The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ที่ 3 หลักการออกแบบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sri narin, 2019-06-06 02:36:40

ใบความรู้ที่ 3 หลักการออกแบบ

ใบความรู้ที่ 3 หลักการออกแบบ

ใบความรูท้ ่ี 3

การออกแบบจดั สวน

โดย ศรีนรินทร์ ริยาพนั ธ์
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลาพนู

ใบความรทู้ ี่ 3
เรอื่ ง การออกแบบจัดสวน

การออกแบบจัดสวน
การออกแบบจัดสวน นักจักสวน นักออกแบบภูมิทัศน์หรือภูมิสถาปนิก จะต้องเข้าใจเกี่ยวกับ

องค์ประกอบของศิลป และหลักศิลปะในการออกแบบ เพ่ือนาองค์ประกอบส่วนมูลฐานของความงามมา
ประกอบกันให้เหมาะสมตามหลักศิลปในการออกแบบ เพ่ือให้มีความเป็นธรรมชาติ กลมกลืนกับ
สภาพแวดล้อมอย่างมีศิลป มีสุนทรียภาพ สวนงาม มีชีวิตจิตใจ บ้านและสวนกลมกลืนกันเป็นหนึ่งเดียว
ก่อใหเ้ กิดความรกั ความหวงแหน อยากเป็นเจ้าของและทส่ี าคัญ จะต้องประหยัดค่าใชจ้ ่าย
การออกแบบก่อใหเ้ กิด
1. การสร้างสรรค์หรือความคิดสร้างสรรค์ (Creative) เป็นการแสดงออกทางความคิดของนักออกแบบ

เอง ซ่ึงจะทาให้มีเอกลักษณ์หรือรูปแบบเฉพาะ อย่างไรก็ตาม จะต้องคานึงถึงความเหมาะสม ความ
สวยงาม ดูแลรักษาง่านเพ่อื ความประหยัด และมคี วามปลอดภยั
2. เทคนิคการทา (Technical) ในการออกแบบและการสร้างสวนจะต้องอาศัยวิชาเข้าผสมผสานกัยกับ
แนวความคิดของตัวเอง เพ่ือการออกแบบที่ถูกต้อง ท่ีเทคนิคในการสร้างสวนปลูกหรือขุดย้ายพรรณไม้
ต่าง ๆ การสร้างน้าพุ น้าตกจาลองหรือการเลอื กใช้วัสดุ เครื่องมือในการทางานไดเ้ หมาะสม
3. คุณค่าในทางศิลป (The Aesthetic) ในการออกแบบจะต้องมีคุณค่าทางศิลป มีความสวยงามท้ัง
ลักษณะและรูปทรงเหมาะสม

องค์ประกอบของศลิ ป
ในการออกแบบจัดสวน จาเป็นต้องเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของศิลป ซ่ึงถูกกาหนดข้ึนโดย
ธรรมชาติ และเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความสวยงาม มีความสัมพันธ์และกลมกลืนกัน องค์ประกอบของศิลปท่ี
เก่ียวข้องกับการออกแบบประกอบดว้ ย
1. เส้น (Line) ใช้ในโครงร่างของงานและการออกแบบเพื่อส่งเสริมให้เกิดรูปทรงและลักษณะต่าง ๆ ท่ี
สวยงาม กาหนดขอบเขตของภาพ พ้ืนท่ี ทาให้เกิดทิศทาง สามารถปิดบังรูปทรงลักษณะที่ไม่งดงาม
และเสน้ เป็นสงิ่ ท่ีก่อใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรคอ์ ย่เู สมอ
เส้นในการออกแบบจัดสวน มี
1.1. เสน้ ตรง (Straight line) ลักษณะเสน้ ตรง จะใหม้ ีความร้สู ึกมั่นคง มีสง่า มีความเข้าแข็งและงดงาม
ใหค้ วามรสู้ กึ ง่าย ตรงไปตรงมา
1.2. เส้นแนวตั้ง (Vertical line) แสดงถึงความสูง ความแข็งแรง มีระเบียบ สุภาพ สง่า ทาให้เกิดการ
เคล่ือนไหว ให้ความร้สู กึ รุนแรง
1.3. เส้นแนวนอน (Horizontal line) แสดงถึงความกว้างใหญ่ รากฐานมัน่ คง ให้ความรู้สึกสงบนิ่ง และ
การพักผอ่ น
1.4. เส้นทามุม (Angle line) ให้ความรู้สึกมีชีวิตชีวา มีความกระตือรือร้น ให้ความรู้สึกต้ืนเต้นหรือมี
การตอ่ สู้
1.5. เส้นประ (Broken line) จะบ่งบอกความรู้สึกหลายประการ อาจจะให้ความรู้สึกต่ืนเต้นหรือแสดง
ความรสู้ ึกไม่แนน่ อน และถ้ามีเสน้ ประมากไปจะทาให้เกิดความสบั สนได้
1.6. เส้นติดต่อกัน (Continuous line) เป็นเสน้ ท่แี สดงถงึ ความสาคัญ มีความมั่นใจและเป็นอิสระ
1.7. เส้นโค้ง (Curve line) ใช้ในการออกแบบจัดสวนมาก เพื่อลดความแข็งกระด้างของสวน แสดง
ความเคลอื่ นไหวอยา่ งช้า ๆ และนุม่ นวล เชน่ เส้นโคง้ ที่มีขอบเขต (finite) แสดงถึงความมีขอบเขต
แน่นอน เห็นเด่นขัด และให้ความรู้สึกรวมกัน เส้นโค้งท่ีไม่มีขอบเขต (infinite) แสดงการรวบรวม
ห่อหุ้ม การล้อมรอบ เส้นโค้งเล็กน้อย แสดงความเป็นอิสระ ให้ความรู้สึกนุ่มนวลสนุกสนาน ปละ
การเคลอื่ นไหล เส้นโค้งไปโค้งมา (abrupt) แสดงความร่าเริง สนุกสนานทา้ ทาย
2. รูปรา่ งและรูปทรง (Form and Shape) เกิดจากการนาเสน้ มากาหนดขอบเขต กอ่ ให้เกิดรูปร่างขึ้นมา
ทาให้เกิดความรู้สึกที่แตกต่างออกไป เมื่อมีการจัดวางต่างแบบกัน โดยปกติแล้วธรรมชาติของสิ่งของ
ต่าง ๆ มรี ูปทรงแตกตา่ งกัน นกั ออกแบบจะต้องจัดวางให้มคี วามสัมพันธ์กนั และมคี วามสมดลุ
2.1. รูปร่างหรอื รูปร่างลักษณะ (Form) จะมีลักษณะสามมิติ ประกอบด้วยรูปทรงและโครงสร้างซ่ึงมี 3
รูปแบบ คอื
2.1.1.รูปรา่ งกลม (sphere) เชน่ ลกั ษณะกลมของก้อนหิน ก้อนกรวด หรือการตัดแต่งต้นไม้เป็นรูป

กลม
2.1.2.รูปลุกบาศก์ (cube) เช่น การตัดแต่งต้นไม้ พุ่มไม้เป็นรูปแท่งส่ีเหล่ียม รูปร่างของศิลาแลงปู

ทางเดนิ

2.1.3.รูปปริ ามิด (pyramid) เชน่ การตัดแต่งตน้ ไมใ้ ห้เป็นรปู ปริ ามดิ ศาลาพักรอ้ นรูปปริ ามดิ
2.2. รูปทรง (shape) เป็นรูปลักษณะสองมติ ิหรอื เป็นภาพเงา พื้นทภี่ ายในมีขอบเขตจากัด แบ่งเปน็

2.2.1.รูปทรงกลม (circle) มสี ดั ส่วนตายตวั สามารถดัดแปลงใหเ้ ป็นรปู รหี รือรูปทรงอิสระก็ได้ ต้นไม้
ท่มี รี ปู ทรงกลม ไดแ้ ก่ ล่ันทม ชงโค ทรงบาดาล พกิ ุล มะมว่ ง ฯลฯ

2.2.2.รปู ทรงส่ีเหลีย่ มจัตุรัสหรือผืนผ้า (square or rectangular) พันธุ์ไม้ท่ีมีรูปทรงสี่เหลี่ยม ได้แก่
ไทร มะฮอกกานี ตะโก ยคู าลิปตัส พฤกษ์ ฯลฯ

2.2.3.รูปทรงสามเหลี่ยม (triangle) จะให้ความรู้สึกม่ันคง พันธ์ุไม้ท่ีมีรูปทรงสามเหล่ียม ได้แก่ สน
แผง สนฉตั ร ทุเรียน ย่โี ถ ไผ่ ฯลฯ

3. แสงและเงา (Light and Shade) ในการออกแบบจัดสวน ควรคานึงถึงเรื่องแสงและเงาทั้งในสภาพ
กลางวันและกลางคืน โดยคานึงถึงความอบอุ่นใจ ความปลอดภัย ให้แสงสีหรือเงาของต้นไม้ดูสวยงาม
จะสามารถเพ่ิมเวลาการพักผ่อนในบ้านได้มากขึ้น ความสว่างกับความมืดจะต้องกลมกลืนกัน ในสภาพ
กลางวันก็เกิดเงาได้โดยการเลือกใช้พันธุ์ไม้ที่มีสีต่างกัน พันธ์ุไม้สีเข้ม มีน้าเงินก็จะเป็นเงาของพันธุ์ไม้สี
เขียวได้ หรอื แม้แต่ลกั ษณะของพน้ื ผวิ ก็สามารถจัดไห้เกิดแสงและเงาได้

4. พื้นท่ีว่าง (Space) หมายถึง พ้ืนท่ีว่างที่มีอนาเขตล้อมรอบด้วยบรรยากาศของพันธ์ุไม้หรือส่ิงประดิษฐ์
ทจ่ี ดั วางอยา่ งเหมาะสม สมดุลสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากพืน้ ที่ว่างนไี้ ด้ ก่อใหเ้ กิดทัศนีย์ภาพท่ีสวยงาม มีที่
ว่างพักสายตา เป็นท่ีพักผ่าน ให้ความร่มร่ืน พื้นท่ีว่างอาจจะเป็นพ้ืนดิน น้า สนามหญ้า ซ่ึงเป็นพ้ืนราบ
แนวนอนท่ีว่างแนวด่ิงหรือเหนือศีรษะ ได้แก่ ท้องฟ้า ถ้าเป็นพ้ืนที่โล่งจะให้ความรู้สึกอิสระไร้ขอบเขต
พน้ื ที่ใต้รม่ ไมจ้ ะให้ความรู้สึกสมบูรณ์ ร่มร่ืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่แนวยาวแคบท่ีมีต้นไม้ใหญ่สองข้าง
ทาง สว่ นทที่ บึ หมายถึงภเู ขา ต้นไม้ อาคารสถานท่ี ในการจดั สวนจะต้องมที งั้ ท่ีโล่งและท่ีทบึ ประกอบกนั

5. พ้นื ผิว (Texture) หมายถึง พ้ืนท่ีผิววัสดุที่ใช้ตกแต่งสวน หรือผิวพรรณไม้นานาชนิดที่นามาใช้จัดสวน
ใหค้ วามรสู้ กึ เมอ่ื มองหรือสมั ผัสพนื้ ผิวก่อใหเ้ กิดความสวยงาม เสริมให้ส่วนอื่น ฟ ของสวนเด่นขึน้ ได้
พืน้ ผิววสั ดุจัดสวน (surfacing) มี 2 ชนิด คือ
5.1. พน้ื ผวิ แขง็ เช่น ไม้ หนิ อฐิ กระเบ้ือง ฯลฯ
5.2. พนื้ ผวิ อ่อนนุม่ เชน่ หญา้ ทราย หินละเอียด พชื คลุมดนิ ฯลฯ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงพรรณไม้ชนิดตา่ ง ๆ ท่พี นื้ ทผ่ี ิวสมั ผัสแตกต่างกนั เชน่
พื้นท่ผี ิวละเอียด ไดแ้ ก่ หญา้ กามะหย่ี หญ้าญป่ี นุ่ หญ้าแพรก หลิว เข็มญ่ีปุ่น ประทัดจีน สนโมก เป็นต้น

ใหค้ วามรสู้ ึกดูร่าเริม ดลู กึ ลบั
พ้ืนผิดหยาบ ได้แก่ หญ้ามาเลเซีย หูกวาง กระดาษ ใบระนาด พลูฉีก ว่านพญาช้างเผือก เป็นต้น ให้

ความร้สู ึกแข็ง มงั่ คง ไม่อ่อนหว่าน
พื้นผิวขรุขระ ไดแ้ ก่ หญา้ นวลนอ้ ย ดาวเรือง ผกากรอง เวอร์บนี า่ เยอบรี า่ บุษบา ผดั เปด็ เป็นตน้
พ้นื ผวิ มัน ได้แก่ ไทรต่าง ๆ กระทิง เปน็ ต้น
ในการจดั ส่วนจะจัดกล่มุ พรรณไม้ที่มีผวิ สมั ผัสละเอียดไวข้ ้างหน้า ใบที่มีพื้นท่ีผิวขนาดกลางหรือหยาบไว้

ข้างหลัง จัดกลุ่มพืชท่ีมีสีของใบและขนาดของใบใกล้เคียงกันไว้เป็นกลุ่ม ๆ จะให้มีความรู้สึกว่ามีเอกภาพ
เช่น กลุ่มของข่อย ตะโก โมก ส่วนสนามหญ้าถ้าเป็นสนามหญ้าขนาดใหญ่ก็สามารถใช้หญ้าที่มีผิวหยาบได้
แตถ่ า้ สนามมีขนาดเลก็ ควรใช้หญ้าทม่ี ผี วิ ละเอยี ด จะใหค้ วามรู้สกึ วา่ สนามหญ้ามขี นาดใหญ่ข้ึน
6. สี (Color) เป็นส่ิงท่ีให้ความรู้สึกปรากฏทางสายตาแสดงให้เห็นท่วงทานองการออกแบบให้ความรู้สึก

รวดเร็ว เกิดอารมณ์การตอบสนองสีท่ีเกิดข้ึนในการจัดสวน ได้แก่ สีของอิฐ หิน กรวด ศิลาแลง อาคาร
สีของพรรณไม้ ลาต้น กิ่ง ใบ หรือสีสันของดอกไม้ที่ใช้ความสว่าง สดใสและมีเสน่ห์อยู่ในตัวตาม
ธรรมชาติ สภาพของสวนโดยทั่วไปจะมสี เี ขยี วเปน็ หลกั

ประเภทของสี (Tone of color)
1. สีอนุ่ หรือสีร้อน (warm tone) ได้แก่ สีเหลือง เหลืองส้ม ส้ม ส้มแดง แดงม่วง เป็นกลุ่มสีท่ีให้ความ

สว่างสดใส ให้ความรสู้ กึ อยใู่ กล้ ต่ืนเต้น เชน่ สขี องดอกดาวเรือง สร้อยไก่ ดาวกระจาย เฟื้องฟ้า ฯลฯ
2. สีเย็น (cool tone) ได้แก่ สีม่วง ม่วงน้าเงิน น้าเงิน เขียวน้าเงิน เขียว เขียวอ่อน เป็นกลุ่มสีที่ให้

ความเยือกเย็น สงบ มองดูลึก ไกล เช่น สีของสนามหญ้า บานเช้า วสานา ชา ฟ้าปริดิษฐ์ เฟิร์น พลับพลึง
ฯลฯ
จติ วิทยาของสี

การตอบสนองของสัตว์และมนุษย์ที่มีต่อสีต่าง ๆ จะแตกต่างกันทั้งในด้านความรู้สึกและอารมณ์
นกั จติ วิทยาและนักวทิ ยาศาสตร์ไดศ้ กึ ษาและสรปุ ความรสู้ ึกตอบสนองต่อสีต่าง ๆ ดังนี้

สีขาว แสดงถงึ ความศรัทธา สะอาดและบรสิ ทุ ธ์ิ เปน็ สีทีแ่ มลงไมค่ ่อยชอบ โดยเฉพาะพวกผง้ึ ทช่ี อบสีเข้ม
สีเหลือง แสดงถึง ความอบอ่นุ ความร่าเริงและความอดุ มสมบูรณ์
สแี ดง แสดงถงึ ความสดใส ความรนุ แรงและให้ความร้สู กึ อยใู่ กล้ เปน็ สิ่งทย่ี ุงไมช่ อบ
สเี ขียว แสดงถึง ความหวัง ความร่มร่ืน ร่มเย็น การพักผอ่ น มองดกู ว้างขวาง เย็นตา
สมี ว่ ง แสดงถงึ ความยุตธิ รรม ความจงรกั ภักดแี ละความเสรา้
สนี ้าเงนิ แสดงถงึ ความมั่นคง สงบ เยือกเย็น ซือ่ สัตย์ ให้ความรู้สึกอย่ไู กล
การใชส้ ีในการจัดสวน
การใชส้ ีในการจดั สวนไม่วา่ จะเป็นสีของวสั ดหุ รอื พชื พรรณ อาจจะจดั ไดใ้ น 2 ลักษณะ คือ
1. การจัดแบบสีตัดกัน (contrast in color) เป็นการจัดที่ใช้สีกลุ่มตรงกันข้ามกันมาจัด สีจะตัดกันทา
ใหเ้ กดิ จดุ สนใจหรอื จดุ เดน่ เชน่ สนามหญา้ เปิดกวา้ งสีเขียว และปลูกหปู ลาช่อนสีแดงเป็นแถบด้านหลัง หรือ
การใช้ผักเป็นแดงกับผักเป็ดเขียว หรือการใช้ไม้ดอกเป็นกลุ่มกลางสนามหญ้า อย่างไรก็ตามในบริเวณติด

ผนังบ้าน ถ้าผนังเป็นสีสว่างก็ควรเลือกใช้พรรณไม้สีเข้ม ในทางตรงกันข้ามถ้าผนังอาคารสีเข้มควรเลือกใช้
พืชพรรณหรอื วสั ดทุ ี่มีสีสว่าง จะชว่ ยทาให้ดเู ดน่ และสดใสมากขึ้น

2. การจัดแบบสีกลมกลืนกัน (harmony in colors) เป็นการจัดเลือกวัสดุหรือพรรณไม้พืชที่มีอยู่ใน
กลุ่มเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น กลุ่มสีร้อน อาจจะปลูกดอกดาวเรือง หงอนไก่ แซลเวีย พิทูเนีย ที่มีดอกในสี
ร้อนด้วยกันไว้รวมกัน จะก่อให้เกิดความกลมกลืนกันในกลุ่มของสีร้อน จะให้ความสว่างสดใส อีกกลุ่มหน่ึง
คือ กลุ่มสีเย็น การใช้ใบไม้ชนิดต่าง ๆ มาจัดรวมกลุ่มกัน หรือใช้พืชที่มีสีเขียว สีเขียวอ่อน หรือสีม่วงน้าเงิน
มาจัดในสนามหญ้าท่ีมีสีเขียว ก็จะมีความกลมกลืนในกลุ่มของสีเย็นให้ความรู้สึกร่มเย็น เยือกเย็นมองดูไกล
และลึก แต่ในการจดั ถา้ มแี ตค่ วามกลมกลนื ในกลุ่มสขี องสีเดียวกันก็อาจทาให้รู้สึกเบื่อง่าย จึงควรใช้สีทั้งสอง
กลมุ่ เข้าด้วยกนั แต่คอ่ ย ๆ ไลส่ ีไป เช่น เขยี ว เขียวอ่อน ขาว ชมพู แดง ก็จะมีความกลมกลืนของสีทยอยต่อ
กันไป ทาใหด้ สู วยงามดี
7. ลวดลาย (Pattern) เป็นการจัดพืชปลูกพืชเป็นแถวกลุ่ม ให้เกิดลวดลาย หรือการจัดพื้นผิว ลาน

พักผ่อน จัดให้มีลวดลายสวยงาม ก่อให้เกิดความสวยงาม ทาให้สวนมีบรรยากาศที่ดีขึ้น ทาให้พ้ืนท่ีนั้น
นา่ มองไม่เบอื่ หนา่ ย อารมณ์อาจล่องลอยตามลวดลายทจี่ ัดไว้ในสวน ก่อให้เกิดความผ่อนคลาย พักผ่อน
นอกจากน้ีแล้วการจัดสวนแห้ง (สวนหิน) ที่ใช้หินเกล็ดแทนน้าหรือสนามหญ้า สามารถวาดลวดลายลง
ไวใ้ นสวนไดเ้ ปน็ การสร้างสรรคแ์ ละจินตนาการ
หลกั ศลิ ปในการออกแบบจัดสวน จะประกอบด้วย
1. ความสมดุลหรือมีดุลยภาพ (Balance)
2. สดั สว่ น (Proportion of Scale)
3. จงั หวะ (Rhythm)
4. ความกลมกลืน (Harmony or Unity)
5. ความแตกตา่ ง (Contrast)
6. จดุ เดน่ หรอื จดุ สนใจ (Emphasis or Focalization)

ความสมดลุ
หมายถึง การทพ่ี ้นื ทห่ี นง่ึ มีสัดส่วนที่เหมาะสมกัน มนี ้าหนกั เทา่ กนั หรอื ใกลเ้ คียงกนั ทงั้ สองขา้ ง

ความสมดลุ มี 2 แบบ คอื
1. ความสมดุลท่ีเหมือกันท้ัง 2 ข้าง (Formal of Symmetrical balance) เป็นการจัดสวนอย่างเป็น
ระเบียบ มีน้าหนักเท่ากันทั้งด้ายซ้ายและด้านขวา หรือมีต้นไม้ทั้งสองข้างเหมือนกัน เช่น ต้นไม้ 2 ข้างทาง
หรือการจัดตามอนุสาวรีย์ วงเวียน สวนสาธารณะ การจัดวางใช้จุดศูนย์กลางเป็นจุดเร่ิมต้นแล้วขยาย
รูปแบบการจัดออกไปโดยรอบเหมอื นกัน เหมาะกับพ้ืนที่ราบ พื้นท่ีกว้างใหญ่ในอันท่ีจะสร้างจุดรวมภาพ ให้
ความรสู้ ึกโออ่ ่า ภาคภูมิ สง่างาม หนกั แน่นและมน่ั คง
2. ความสมดุลไม่เหมือนกันทั้ง 2 ข้าง (Informal or Asymmetrical balance) เป็นความสมดุลตาม
ธรรมชาติ โดยมีรูปทรงสักส่วนท้ังสองด้านไม่เหมือนกัน มีจุดสนใจท้ัง 2 ด้านท่ีไม่เหมือนกัน ใช้พันธุ์พืช

ต่างกัน แต่ทาใหเ้ กดิ สมดลุ โดยต้นพืชขนาดเล็กหลานต้นถ่วงสมดุลกับต้านพิชขนาดใหญ่ หรือใช้กลุ่มเล็กถ่วง
สมดุลกบั กลมุ่ สเี ย็นกลุ่มใหญ่ หรือการใช้กลุ่มหินถ่วงสมดุลกับกลุ่มต้นไม้ เป็นต้น สวนลักษณะนี้จะปล่อยให้
พรรณไม้เติบโตอย่างอิสระ เหมาะต่อสภาพพ้ืนท่ีเป็นเนินสภาพธรรมชาติ เป็นสวนท่ีก่อให้เกิดอารมณ์
สรา้ งสรรค์ เพลดิ เพลนิ ให้ความรสู้ ึกอสิ ระ

สัดสว่ น หมายถงึ การจดั วสั ดุแต่งสวนพันธ์ไุ ม้ ให้ความสมั พนั ธ์กนั อย่างไดส้ ดั ส่วน กลมกลืน สวยงาม ให้
ความรู้สึกว่าของหลาย ๆส่ิง มีความสัมพันธ์กัน เช่นเดียวกับสัดส่วนหรือใบหน้าของมนุษย์ ในการวาง
ตาแหน่งของตา หู จมูก ปาก จะต้องเหมาะสม จึงจะได้ใบหน้าที่สวยงาม ดังน้ัน ในการจัดสวนต้องเลือก
พันธุ์ไม้หรือหินท่ีมีรูปร่าง รูปทรง และขนาดที่แตกต่างกันโดยคานึงถึงขนาดของพื้นที่ ความสูงของ
สง่ิ กอ่ สรา้ ง เชน่ ระเบยี ง หรือตัวบ้าน เพื่อจะเลือกขนาดให้เหมาะสม รวมทั้งพิจารณาในเร่ืองของสีไปพร้อม
กัน และนามาจัดวางให้เป็นธรรมชาติอย่างได้สัดส่วน สมดุล โดยมากแล้วจะเร่ิมต้นด้วยการจัดวางลักษณะ
สามเหลี่ยม ซึ่งจะเกิดความสมดุลและมีมุมมองได้ทุกด้าน สัดส่วนจึงเก่ียวข้องกับการจัดสวน โดยจะต้อง
พจิ ารณาถงึ

1. ขนาดและรปู ลักษณะท่จี ะนามาประกอบกันใหง้ ดงาม
2. จัดสัดส่วนใหเ้ กิดความสนใจ ดึงดูดสายตา
3. จัดสดั สว่ นของวัตถุตา่ ง ๆ ขนาดตา่ ง ๆ ให้มีความสมั พนั ธก์ ันเป็นหมวดหมู่
จังหวะ หมายถึง ความพอดีของการจัดวางมีช่องว่างเหมาะสมและมีความต่อเน่ือง จะก่อให้เกิดการ
เคลือ่ นไหวของส่ิงทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั มคี วามเป็นธรรมชาติ ถ้าจดั ในพนื้ ทกี่ วา้ ง อาจจะใชแ้ ปลงไม้ดอกหรือจัดวาง
ม้านั่ง กระถางต้นไม้เป็นระยะกระจายเป็นช่วงซ้ากันไปได้ ทาให้เกิดช่วงจังหวะน่าสนใจ ชวนติดตาม เกิด
ความตืน่ เตน้
ช่วงจังหวะของการจัดสวนแบ่งเป็น 4 แบบ คอื
1. จังหวะซ้าหรือยา้ (Repetition) เปน็ การใช้ตน้ ไมห้ รอื วสั ดทุ ่มี ีรปู ทรง ลักษณะ สี และเส้น ซ้า ๆ กัน
ไป เช่น ลักษณะของแนวรั้ว หรือต้นไม้สองข้างทางเดิน สองข้างถนน ถ้าซ้า ๆ กันมาก ก็อาจจะก่อให้เกิด
ความเบือ่ หนา่ ยได้
2. จงั หวะต่อเนอ่ื ง (Sequence or Continuity) เปน็ การสร้างความซ้าของรูปทรงพันธุ์ไม้ หรือสีสันกัน
ไป เปน็ ระยะโดยเว้นระยะเทา่ ๆ กัน
3. จังหวะกระจาย (Radiation) เป็นการเร่ิมต้นจากจุดศูนย์กลาง แผ่กระจายออกไปรอบด้าน
เหมอื นกันหรือซ้ากนั เชน่ การจดั รอบอนสุ าวรยี ์ ตามวงเวยี น ตามสีแยก
4. จังหวะลดหล่ัน (Gradiation) ใช้วัสดุหรือพืชชนิดเดียวกัน แต่มีขนาดแตกต่างกัน สูงต่าไม่เท่ากัน
อาจจะจดั ฉากเล็กไปหาใหญ่ หรือสลบั กนั ไป
ความกลมกลืนกัน, เอกภาพ เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความสวยงาม ดังน้ันการจัดสวน นักจัดสวนจะต้อง
คานึงถึงการอยู่ร่วมกันของหน่วยความงามชนิดต่าง ๆ จึงให้อยู่รวมกันได้อย่างกลมกลืนเป็นหน่ึงเดียวอย่าง
เหมาะสม เช่น ความกลมกลืนในลักษณะของพืช เกิดขึ้นได้โดยปลูกพืชท่ีมีลักษณะใบคล้ายกัน อยู่ร่วมกัน
ได้แก่ ปาล์มชนิดต่าง ๆ หรือปลูกพืชที่มีรูปร่างใบคล้ายกันอยู่รวมกัน เช่น พลับพลึง จันทร์ผา เตย อยู่

ร่วมกัน ส่วนความกลมกลืนในลักษณะของวัตถุได้แก่ การใช้หินท่ีมีรูปร่างลักษณะหรือสีท่ีคล้ายคลึงกัน จะ
ทาให้เกิดความกลมกลืนในลักษณะของวัตถุ ได้แก่ การใช้หินที่มีรูปร่างลักษณะหรือสีที่คล้ายคลึงกัน จะทา
ให้เกิดความกลมกลืนและจะต้องพิจารณาถึงช่วงจังหวะสัดส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและรูปทรงให้
กลมกลืนกัน ดงั นั้น หลกั ของความกลมกลนื ตอ้ งพิจารณาถึงเสน้ รูปทรง และสี

ในการออกแบบสวนให้เกิดความกลมกลืนสามารถทาได้ คอื
1. ทาเป็นรูปซ้า ๆ กัน จะก่อให้เกิดความกลมกลืน แต่จะต้องระวังไม่ให้มีการซ้ากันมากเกินไป จะทา
ใหข้ าดความนา่ สนใจ จึงควรใหม้ สี ว่ นทไี่ มก่ ลมกลืนหรือขดั กนั บ้างในส่วนน้อย แตใ่ นสว่ นใหญ่กลมกลนื กนั
2. สร้างความกลมกลนื โดยเลอื กใช้วัสดหุ รือพืชพรรณไมท้ มี่ สี ีสนั กลมกลนื กนั
3. พ้ืนผวิ และชอ่ งวา่ งจะต้องมคี วามคลา้ ยคลงึ และกลมกลนื กัน
4. เลอื กใชว้ ัสดุหรือพรรณไม้ที่มีรูปทรงและลักษณะคลา้ ยคลงึ และกลมกลืนกัน
การขัดกัน ใช้ในการออกแบบจัดสวนเพ่ือลดความกลมกลืน โดยการจัดสภาวะของเส้นรูปทรงหรือสีให้
แตกต่างกัน เพ่ือไม่ให้เกิดความซ้า ก่อให้เกิดความหลากหลายในลักษณะตรงกันข้ามหรือขัดกัน โดยเฉล่ีย
แล้วควรจดั ให้มีความกลมกลนื ประมาณ 80 เปอร์เซน็ ต์ และมีการขัดกันประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ เพ่ือให้เกิด
จุดสนใจ มีจุดเด่น ก่อให้เกิดความเคล่ือนไหว แต่จะต้องระวังอย่างให้มีการขัดกันมาก เพราะจะทาให้เกิด
ความรูส้ กึ ยุ่งเหยงิ ขาดเอกภาพและความกลมกลนื
การขัดกนั เกดิ ขึ้นโดย
1. จดั ให้ความแตกตา่ งกันในรูปทรง ลักษณะ เช่น รปู ทรงสามเหลีย่ มกบั รูปสเี่ หลยี ม
2. จดั ให้เกดิ ความแตกต่างกนั ในเรอื่ งของเสน้ คือ มีทั้งเส้นโค้ง และเสน้ ตรง อย่ดู ว้ ยกัน
3. จดั ให้สีเตกตา่ งกนั โดยใชส้ รี อ้ นตดั กับสีเยน็ สมี ดื กบั สีสวา่ ง
4. จัดให้เกดิ ความแตกต่าง ในเรื่องของแสง เงา สัดส่วน ช่องว่าง พื้นผิว หรือแม้แต่ พันธ์ุไม้ท่ีมีการตัด

แตง่ กบั ไม่มีการตัดแตง่


Click to View FlipBook Version