ขอ้ นาเสนอให้เปน็ ระบบ เชน่
เอกสารไทยก่อนตา่ งชาติ เรยี งจากเก่าไปหาใหม่

3. อ้างองิ ภายในให้ถกู ต้องและ
เปน็ ระบบเดยี วกันทง้ั เล่ม

เค้าโครงวจิ ยั บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง

4. เอกสารโดยเฉพาะงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ ง
ไม่ควรเก่ามากเกนิ 5-10ปี

5. เรยี บเรยี งเชงิ สังเคราะห์ ไมค่ วรตัดต่อ

22

สัปดาหท์ ่ี 10เคา้ โครงวจิ ยั บทท่ี 3

เค้าโครงวจิ ัยบทท่ี 3
วธิ ดี าเนินการวิจยั

วธิ ีดาเนนิ การวิจยั
1. กาหนดประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
2. สรา้ งและหาคุณภาพเครือ่ งมอื วิจัย
3. เก็บรวบรวมข้อมูล
4. วิเคราะหข์ อ้ มูล
5. สถิตทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู

23

เค้าโครงวจิ ยั บทที่ 3
วิธดี าเนนิ การวจิ ยั

1. กาหนดประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. สรา้ งและหาคณุ ภาพเครื่องมอื วิจยั
3. เกบ็ รวบรวมข้อมลู
4. วิเคราะหข์ ้อมูล
5. สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู

24

สปั ดาหท์ ี่เค้าโครงวิจยั บทท่ี 4 11

เคา้ โครงวิจยั บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

การวจิ ัยเร่อื ง...ผูว้ ิจัยไดน้ าเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
ตามลาดับ ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการประเมินความเหมาะสมของ...(นวัตกรรม)...
โดยผ้เู ชี่ยวชาญ
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพของ...(นวัตกรรม)...
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธผิ ลของ ....(นวตั กรรม)..
ตอนที่ 4 ผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรยี นของนกั เรียนระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ย
...(นวัตกรรม)..
ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของนักเรยี นทม่ี ตี ่อ
การเรียนด้วย...(นวตั กรรม)...

25

ตอนท่ี 1 ผลการประเมินความเหมาะสม
ของ...(นวตั กรรม)...โดยผู้เช่ยี วชาญ

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธภิ าพของ
...(นวัตกรรม)...

เค้าโครงวิจยั บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธผิ ลของ
....(นวัตกรรม)..

ตอนที่ 4 ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนกั เรยี นระหว่างก่อนเรยี นและหลงั
เรียนด้วย...(นวัตกรรม)..

ตอนท่ี 5 ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ี
ต่อการเรียนดว้ ย...(นวตั กรรม)...

26

การทดสอบT-Test สปั ดาห์ที่ 12

การทดสอบ t-test ท่เี รียกว่าการทดสอบ t-test เพราะวา่ ผลการ
ทดสอบทงั้ หมดข้นึ อยกู่ บั ค่า t-value สง่ิ ทีน่ ักสถิตเิ รยี กเปน็ การทดสอบทางสถติ ิ
การทดสอบทางสถติ ิคอื ค่ามาตรฐานที่คานวณจากข้อมลู ตวั อยา่ งในระหว่างการ
ทดสอบสมมติฐาน ขัน้ ตอนท่ีคานวณคา่ สถิตสิ าหรับการทดสอบจะเปรยี บเทยี บ
ขอ้ มูลของคุณกับสงิ่ ท่ีคาดหวังทกี่ าหนดไว้ในสมมตฐิ านหลัก

One Sample t-test Dependent Samples t-test
ทดสอบความ ทดสอบความแตกตา่ งระหว่าง
แตกตา่ งระหว่าง ค่าเฉล่ยี (Mean) ของประชากร

คา่ เฉลย่ี (Mean) ของ สองกลุ่มทไี่ มอ่ สิ ระกนั
ประชากรกลุ่มเดียว
กับ คา่ เกณฑ์ หรือ Independent Samples t-test
ทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ ง
Norm ที่กาหนด คา่ เฉลี่ย (Mean) ของประชากรสอง

กล่มุ ทอี่ สิ ระกนั

27

One Sample t-test
ทดสอบความแตกตา่ งระหว่างคา่ เฉลยี่ (Mean)
ของประชากรกลุ่มเดยี ว กับ ค่าเกณฑ์ หรือ Norm

ที่กาหนด

T-Test Dependent Samples t-test
ทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งค่าเฉลย่ี (Mean)

ของประชากรสองกลุม่ ทีไ่ ม่อิสระกัน

Independent Samples t-test
ทดสอบความแตกต่างระหวา่ งค่าเฉลย่ี (Mean)

ของประชากรสองกล่มุ ทอี่ สิ ระกนั

28

สัปดาหท์ ี่เคา้ โครงวิจยั บทที่ 5 13

เคา้ โครงวจิ ยั บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

1. ความมงุ่ หมายของการวิจัย
2. ขอบเขตของการวจิ ัย
3. เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
6. สรปุ ผลการวิจยั
7. อภิปรายผลการวิจยั
8. ขอ้ เสนอแนะ

29

1. ความมุง่ 2. ขอบ 3. เครื่อง 4. การ
หมายของ เขตของ มือที่ใชใ้ น เก็บรวบ
การวิจัย การวจิ ยั การวจิ ยั รวมขอ้ มูล

สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

5. การ 6. สรปุ ผล 7.อภิปราย 8.ข้อ
วิคราะห์ การ ผลการ เสนอ
ข้อมูล วิจยั วิจัย แนะ

30

สปั ดาหท์ ่ีการวเิคราะหข์ อ้ สอบ SPSS 14

การวิเคราะหข์ อ้ สอบโดยใชโ้ ปรแกรม spss หาค่าอานาจจาแนกรายข้อ r
และค่าความยาก p โดยใช้ 27 % ของกลุ่มสูงกลมุ่ ตา่

ข้นั ที่ 1 สรา้ งไฟลข์ ้อมลู ของกลุม่ ทดลองใช้ N คน
ข้นั ที่ 2 รวมคะแนนทง้ั ฉบบั ของแต่ละคนโดยใช้คาส่งั Compute Variable
ขนั้ ท่ี 3 เรยี งคะแนนจากน้อยไปมาก โดยใช้ Sort case
ขั้นที่ 4 คานวณจานวนคนในกลุ่มสูง Nu และจานวนคนในกลมุ่ ตา่ N1
โดยใช้ 20 % ของ N
ข้นั ท่ี 5 สรา้ งไฟล์ใหม่ชอ่ื Group โดยกาหนดค่า Value ให้ 1 แทนกล่มุ
ต่า L,2 แทนกลมุ่ กลาง M, และ 3 แทนกล่มุ สงู U
ขั้นที่ 6 คียข์ ้อมูลตัวแปรGroup โดยกลมุ่ ตา่ พิมพเ์ ลข 1 กลมุ่ สงู พิมพ์เลข
2 และกล่มุ กลางพิมพเ์ ลข 3
ขน้ั ที่ 7 ตัดขอ้ มูลกลุ่มกลางออกทง้ั หมดจากนน้ั บนั ทกึ ไฟลโ์ ดยตั้งชือ่ ไฟล์
ใหม่หรอื คาสั่ง select Case เลอื กเฉพาะ Group 1 และ Group 3
ขั้นที่ 8 วเิ คราะห์ขอ้ มลู เพอื่ คานวณจานวนคนถกู ตดั ออกในกล่มุ ต่าและ
จานวนคนท่ีตอบถกู ในกลุม่ สงู ขอ้ สอบแตล่ ะข้อโดยใช้คาสงั่ cross Tabs

เลอื กขอ้ ทีม่ ีค่าอานาจจาแนกรายขอ้ ผา่ นเกณฑเ์ ทา่ กบั จานวนขอ้ ทวี่ างแผน
ไว้เพื่อนาไปหาคา่ ความเชอ่ื มั่นทง้ั ฉบับโดยใช้วิธีสัมประสทิ ธแ์ิ อลฟา

31

ข้ันท่ี 3 เรยี งคะแนนจากน้อยไป
มาก โดยใช้ Sort case

ข้นั ที่ 2 รวมคะแนนทั้งฉบับของ ข้นั ท่ี 4 คานวณจานวนคนใน
แตล่ ะคนโดยใชค้ าสงั่ Compute กลุม่ สูง Nu และจานวนคนใน
กลุ่มต่า N1 โดยใช้ 20 % ของ N
Variable

ขั้นที่ 1 สร้างไฟล์ข้อมลู ขัน้ ท่ี 5 สรา้ งไฟล์ใหมช่ ื่อ Group
ของกลุ่มทดลองใช้ N คน โดยกาหนดคา่ Value ให้ 1 แทน
กลุ่มต่า L,2 แทนกลมุ่ กลาง M,

และ 3 แทนกลุ่มสูง U

การวิเคราะห์ขอ้ สอบ ขนั้ ท่ี 6 คยี ์ขอ้ มูลตวั แปร
SPSS Group โดยกลมุ่ ต่าพมิ พเ์ ลข
1 กลุม่ สูงพมิ พเ์ ลข 2 และ

กลมุ่ กลางพมิ พ์เลข 3

ขั้นท่ี 7 ตัดขอ้ มูลกล่มุ กลางออกท้ังหมดจากนนั้
บันทึกไฟลโ์ ดยตัง้ ชอื่ ไฟล์ใหม่หรอื คาสั่ง select
Case เลอื กเฉพาะ Group 1 และ Group 3

ข้ันที่ 8 วเิ คราะหข์ ้อมลู เพอ่ื คานวณจานวนคนถูกตดั ออก
ในกลมุ่ ตา่ และจานวนคนที่ตอบถูกในกลมุ่ สงู ข้อสอบแตล่ ะ
ขอ้ โดยใชค้ าสง่ั cross Tabs

32

สัปดาห์ท่ีวจิ ยั ในช้ันเรยี น CAR 15

การวิจยั ปฏบิ ตั ิการในชน้ั เรยี น (Classroom action research) เป็นรูปแบบหน่งึ ของ
การวิจัยปฏิบตั ิการ โดยมีผู้ทาวจิ ยั คือครผู สู้ อนในหอ้ งเรยี นท่ตี นเองรับผิดชอบ ซงึ่ อาจทา
คนเดยี ว หรอื ร่วมกับผู้เกีย่ วขอ้ งอืน่ ๆ ไดด้ าเนนิ การแกไ้ ขปัญหาหรือพัฒนาผ้เู รยี นหรือ
การเรียนการสอนของตนให้ดีขึ้น โดยนาเอาวธิ กี าร แนวทาง หรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทีผ่ า่ น
การพจิ ารณาตรวจสอบเบ้ืองต้นแลว้ ว่าเหมาะสม ไปทดลองปฏิบตั กิ ารตามแผนทว่ี างไว้

การวจิ ัยปฏบิ ัตกิ ารในชั้นเรยี น มลี ักษณะสาคญั ดงั นี้

1. ครูเปน็ นกั วิจัย
2. ปญั หาการวิจยั ตอ้ งเกี่ยวขอ้ งกบั งานในหน้าท่ีครู
3 เป้าหมายสาคัญของการวิจยั ไม่ไดม้ ุง่ สร้างองคค์ วามรใู้ หม่
4. กลมุ่ เป้าหมายอาจเปน็ รายบุคคล รายกลมุ่ ท้งั หอ้ งเรยี น หรือหลายห้องเรยี น
5. สามารถดาเนินการวิจยั ควบค่ไู ปกับการปฏิบตั งิ านตามปกติได้ ทัง้ ในและนอกเวลา
6. ลกั ษณะของการทาวิจยั มักนิยมใชว้ งจรการวิจัยปฏบิ ัติการ PAOR โดยท่ี P = Plan
(วางแผน) A = Action (ลงมอื ปฏิบัติ) O = Observation (เก็บรวบรวมข้อมูลและบนั ทึกผล
ที่เกดิ ขึ้น) R = Reflection (สรุป เสนอความคดิ สะท้อนผลทีเ่ กดิ ขึ้น และปฏบิ ตั กิ าร
ปรบั ปรงุ แก้ไข)
7. การวิจยั ไม่ไดเ้ น้นการสร้างกรอบความคดิ ตามโครงสร้างเชิงทฤษฎี ไมเ่ คร่งครดั
8. มกี ารเกบ็ ข้อมูลท้ังเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ แต่เนน้ ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพมากกว่า
9. การเขยี นรายงานการวิจยั ไมเ่ คร่งครัดในรูปแบบ
10. ครสู ามารถใชผ้ ลการวจิ ยั พัฒนาตนและพัฒนางานในหน้าท่ไี ด้
11. สามารถทาวิจัยได้ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทาใหไ้ ด้งานวจิ ยั มากมาย และไม่จาเป็นต้องใช้
งบประมาณจานวนมาก
12. ไมไ่ ด้มุ่งใหค้ รทู าเพ่ือขอผลงาน จุดเน้นคือ นกั เรยี น และการพฒั นาสภาพการเรยี น
การสอน ส่วนการขอเป็นผลงานนั้นเป็นผลพลอยได้

33

การวจิ ัยปฏิบตั กิ ารในช้ันเรยี น

การวจิ ัยปฏบิ ัติการ ขน้ั ตอนการทาวจิ ัย การเลือกปัญหามาทาวิจัย
ในชน้ั เรียน ปฏิบัตกิ ารในชนั้ เรยี น ปฏบิ ตั กิ ารในชนั้ เรยี น

(Classroom action 1 สารวจปัญหา 6 ดาเนนิ การแก้ปัญหา เป็นปญั หา
research) เป็น 7 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เร่งด่วนท่ี
2 ระบุปัญหา จาเป็นต้อง
รูปแบบหน่ึงของการ
วิจัยปฏิบัติการ โดยมี 3 ระบุแนวทาง แก้ไข
ผทู้ าวจิ ัยคือครผู สู้ อน แกป้ ญั หาหรอื พัฒนา
ในหอ้ งเรยี นท่ีตนเอง เปน็ ปญั หาของ
รับผิดชอบ ซ่ึงอาจทา คนสว่ นใหญ่
คนเดยี ว หรือรว่ มกับ หรือท้งั ชัน้

ผู้เกี่ยวข้องอืน่ ๆ

8 สรปุ ผลการวจิ ยั

4 วางแผนแก้ปญั หา 9 จดั ทารายงาน พฤติกรรมที่
หรือพฒั นา การวิจยั เป็นปัญหา
ตอ้ งเป็น
5 สรา้ งหรอื เลือกเครอ่ื งมือ ปญั หาจรงิ

ปัญหาบางอยา่ ง
ไม่ใช่ปัญหาแท้จริง

ปญั หาท่ีตอ้ งใช้เวลานาน
เกินไปในการแกไ้ ข

34

สอบปลายภาค สปั ดาหท์ ี่ 16

สอบปลายภาค
วันที่ 19 เมษายน

2564

35





หลังจากท่ีได้เรียนกับรองศาสตราจารย์ ดร. สาราญ กาจัดภัย
รู้สึกประทับใจในการเรียนการสอนมาก ท่านอาจารย์ไม่เคยปล่อยให้
ผู้เรียนไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียน ทุกครั้งหากผู้เรียนไม่เข้าใจในเน้ือหา
ทา่ นอาจารยจ์ ะเขา้ มาช่วยแก้ปญั หา และสอนจนกวา่ ผูเ้ รยี นจะเขา้ ใจใน
เน้ือหานน้ั ๆ ท่านอาจารย์เป็นผู้ท่ีมีความเมตตาต่อผู้เรียนมาก ในด้าน
การสอนท่านอาจารย์สอนได้เข้าใจ ทาให้เกิดความรู้สึกว่าการทาวิจัย
ไมใ่ ช่เร่ืองยากอีกตอ่ ไป

ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ท่ีคอยชี้แนะแนวทางในการทาวิจัย
และเมตตาศษิ ย์ตวั น้อย ๆ คนหนงึ่ ในการเรียนการสอนคร้งั นี้ ดิฉันจะ
นาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปปรับใช้ในอนาคตใหม้ ีประสิทธภิ าพมากที่สดุ

ลงช่ือ
(นางสาวจินดารัตน์ มีสงเปอื ย)
ผูบ้ ันทกึ

36

37

38


Click to View FlipBook Version