The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nunny1829, 2019-11-12 00:27:05

แบบฝึกทักษะเล่มที่ 4 เรื่องการสร้างตารางหาค่าจริงของประพจน์

เล่มที่ 4 การสร้างตารางหาค่าจริงของประพจน์

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง
ตรรกศาสตร์เบอ้ื งตน้
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

เล่มที่ 4

การสรา้ งตารางค่าความจริง

จดั ทาโดย ครนู นั ชลี ทรัพย์ประเสรฐิ

ตาแหนง่ ครูวิทยฐานะชานาญการ
โรงเรียนวชั รวิทยา

สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 41



คานา

แบบฝึกทกั ษะ เร่ือง ตรรกศาสตรเ์ บือ้ งตน้ ของช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ นี้ จัดทา
ข้นึ เพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ใี ชค้ วบค่กู ับแผนการจัดการ
เรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม รายวิชา ค31201 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ซงึ่ ได้จัดทา
ทง้ั หมด จานวน 12 เลม่ ไดแ้ ก่

เลม่ ที่ 1 ประพจน์
เล่มที่ 2 การเชือ่ มประพจน์
เลม่ ท่ี 3 การหาค่าความจรงิ ของประพจน์
เล่มท่ี 4 การสร้างตารางค่าความจรงิ
เล่มท่ี 5 สมมลู และนเิ สธของประพจน์
เล่มที่ 6 สัจนิรันดร์
เล่มที่ 7 การอ้างเหตผุ ล
เล่มที่ 8 ประโยคเปิด
เลม่ ท่ี 9 ตัวบ่งปริมาณ
เล่มท่ี 10 คา่ ความจริงของประโยคเปิดทมี่ ีตัวบ่งปริมาณตวั เดยี ว
เล่มท่ี 11 ค่าความจรงิ ของประโยคเปดิ ทีม่ ีตวั บง่ ปรมิ าณสองตัว
เล่มที่ 12 สมมูลและนิเสธของประโยคเปิดทีม่ ีตัวบ่งปริมาณ

ผู้จัดทาหวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่า แบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น ชดุ น้ีจะเป็น
ประโยชน์ตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนของครูได้เป็นอยา่ งดี และชว่ ยยกระดับ
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรยี นในวชิ าคณติ ศาสตรใ์ หส้ ูงขน้ึ

นันชลี ทรพั ยป์ ระเสริฐ

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

สารบญั ข

เรอื่ ง หนา้

คานา ก
สารบัญ ข
คาช้ีแจงการใช้แบบฝกึ ทกั ษะ 1
คาแนะนาสาหรับครู 2
คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3
มาตรฐานการเรยี นรู้ 4
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 5
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 6
ใบความร้ทู ่ี 1 8
แบบฝกึ ทักษะท่ี 1 17
แบบฝกึ ทกั ษะที่ 2 19
ใบความรู้ที่ 2 22
แบบฝกึ ทักษะท่ี 3 28
แบบทดสอบหลงั เรียน 33
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 35
การผ่านเกณฑ์การประเมิน 37
แบบบันทกึ คะแนน 38
เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 41
เฉลยแบบฝึกทักษะท่ี 2 42
เฉลยแบบฝึกทกั ษะที่ 3 45
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 50
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 51
คารบั รองของผู้บังคบั บัญชา 59

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

1

คาชแี้ จง
การใช้แบบฝกึ ทกั ษะ

1. แบบฝกึ ทกั ษะ เรื่อง ตรรกศาสตร์เบอื้ งต้น ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 แบ่งเป็น
12 เล่ม ดังนี้

1. เล่มที่ 1 ประพจน์
2. เลม่ ที่ 2 การเชื่อมประพจน์
3. เล่มท่ี 3 การหาค่าความจรงิ ของประพจน์
4. เล่มท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง
5. เล่มท่ี 5สมมูลและนิเสธของประพจน์
6. เลม่ ที่ 6สจั นิรนั ดร์
7. เลม่ ที่ 7การอ้างเหตุผล
8. เลม่ ที่ 8 ประโยคเปดิ
9. เล่มท่ี 9 ตัวบ่งปริมาณ
10. เลม่ ที่ 10 คา่ ความจริงของประโยคเปิดทมี่ ตี วั บ่งปรมิ าณตวั เดยี ว
11. เล่มท่ี 11 คา่ ความจริงของประโยคเปิดที่มีตัวบง่ ปริมาณสองตวั
12. เล่มที่ 12 สมมูลและนิเสธของประโยคเปิดท่ีมตี ัวบง่ ปริมาณ
2. แบบฝึกทกั ษะแต่ละเล่มมสี ่วนประกอบดงั น้ี
1. คู่มอื การใช้แบบฝกึ ทักษะ
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และสาระการเรยี นรู้
3. แบบทดสอบก่อนฝึกทกั ษะ
4. เนือ้ หาบทเรียน
5. แบบฝึกทกั ษะ
6. แบบทดสอบหลังฝึกทักษะ
7. บรรณานกุ รม
8. เฉลยคาตอบแบบฝึกทักษะ
9. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นฝกึ ทกั ษะ
10. เฉลยแบบทดสอบหลังฝึกทักษะ
3. แบบฝกึ ทักษะเล่มที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง ใชเ้ ป็นสื่อการเรียนรู้
ประกอบแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 5

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

2

คาแนะนาสาหรบั ครู

แบบฝึกทกั ษะ เรื่อง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งต้น ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 4
การสรา้ งตารางค่าความจรงิ ใหค้ รอู า่ นคาแนะนาและปฏิบตั ิตามขั้นตอน ดงั น้ี

1. ใช้แบบฝึกทักษะเลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางค่าความจรงิ ประกอบแผนการจดั
การเรียนร้ทู ี่ 5 จานวน 2 ชัว่ โมง

2. ศกึ ษาเน้อื หา เร่อื ง การสรา้ งตารางคา่ ความจริง และแบบฝึกทักษะเล่มนีใ้ ห้
เขา้ ใจกอ่ น

3. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรใู้ หน้ ักเรียนทราบ ให้นักเรยี นอ่านคาแนะนาการใช้
แบบฝกึ ทกั ษะและปฏิบตั ิตามคาแนะนาทุกข้ันตอน

4. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามข้นั ตอนทก่ี าหนดไวใ้ นแผนการจัดการเรียนรู้
5. สงั เกต ดแู ล และใหค้ าแนะนานักเรยี น เมอ่ื พบปัญหา เชน่ ไม่เข้าใจ ทาไมไ่ ด้
โดยการอธิบายหรือยกตัวอย่าง
6. เมื่อนักเรยี นทากิจกรรมเสร็จส้ินทุกขน้ั ตอนแล้ว ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ คะแนน
จากการทาแบบฝึกทักษะ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียนลงในแบบบนั ทึกคะแนนใน
เลม่ ของตนเอง เพื่อประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของตนเอง
7. ครูควรจดั ซอ่ มเสรมิ นักเรียนทีม่ ผี ลการทดสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ทีก่ าหนด
8. ครคู วรใหก้ าลงั ใจ คาแนะนา หรอื เทคนิควิธีทเี่ หมาะกบั ความแตกต่าง
ของนักเรียนแตล่ ะคน

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

3

คาแนะนาสาหรบั นกั เรยี น

แบบฝึกทกั ษะ เรือ่ ง ตรรกศาสตรเ์ บื้องต้น ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เล่มที่ 4

การสรา้ งตารางค่าความจรงิ ใชเ้ พอ่ื ฝกึ ทกั ษะ หลังจากเรยี นเนอ้ื หาในบทเรียนเสรจ็ สน้ิ

แล้ว ซ่งึ นกั เรยี นควรปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาตอ่ ไปน้ี

1. ศึกษาและทาความเขา้ ใจจุดประสงคก์ ารเรยี นรูข้ องแบบฝึกทกั ษะ

2. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพอ่ื วดั ความรู้

พื้นฐาน

3. ศกึ ษาเน้อื หาบทเรยี นและตวั อย่าง ใหเ้ ขา้ ใจ หรือถามครใู ห้ชว่ ยอธบิ ายเพ่มิ เติม

ก่อนทาแบบฝึกทักษะ โดยชัว่ โมงแรกศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 ใช้เวลา 7 นาที และชว่ั โมงสอง

ศึกษาใบความรทู้ ่ี 2 ใชเ้ วลา 7 นาที

4. ในช่วั โมงแรกใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ ทกั ษะท่ี 1 จานวน 5 ขอ้ ใชเ้ วลา 5 นาที

แบบฝึกทักษะท่ี 2 จานวน 5 ข้อ ใชเ้ วลาทา 10 นาที และชว่ั โมงสองทาแบบฝึกทักษะท่ี 3

จานวน 5 ข้อ ใชเ้ วลา ทา 15 นาที

5. เมอ่ื ทาแบบฝกึ ทักษะเสรจ็ สิน้ ตามเวลาท่ีกาหนด ใหน้ ักเรียนตรวจคาตอบ

ดว้ ยตนเองจากเฉลยในส่วนภาคผนวก

6. ให้ทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที และตรวจ

คาตอบดว้ ยตนเองจากเฉลยในส่วนภาคผนวก

7. บันทึกคะแนนจากการทาแบบฝึกทกั ษะ แบบทดสอบก่อนเรยี น และ

แบบทดสอบหลังเรยี น ลงในแบบบันทึกคะแนนของแต่ละคน เพ่อื ประเมินการพฒั นา

ความก้าวหน้าของตนเอง

8. ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทุกครงั้ นักเรยี นควรซอื่ สัตย์ตอ่ ตนเอง โดยไม่เปดิ เฉลย

แลว้ ตอบ หรอื ลอกคาตอบจากเพือ่ น เขา้ ใจในคาแนะนาแลว้
ใช่ไหม อย่าลืมปฏิบัติตาม

ด้วยนะคะ

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

4

มาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 4 : พีชคณติ
มาตรฐาน ค 4.1 : อธิบายและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์และฟงั ก์ชนั ตา่ งๆ ได้
สาระที่ 6: ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 : มคี วามสามารถในการแก้ปญั หา การให้เหตุผล การสอื่ สาร

การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ์ ละการนาเสนอ
การเชือ่ มโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเช่อื มโยง
คณติ ศาสตร์กับศาสตรอ์ ื่น ๆ และมคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์

ผลการเรยี นรู้

หาค่าความจริงของประพจน์ รูปแบบของประพจนท์ ส่ี มมูลกัน และ
บอกได้ว่าการอา้ งเหตผุ ลทีก่ าหนดใหส้ มเหตสุ มผลหรือไม่

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

5

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ดา้ นความรู้
1. นักเรียนสามารถสรา้ งตารางค่าความจรงิ ของรปู แบบของประพจนไ์ ด้

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ
1. การให้เหตุผล
2. การส่ือสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ
3. การเชือ่ มโยง

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มคี วามมงุ่ มนั่ ในการทางาน

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

6

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชีแ้ จง 1. ใหน้ ักเรียนอ่านคาถามตอ่ ไปนี้ แล้วเขียนเคร่ืองหมาย X บนตวั เลือก
ทถี่ กู ต้องท่ีสดุ เพียงขอ้ เดียว

2. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตวั เลอื ก จานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน
รวม 10 คะแนน (เวลา 10 นาที)

1. ถ้ารูปแบบของประพจน์รปู แบบหนึง่ ประกอบดว้ ยประพจน์ย่อย 5 ประพจน์ จานวนกรณีท่ี

ตอ้ งพจิ ารณาในการสร้างตารางค่าความจริง มีทั้งหมดกีก่ รณี

ก. 5 กรณี ข. 16 กรณี

ค. 30 กรณี ง. 32 กรณี

2. รูปแบบของประพจน์ [(p  q)  r]  (q  p) มีจานวนกรณีทต่ี อ้ งพจิ ารณาใน

การสร้างตารางค่าความจริง มีท้งั หมดก่กี รณี

ก. 8 กรณี ข. 14 กรณี

ค. 24 กรณี ง. 28 กรณี

3. ถ้ารูปแบบของประพจน์รูปแบบหนึง่ มีจานวนกรณีทตี่ ้องพจิ ารณาในการสร้างตาราง

ค่าความจริงทง้ั หมด 64 กรณี แลว้ รูปแบบของประพจนน์ ีป้ ระกอบดว้ ยประพจนย์ ่อย

กป่ี ระพจน์

ก. 4 ประพจน์ ข. 5 ประพจน์

ค. 6 ประพจน์ ง. 8 ประพจน์

4. รปู แบบของประพจนใ์ นข้อใดต่อไปนีม้ คี า่ ความจรงิ เปน็ จริงทกุ กรณี

ก. p  (q  p) ข.  (p  q)  p

ค. (p  q)  (p  q) ง. (p  q)  p

5. รูปแบบของประพจนใ์ นข้อใดตอ่ ไปน้มี ีคา่ ความจริงเป็นเทจ็ ทกุ กรณี

ก. p  (q  p) ข. ( p  q)  p

ค. (p  q)  q ง.  (p  q)  q

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

7

6. คา่ ความจรงิ ของ p  (q  p) มคี ่าความจรงิ สอดคลอ้ งกับข้อใด

ก. เปน็ จรงิ 1 กรณี ข. เปน็ จริง 2 กรณี

ค. เป็นจริง 3 กรณี ง. เป็นจริง 4 กรณี

7. ค่าความจรงิ ของ (p  q)  [(q  r)] มคี ่าความจริงสอดคล้องกบั ข้อใด

ก. เป็นเท็จ 1 กรณี ข. เปน็ เทจ็ 2 กรณี

ค. เป็นเทจ็ 3 กรณี ง. เปน็ เท็จ 4 กรณี

8. พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี

1) (pq)  p มีคา่ ความจรงิ เป็นจรงิ ทุกกรณี

2) (pq)  q มีค่าความจริงเปน็ เท็จทกุ กรณี

ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้กลา่ วไดถ้ ูกตอ้ ง

ก. ข้อ 1) และ 2) ถกู ข. ขอ้ 1) และ 2) ผดิ

ค. ขอ้ 1) ถูก แต่ 2) ผดิ ง. ขอ้ 1) ผิด แต่ 2) ถูก

9. คา่ ความจรงิ ของ p  (q  r) ทกุ กรณเี รียงตามลาดับได้ตรงกบั ข้อใด

ก. T, F, F, F, T, T, T, T ข. T, F, F, F, F, F, F, F

ค. T, F, T, F, T, F, T, F ง. F, F, F, F, F, F, F, T

10. กาหนดตัวเช่อื มทางตรรกศาสตร์ (*) มคี า่ ความจรงิ ดังตาราง

p q p*q ทาขอ้ สอบกอ่ นเรยี น
กนั แลว้ ..เราไปเรยี นรู้
TT F
เนอ้ื หากันเลยค่ะ
TF F

FT F

FF T

คา่ ความจริงของ p * (q  p) มีคา่ ความจริงสอดคล้องกบั ขอ้ ใด

ก. เป็นจรงิ 1 กรณี ข. เปน็ จริง 2 กรณี

ค. เป็นจรงิ 3 กรณี ง. เปน็ จริง 4 กรณี

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

8

ใบความร้ทู ี่ 1

4. การสรา้ งตารางค่าความจรงิ

พิจารณาประพจนท์ ม่ี ีตวั เช่ือม เชน่ p, pq, pq, pq, pq,
(pq)r จะเหน็ ว่าประพจน์เหลา่ น้ีมี p, q, r เป็นประพจน์ยอ่ ย ซ่งึ เรายังไม่ได้
กาหนดคา่ ความจรงิ จะเรียก p, q, r ว่าเปน็ ตวั แปรแทนประพจน์ใด ๆ และเรียก
ประพจนท์ ี่มตี ัวเชอื่ มว่า รูปแบบของประพจน์ เน่อื งจาก p, q, r เปน็ ตัวแทนประพจน์
ใด ๆ ดังนั้นในการพจิ ารณาคา่ ความจรงิ ของรูปแบบของประพจนจ์ ึงต้องกาหนดคา่
ความจรงิ ของประพจนย์ อ่ ยทุกกรณีทเี่ ปน็ ไปได้

ตารางคา่ ความจรงิ คือ ตารางท่แี สดงคา่ ความจริงท่ีเป็นไปได้ทง้ั หมดของ
ประพจน์ การสร้างตารางคา่ ความจรงิ ทาได้ดงั นี้

1. ถา้ มีประพจนห์ นึง่ ประพจน์ แลว้ จะมีค่าความจรงิ ทเ่ี ปน็ ไปได้ 2 กรณี ดงั นี้

p
T
F

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

9

2. ถ้ามปี ระพจน์สองประพจน์ แลว้ จะมีคา่ ความจรงิ ทเ่ี ปน็ ไปได้ 4 กรณี ดังน้ี

pq
TT
TF
FT
FF

3. ถา้ มีประพจนส์ ามประพจน์ แล้วจะมคี ่าความจรงิ ทเี่ ปน็ ไปได้ 8 กรณี ดงั นี้

pq r

TT T

TT F

TF T

TF F

FT T

FT F

FF T

FF F

ถา้ มีประพจน์ n ประพจน์ แลว้ จะมคี า่ ความจรงิ ท่ีเปน็ ไปได้ กรณี

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

10

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ p และ q เปน็ ประพจน์ จงสร้างตารางค่าความจริง
ของ (p  q)  p

วธิ ีทา รปู แบบของประพจน์ (p  q)  p ประกอบดว้ ยประพจนย์ ่อย
สองประพจน์ คือ p, q จึงมคี า่ ความจรงิ ท่ีเป็นไปได้ = 4 กรณี จะได้ตาราง
คา่ ความจรงิ ของ (p  q)  p ดงั น้ี

(1) (2) (3) (4)

p q p  q (p  q)  p

TT T T

TF F T

FT F T

FF F T

ช่องที่ 1 เช่ือมด้วย ช่องท่ี 3 เช่อื มด้วย
“” กบั ช่องที่ 2 “” กับช่องที่ 1

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

11

จากตัวอย่างที่ 1

อาจจะหาค่าความจริงของ (p  q)  p โดยไมต่ อ้ งอาศยั การสร้าง
ตารางไดด้ งั น้ี
ขน้ั ที่ 1

(p  q)  p
TTT
TFT
FTF
FFF
ขั้นที่ 2
(p  q)  p

T
F
F
F
ขน้ั ท่ี 3

F
(p  q)  p

T
T
T
T

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

12

จากข้นั ตอนทั้งสามข้ันตอน สามารถสรุปรวมได้ดังนี้
(p  q)  p

TTTTT
TFFTT
FFTTF
FFFTF

ค่าความจรงิ ของ

(p  q)  p

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

13

ตวั อย่างท่ี 2 กาหนดให้ p และ q เปน็ ประพจน์ จงสร้างตารางค่าความจริงของ
(p  q)  (p  q)

วธิ ที า รปู แบบของประพจน์ (p  q)  (p  q) ประกอบด้วยประพจน์ย่อย
สองประพจน์ คือ p, q จงึ มีค่าความจริงทีเ่ ปน็ ไปได้ = 4 กรณี จะไดต้ าราง
คา่ ความจริงของ (p  q)  (p  q) ดงั น้ี

(1) (2) (3) (4) (5) (6)

p q q p  q p  q (p  q)  (p  q)

TTF T T T

TFT F T F

FTF T F F

FFT T T T

ชอ่ งที่ 1 เชอ่ื มดว้ ย ช่องที่ 4 เช่อื มด้วย
“” กับช่องท่ี 2 “” กับช่องที่ 5

ช่องที่ 1 เชอ่ื มด้วย
“” กบั ช่องท่ี 3

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

14

จากตัวอย่างที่ 2 อาจเขยี นโดยไม่ใช้ตาราง ไดด้ ังนี้  q)

(p  q)  (p  F
T
TTTTTT F
TFFFTT T
FTTFFF
FTFTFT

คา่ ความจริงของ
(p  q)  (p  q)

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

15

ตัวอยา่ งท่ี 3 กาหนดให้ p และ q เปน็ ประพจน์ จงสรา้ งตารางค่าความจรงิ ของ
(p  q)  (p  q)
วิธที า รปู แบบของประพจน์ (p  q)  (p  q) ประกอบดว้ ยประพจน์ย่อย
สองประพจน์ คอื p, q จึงมคี า่ ความจริงทเ่ี ป็นไปได้ = 4 กรณี จะไดต้ ารางคา่ ความจรงิ ของ
(p  q)  (p  q) ดงั น้ี

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)

p q p q p  q (pq) p q (p  q)  (p  q)

TT F F T F T F

TF F T T F T F

FT T F T F F F

FF T T F T T T

ช่องท่ี 1 เช่อื มด้วย ช่องที่ 3 เชอ่ื มดว้ ย ช่องท่ี 6 เชื่อมดว้ ย
“” กับช่องท่ี 2 “” กับช่องที่ 4 “” กับช่องท่ี 7

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

16

จากตัวอย่างท่ี 3 อาจเขยี นโดยไมใ่ ช้ตาราง ไดด้ งั น้ี
 ( p  q )  ( p   q)
FT T T F F T F
FT T F F F T T
FF T T F T F F
TF F F T T T T

ค่าความจรงิ ของ
(p  q)  (p  q)

เรียนรเู้ นอ้ื หากนั จบแล้ว
..เราไปประลองความรู้

กนั คะ่

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

17

แบบฝึกทักษะท่ี 1

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นกั เรยี นสามารถสร้างตารางคา่ ความจริงของรปู แบบของประพจน์ได้

คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนอ่านคาถามต่อไปนี้ แลว้ เขียนเครื่องหมาย X บนตัวเลือก
ท่ีถูกตอ้ งทส่ี ดุ เพียงข้อเดยี ว

คะแนนเต็ม 5 คะแนน (ข้อละ 1 คะแนน) เวลาทา 5 นาที

**********************************************************************

1. ถ้ารูปแบบของประพจน์หน่งึ ประกอบด้วยประพจน์ยอ่ ย 3 ประพจน์ จานวนกรณี

ทตี่ ้องพิจารณาในการสร้างตารางคา่ ความจริง มีทั้งหมดกีก่ รณี

ก. 3 กรณี ข. 6 กรณี

ค. 8 กรณี ง. 9 กรณี

2. รปู แบบของประพจน์ [(p  q)  r]  (s  p) จานวนกรณีทีต่ อ้ งพจิ ารณา

ในการสร้างตารางคา่ ความจรงิ มีทง้ั หมดกีก่ รณี

ก. 8 กรณี ข. 14 กรณี

ค. 16 กรณี ง. 20 กรณี

3. จากตารางค่าความจริงตอ่ ไปนี้ ตรงกบั รูปแบบของประพจน์ในข้อใด

p q r r pq (pq)r qr

ก. (pq)  r
ข. [(pq)  r]  (q  r)
ค. (pq)  (q  r)
ง. p (q  r)

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

18

4. ถา้ รปู แบบของประพจน์รูปแบบหนงึ่ มีจานวนกรณีที่ต้องพิจารณาในการสรา้ งตาราง
คา่ ความจริงทั้งหมด 32 กรณี แสดงวา่ รปู แบบของประพจน์น้ีประกอบด้วยประพจน์
ยอ่ ยก่ีประพจน์

ก. 4 ประพจน์ ข. 5 ประพจน์
ค. 6 ประพจน์ ง. 8 ประพจน์

5. จากรปู แบบของประพจน์ [(p  q)  r]  (s  p) มชี อ่ งตารางค่าความจรงิ
ตรงกับขอ้ ใด
ก.

p q r s s pq (pq)r sp [(p  q)  r]  (s  p)

ข.

p q r pq (pq)r sp [(p  q)  r]  (s  p)

ค.
p q r s s pq (pq)r sp [(p  q)  r]  (s  p)

ง.
p q r s s pq (pq)r [(p  q)  r]  (s  p)

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

19

แบบฝกึ ทักษะท่ี 2

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นกั เรยี นสามารถสร้างตารางคา่ ความจริงของรปู แบบของประพจนไ์ ด้

คาชแ้ี จง จงสร้างตารางคา่ ความจรงิ ของรูปแบบของประพจนต์ อ่ ไปน้ี
คะแนนเตม็ 31 คะแนน เวลาทา 10 นาที

1. [(p  q) p] q

p q p  q [(p  q) p] [(p  q) p] q
TT
TF
FT
FF

2. (p  q)  (p  q)

p q p p  q p  q (p  q)  (p  q)
T
T
F
F

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

20
3. (p  q)   (q  p)
p q q p  q qp (qp) (p  q)  (q  p)

4. (p  q)  (q  p)
p q p q p  q (pq) q  p (p  q)  (q  p)

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

21

5. (p  q)  [(pq)  p]

p q q p  q (pq) pq (pq)  p (p  q) 
[(pq)  p]

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

22

ใบความรูท้ ่ี 2

4. การสรา้ งตารางค่าความจริง (ตอ่ )

ทบทวน
พิจารณาประพจน์ทีม่ ีตวั เช่ือม เชน่ p, pq, pq, pq, pq,
(pq)r จะเห็นว่าประพจน์เหล่าน้ีมี p, q, r เป็นประพจน์ยอ่ ย ซงึ่ เรายังไม่ได้
กาหนดคา่ ความจริง จะเรียก p, q, r วา่ เป็นตัวแปรแทนประพจน์ใด ๆ และเรียก
ประพจน์ทม่ี ีตัวเชอ่ื มว่า รูปแบบของประพจน์ เนื่องจาก p, q, r เป็นตวั แทนประพจน์
ใด ๆ ดงั นน้ั ในการพิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจนจ์ งึ ตอ้ งกาหนดค่า
ความจรงิ ของประพจน์ยอ่ ยทกุ กรณีท่ีเปน็ ไปได้
ตารางค่าความจริง คอื ตารางทแี่ สดงค่าความจรงิ ที่เป็นไปได้ท้งั หมดของ
ประพจน์ การสรา้ งตารางค่าความจรงิ ทาไดด้ งั นี้
1. ถ้ามปี ระพจนห์ นึ่งประพจน์ แล้วจะมีคา่ ความจริงท่ีเปน็ ไปได้ 2 กรณี ดังน้ี

p
T
F

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

23

2. ถ้ามปี ระพจนส์ องประพจน์ แลว้ จะมคี ่าความจริงทเี่ ปน็ ไปได้ 4 กรณี ดงั น้ี

pq
TT
TF
FT
FF

3. ถา้ มีประพจนส์ ามประพจน์ แล้วจะมคี ่าความจริงท่เี ปน็ ไปได้ 8 กรณี ดงั นี้

pq r
TT T
TT F
TF T
TF F
FT T
FT F
FF T
FF F

ถา้ มีประพจน์ n ประพจน์ แล้วจะมีค่าความจริงที่เปน็ ไปได้ กรณี

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

24

ตวั อยา่ งท่ี 1 กาหนดให้ p, q และ r เปน็ ประพจน์ จงสร้างตารางคา่ ความจริงของ
[(p  q)  r]  (p  r)

วธิ ที า รปู แบบของประพจน์ [(p  q)  r]  (p  r) ประกอบด้วยประพจนย์ ่อย
สามประพจน์ คือ p, q และ r จึงมคี า่ ความจรงิ ท่ีเป็นไปได้ = 8 กรณี จะได้ตาราง
ค่าความจริงของ [(p  q)  r]  (p  r) ดังน้ี

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

p q r p  q (pq)  r p  r [(p  q)r]
 (p  r)
TTT T T T
TTF T F F T
TFT F F T F
TFF F T F T
FTT F F T T
FTF F T T T
FFT F F T T
FFF F T T T
T

ช่องที่ 1 เชื่อมดว้ ย ช่องท่ี 5 เช่ือมด้วย
“” กับช่องที่ 2 “” กบั ช่องท่ี 6

ชอ่ งท่ี 4 เชื่อมด้วย ช่องท่ี 1 เช่ือมดว้ ย
“” กับช่องที่ 3 “” กับช่องท่ี 3

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

25

จากตวั อยา่ งท่ี 1 อาจเขียนโดยไม่ใช้ตาราง ได้ดังนี้

[(p  q)  r ]  (p  r )

TTTTTTTTT
TTTFFFTFF
TFFFTTTTT
TFFTFTTFF
FFTFTTFTT
FFTTFTFTF
FFFFTTFTT
FFFTFTFTF

**

นาช่องท่ีมเี ครื่องหมาย * เชื่อมกันดว้ ยตวั เชอื่ ม 
จะได้คา่ ความจรงิ ของ

[(p  q)  r]  (p  r)

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

26

ตวั อยา่ งที่ 2 กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ จงสร้างตารางคา่ ความจริงของ
[(p  q) r]  (r  q)

วิธีทา รูปแบบของประพจน์ [(p  q) r]  (r  q) ประกอบด้วยประพจน์ย่อย
สามประพจน์ คอื p, q และ r จงึ มคี ่าความจริงท่ีเป็นไปได้ = 8 กรณี จะได้ตาราง
คา่ ความจรงิ ของ [(p  q) r]  (r  q) ดงั น้ี

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)

p q r p r p  q r  q (p  q) [(p  q) r]
r  (r  q)

TTT F F T F T T
TTF F T T T F T
TFT F F F F T T
TFF F T F F T T
FTT T F T F T T
FTF T T T T F T
FFT T F T F T T

FFF T T T F F F

ชอ่ งที่ 4 เชือ่ มดว้ ย ช่องท่ี 8 เชือ่ มด้วย
“” กบั ช่องท่ี 2 “” กบั ช่องท่ี 7

ชอ่ งที่ 5 เชือ่ มด้วย ชอ่ งที่ 6 เช่อื มด้วย
“” กับช่องท่ี 2 “” กบั ช่องที่ 3

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

27

จากตวั อยา่ งที่ 2 อาจเขยี นโดยไม่ใชต้ าราง ได้ดงั น้ี q)
[(p  q)  r]  (r 

FTTTTTFFT
FTTFFTTTT
FFFTTTFFF
FFFTFTTFF
TTTTTTFFT
TTTFFTTTT
TTFTTTFFF

T T F *F F F T *F F

นาช่องท่ีมีเครื่องหมาย * เชื่อมกนั ดว้ ยตวั เช่ือม 
จะได้คา่ ความจริงของ

[(p  q) r]  (r  q)

เรียนรู้เนอื้ หากนั จบแลว้
..เราไปประลองความรู้

กันคะ่

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

28

แบบฝกึ ทักษะท่ี 3

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. นกั เรียนสามารถสร้างตารางคา่ ความจรงิ ของรปู แบบของประพจนไ์ ด้

คาชี้แจง จงสรา้ งตารางคา่ ความจริงของรูปแบบของประพจนต์ อ่ ไปนี้
คะแนนเต็ม 35 คะแนน เวลาทา 15 นาที

1. p  (q  r)

p q r qr P  (q  r)
TTT
TTF
TFT
TFF
FTT
FTF
FFT
FFF

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

29

2. (p  q)  (q  r)

p q r q p  q q  r (p  q)  (q  r)
TT
TT
TF
TF
FT
FT
FF
FF

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

30

3. (q  r)  [(q  p)  r]

p q r r q  r q  p (q  p)  r (q  r) 
[(q  p)  r]

T

T

T

T

F

F

F

F

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

31

4. [(p  q)  r]  [p  (q  r)]

p q r q r pq (p  q) q  r P [(p  q)  r] 
 r (q  r) [p  (q  r)]

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

32

5. [p (q  r)]  [(p  q)  r]

p q r p q r q r p p  q (p  q) [p (q  r)] 
(q  r)  r [(p  q)  r]

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

33

.

แบบทดสอบหลังเรยี น

คาชี้แจง 1. ให้นกั เรียนอ่านคาถามต่อไปนี้ แลว้ เขียนเครอ่ื งหมาย X บนตัวเลือก
ที่ถูกตอ้ งทสี่ ุดเพยี งข้อเดียว

2. แบบทดสอบเปน็ แบบปรนยั 4 ตวั เลือก จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
รวม 10 คะแนน (เวลา 10 นาที)

1. ถา้ รูปแบบของประพจน์รปู แบบหนึง่ มจี านวนกรณีทต่ี อ้ งพจิ ารณาในการสร้างตาราง

ค่าความจริงทงั้ หมด 64 กรณี แลว้ รูปแบบของประพจน์นี้ประกอบด้วยประพจน์ยอ่ ย

ก่ปี ระพจน์

ก. 4 ประพจน์ ข. 5 ประพจน์

ค. 6 ประพจน์ ง. 8 ประพจน์

2. ถ้ารูปแบบของประพจน์รูปแบบหน่ึงประกอบด้วยประพจนย์ ่อย 5 ประพจน์ จานวนกรณี

ทต่ี อ้ งพจิ ารณาในการสร้างตารางค่าความจรงิ มที ัง้ หมดกีก่ รณี

ก. 5 กรณี ข. 16 กรณี

ค. 30 กรณี ง. 32 กรณี

3. รูปแบบของประพจนใ์ นขอ้ ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จทุกกรณี

ก. p  (q  p) ข. ( p  q)  p

ค. (p  q)  q ง.  (p  q)  q

4. รูปแบบของประพจน์ [(p  q)  r]  (q  p) มีจานวนกรณีท่ีตอ้ งพจิ ารณาใน

การสร้างตารางค่าความจริง ทง้ั หมดก่ีกรณี

ก. 8 กรณี ข. 14 กรณี

ค. 24 กรณี ง. 28 กรณี

5. รูปแบบของประพจนใ์ นขอ้ ใดต่อไปน้มี ีค่าความจรงิ เป็นจรงิ ทุกกรณี

ก. p  (q  p) ข.  (p  q)  p

ค. (p  q)  (p  q) ง. (p  q)  p

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

34

6. พจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้

1) (pq)  p มคี า่ ความจรงิ เป็นจรงิ ทุกกรณี

2) (pq)  q มีค่าความจริงเป็นเทจ็ ทุกกรณี

ขอ้ ใดต่อไปนี้กลา่ วไดถ้ กู ตอ้ ง

ก. ขอ้ 1) และ 2) ถูก ข. ข้อ 1) และ 2) ผิด

ค. ขอ้ 1) ถกู แต่ 2) ผิด ง. ข้อ 1) ผดิ แต่ 2) ถูก

7. คา่ ความจรงิ ของ p  (q  p) มคี า่ ความจริงสอดคลอ้ งกับขอ้ ใด

ก. เป็นจรงิ 1 กรณี ข. เป็นจริง 2 กรณี

ค. เปน็ จริง 3 กรณี ง. เป็นจรงิ 4 กรณี

8. ค่าความจริงของ p  (q  r) ทกุ กรณีเรยี งตามลาดับไดต้ รงกบั ข้อใด

ก. T, F, F, F, T, T, T, T ข. T, F, F, F, F, F, F, F

ค. T, F, T, F, T, F, T, F ง. F, F, F, F, F, F, F, T

9. กาหนดตวั เช่ือมทางตรรกศาสตร์ (*) มีค่าความจรงิ ดังตาราง

p q p*q ไม่ยากเลย
ใช่ไหมคะ
TT F

TF F

FT F

FF T

ค่าความจรงิ ของ p * (q  p) มีค่าความจริงสอดคลอ้ งกับขอ้ ใด

ก. เปน็ จรงิ 1 กรณี ข. เปน็ จริง 2 กรณี

ค. เปน็ จริง 3 กรณี ง. เป็นจรงิ 4 กรณี

10. ค่าความจรงิ ของ (p  q)  [(q  r)] มคี ่าความจริงสอดคล้องกับข้อใด

ก. เปน็ เท็จ 1 กรณี ข. เป็นเท็จ 2 กรณี

ค. เป็นเทจ็ 3 กรณี ง. เปน็ เท็จ 4 กรณี

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

35

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ดา้ นความรู้

- แบบฝกึ ทักษะที่ 1 : ตอบได้ถูกตอ้ ง ใหข้ อ้ ละ 1 คะแนน
- แบบฝกึ ทกั ษะที่ 2

1) ข้อ 1 คะแนนเตม็ 3 คะแนน
2) ข้อ 2 คะแนนเต็ม 5 คะแนน
3) ข้อ 3 คะแนนเต็ม 7 คะแนน
4) ขอ้ 4 – 5 คะแนนเต็ม 8 คะแนน
โดยพจิ ารณาดงั น้ี ใหช้ อ่ งละ 1 คะแนน เรียงตามลาดับจากช่องแรกไปยงั ชอ่ งสดุ ท้าย
เช่นเติมช่อง 1 ถูกได้ 1 คะแนน เตมิ ชอ่ ง 1 – 2 ถูกได้ 2 คะแนน เติมชอ่ ง 1 – 3 ถูกได้ 3
คะแนน เป็นตน้
- แบบฝกึ ทักษะที่ 3
1) ขอ้ 1 คะแนนเตม็ 2 คะแนน
2) ขอ้ 2 คะแนนเต็ม 5 คะแนน
3) ขอ้ 3 คะแนนเต็ม 7 คะแนน
4) ข้อ 4 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
5) ข้อ 5 คะแนนเต็ม 11 คะแนน
โดยพิจารณาดงั น้ี ใหช้ ่องละ 1 คะแนน เรียงตามลาดับจากช่องแรกไปยังชอ่ งสุดทา้ ย
เชน่ เติมช่อง 1 ถกู ได้ 1 คะแนน เติมชอ่ ง 1 – 2 ถูกได้ 2 คะแนน เตมิ ช่อง 1 – 3 ถูกได้
3 คะแนน เป็นต้น
- แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลงั เรียน: ตอบได้ถูกตอ้ ง ใหข้ อ้ ละ 1 คะแนน

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

36

ดา้ นทักษะกระบวนการ

การให้เหตุผล การส่ือสาร และการเช่ือมโยง แบ่งการใหค้ ะแนนเป็น 3 ระดบั ดังนี้
3 หมายถึง ระดับดี
2 หมายถึง ระดับพอใช้
1 หมายถึง ระดับปรบั ปรุง

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มั่นในการทางาน แบง่ การใหค้ ะแนนเป็น 3 ระดบั ดังนี้
3 หมายถึง ระดบั ดี
2 หมายถึง ระดับพอใช้
1 หมายถงึ ระดบั ปรับปรงุ

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

37

การผ่านเกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้
- แบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 – 3 นกั เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ 80 ข้ึนไป
- แบบทดสอบหลงั เรยี น นักเรียนตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ 80 ขน้ึ ไป

ดา้ นทักษะกระบวนการ
นักเรียนต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80 ขึ้นไป

ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
นักเรียนต้องไดค้ ะแนนร้อยละ 80 ขนึ้ ไป

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

38

แบบบันทึกคะแนน

คาชแี้ จง 1. ให้นักเรียนบนั ทึกคะแนนจากการทาแบบฝกึ ทกั ษะ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
และหลงั เรียน

2. ใหท้ าเครอ่ื งหมาย ท่ชี อ่ งสรุปผลตามผลการประเมินจากแบบฝกึ ทักษะ
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน

ที่ รายการ คะแนน คะแนน คิดเปน็ สรปุ ผล
เตม็ ท่ีได้ ร้อยละ ผา่ น ไม่ผา่ น

1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 10

2 แบบฝึกทกั ษะที่ 1 5

3 แบบฝกึ ทกั ษะที่ 2 31

4 แบบฝึกทกั ษะที่ 3 35

5 แบบทดสอบหลงั เรยี น 10

วิธีคดิ คะแนน

ให้นกั เรยี นนาคะแนนของตนเองในแต่ละรายการคูณกบั 100 แล้วหารด้วยคะแนนเต็ม
ของแต่ละรายการ

ตวั อยา่ ง นายรกั เรยี น ไดค้ ะแนนจากแบบฝึกทักษะที่ 1 13 คะแนน จากคะแนนเตม็ 15

คะแนน 13100
15
คิดเปน็ รอ้ ยละไดด้ งั น้ี  86.67

ดงั นน้ั นายรกั เรียนมคี ะแนน 86.67% และผ่านการทดสอบจากแบบฝกึ ทักษะที่ 1

คดิ เป็นแลว้ ใชไ่ หมคะ.. ถ้าอยา่ งนั้นเราควรนาผลการประเมนิ มาพัฒนาตนเองดว้ ยนะ ^^

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

39

บรรณานุกรม

กนกวลี อษุ ณกรกลุ และคณะ, แบบฝกึ หดั และประเมินผลการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์
เพิม่ เติม ม.4 – 6 เล่ม 1 ชว่ งชน้ั ท่ี 4. กรงุ เทพฯ : เดอะบคุ ส์, 2553.

กมล เอกไทยเจรญิ , Advanced Series คณติ ศาสตร์ ม. 4 – 5 – 6 เล่ม 3 (พ้ืนฐาน &
เพิ่มเติม). กรงุ เทพฯ : ไฮเอด็ พับลิชช่งิ จากดั , 2555.

________ , เทคนคิ การทาโจทย์ข้อสอบ คณติ ศาสตร์ ม.4 เทอม 1. กรุงเทพฯ :
ไฮเอด็ พับลชิ ชง่ิ จากัด, 2556.

จักรนิ ทร์ วรรณโพธกิ์ ลาง, สุดยอดคานวณและเทคนิคคดิ ลดั คูม่ ือประกอบการเรยี นการสอน
รายวิชาเพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ ม.4 – 6 เลม่ 1. กรงุ เทพฯ : ธนธชั การพิมพ์ จากัด,
2553.

จีระ เจริญสขุ วิมล, Quick Review คณิตศาสตร์ ม.4 เลม่ รวม เทอม 1 – 2 (รายวชิ า
พ้นื ฐานและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พับลิชชง่ิ จากดั , 2555.

พพิ ัฒน์พงษ์ ศรวี ศิ ร, คมู่ ือคณิตศาสตร์เพ่มิ เติม เล่ม 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 – 6. กรงุ เทพฯ :
เดอะบคุ ส์, 2553.

มนตรี เหรยี ญไพโรจน์, Compact คณิตศาสตร์ม.4. กรุงเทพฯ : แมค็ เอด็ ดเู คชัน่ , 2557.
รณชัย มาเจรญิ ทรพั ย์, หนังสอื ค่มู อื เตรยี มสอบคณติ ศาสตร์เพิม่ เตมิ เล่ม 1 ช้นั ม.4 – 6.

กรงุ เทพฯ : ภมู ิบณั ฑิตการพิมพ์ จากดั , มปป.
เลศิ สิทธิโกศล, Math Review คณิตศาสตร์ ม.4 – 6 เลม่ 1 (เพมิ่ เตมิ ). กรงุ เทพฯ :

ไฮเอด็ พับลชิ ชง่ิ จากดั , 2554.
ศักด์ิสิน แกว้ ประจบ, หนงั สือคมู่ ือเสรมิ รายวิชาคณิตศาสตรเ์ พมิ่ เติม ม. 4 – 6 เลม่ 1.

กรุงเทพฯ : พบี ซี ี, 2554.
สมยั เหล่าวานิชย์, ค่มู ือคณติ ศาสตร์ ม. 4 -5 – 6. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์

เจริญดี การพมิ พ์, 2547.
________ , Hi-ED’s Mathematics คณติ ศาสตร์ ม.4 – 6 เล่ม 1 (รายวิชา พน้ื ฐานและ

เพม่ิ เติม). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพบั ลิชชิ่ง จากดั , 2554.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. คูม่ ือสาระการเรยี นรู้พนื้ ฐาน

คณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปีท่ี 4. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ ุสภา ลาดพร้าว, 2551.
________ , หนังสือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติม คณติ ศาสตร์ เลม่ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 – 6
กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภา ลาดพร้าว, 2555.
สมทบ เลี้ยงนิรตั น์ และคณะ, แบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ ม.4 – 6 เพิม่ เตมิ เลม่ 1. กรงุ เทพฯ :
วีบุค๊ จากดั , 2558.

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

40

ภาคผนวก

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

41

เฉลยแบบฝกึ ทักษะที่ 1

1. ค
2. ค
3. ข
4. ข
5. ก

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

42

เฉลยแบบฝกึ ทักษะท่ี 2

1. [(p  q) p] q

p q p  q [(p  q) p] [(p  q) p] q

TT T T T

TF F F T

FT T F T

FF T F T

2. (p  q)  (p  q)

p q p p  q p  q (p  q)  (p  q)

TTF T T T

TFF F F T

FTT T T T

FFT T T T

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

43

3. (p  q)   (q  p)

p q q p  q qp (qp) (p  q)  (q  p)

TT F F TF F

TF T T TF F

FT F T TF F

FF T T FT T

4. (p  q)  (q  p)

p q p q p  q (pq) q  p (p  q)  (q  p)

TT F F T F F T
T
TF F T T F F T
T
FT T F T F F

FF T T F T T

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

44

5. (p  q)  [(pq)  p]

p q q p  q (pq) pq (pq)  p (p  q) 
[(pq)  p]

TT F T F F T F

TF T F T T T T

FT F F T T F F

FF T T F F T F

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

45

เฉลยแบบฝึกทกั ษะที่ 3

1. p  (q  r)

p q r q  r p  (q  r)

TTT T T

TTF F F

TFT F F

TFF F F

FTT T F

FTF F T

FFT F T

FFF F T

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เลม่ ที่ 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจริง

46

2. (p  q)  (q  r)

p q r q p  q q  r (p  q)  (q  r)

TTTF T F T

TTFF T T T

TFTT F T T

TFFT F F F

FTTF T F T

FTFF T T T

FFTT T T T

FFFT T F T

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ

47

3. (q  r)  [(q  p)  r]

p q r r q  r q  p (q  p)  r (q  r) 
[(q  p)  r]

TTTF T T T T

TTFT T T F F

TFTF F T T F

TFFT T T F F

FTTF T F F F

FTFT T F F F

FFTF F T T F

FFFT T T F F

แบบฝกึ ทกั ษะ เรอื่ ง ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เลม่ ท่ี 4 การสรา้ งตารางคา่ ความจรงิ


Click to View FlipBook Version