มาตรฐานทางจรยิ ธรรมสาหรับเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐ
**************
มาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย
(ฉบับพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ – ฉบบั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยท่ีได้มีการบัญญัติเรื่องคุณธรรม
และจริยธรรมไว้ในฐานะท่ีเป็นเรื่องสาคัญ โดยมาตรา ๗๗
กาหนดให้ “รัฐต้องจัดให้มีแผนพัฒนาการเมือง จัดทา
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมือง ข้าราชการ และพนักงานหรือลูกจ้างอ่ืนของรัฐ
เพ่ือป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าท่ี” คณะรัฐมนตรีในการประชุม
เมื่อวันท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ มีมติเห็นชอบแผนการ
ปรับเปล่ียนวัฒนธรรมและค่านิยมในการบริหารภาครัฐ
โดยกาหนดให้รัฐจัดทา.“ค่านิยมสร้างสรรค์สาหรับเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ” และ ก.พ. ในการประชุมเมื่อวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๓
มีมติเห็นชอบให้นาค่านิยมสร้างสรรค์ไปเป็นแนวทางสาคัญ
ในการจัดทามาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของทุก
ส่วนราชการ
มาตรฐานทางจริยธรรม ๑
ทั้งน้ี ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๔๐ กาหนดค่านิยมสร้างสรรค์ ๕ ประการ
ได้แก่
๑. การยดึ มนั่ และยนื หยดั ทาในสงิ่ ท่ถี กู ต้อง
๒. ความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ และความรับผดิ ชอบ
๓. การปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความโปร่งใสและสามารถ
ตรวจสอบได้
๔. การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่
เปน็ ธรรม
๕. การม่งุ ผลสัมฤทธิข์ องงาน
อย่างไรก็ตาม ในมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ก็ยังขาดสภาพบังคับ
(Sanction) เพราะไม่มีบทกาหนดโทษว่า หากมีการฝ่าฝืน
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมแล้ว ผู้กระทาจะต้อง
ได้รับโทษอย่างไร อีกท้ัง ไม่ได้กาหนดหน่วยงานที่จะกากับดูแล
การจัดทาประมวลจริยธรรมการคุ้มครองการละเมิดประมวล
จริยธรรม รวมถึงไม่มีแนวทางท่ีชัดเจนในการส่งเสริมให้ผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
มีจิตสานึกด้านจริยธรรมและจิตสานึกที่ดี ทาให้การขับเคลื่อน
ภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมยังไม่ประสบผลสาเร็จ
เท่าท่คี วร
๒ มาตรฐานทางจริยธรรม
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าว รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ จึงได้
กาหนดให้ “มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐแต่ละประเภท
ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กาหนดขึ้น...” และมาตรา ๒๘๐
กาหนดให้ “...ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มอี านาจหน้าที่เสนอแนะหรือ
ให้คาแ นะ นา ในก า รจัด ทา หรือป รับปรุ งประ ม วลจริ ยธรร ม
ส่งเสริมให้ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่
ของรัฐ ให้มีจิตสานึกในด้านจริยธรรม...” และมาตรา ๒๗๙
วรรคสาม กาหนดให้การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน
ทางจริยธรรมตามวรรคหน่ึงถือว่าเป็นการกระทาผิดทางวินัย
ในกรณีท่ีผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินรายงานต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือ
สภาท้องถ่ินท่ีเก่ียวข้อง แล้วแต่กรณี และหากเป็นการกระทา
ผดิ รา้ ยแรง ใหส้ ง่ เรอื่ งให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตแห่งชาติพิจารณาดาเนินการ โดยให้ถือเป็นเหตุท่ีจะ
ถูกถอดถอนออกจากตาแหน่งตามมาตรา ๒๗๐”.จุดเด่น
ท่สี าคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
.ได้วางหลักในการพิจารณาสรรหา กลั่นกรอง หรือแต่งต้ัง
บุคคลเข้าสู่ตาแหน่งที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้อานาจรัฐ
มาตรฐานทางจริยธรรม ๓
รวมทั้งการโยกย้าย การเล่ือนตาแหน่ง การเลื่อนเงินเดือน
และการลงโทษบุคคลให้เป็นไปตามระบบคณุ ธรรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ผู้ตรวจการแผ่นดินกาหนดค่านิยมหลัก สาหรับผู้ดารงตาแหน่ง
นักการเมืองและเจา้ หน้าทีข่ องรฐั ๙ ประการ ดังนี้
๑. การยึดมั่นในคณุ ธรรมและจริยธรรม
๒. การมีจติ สานกึ ทด่ี ี ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ และรับผิดชอบ
๓. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่า
ประโยชน์ส่วนตนและไมม่ ีผลประโยชน์ทับซ้อน
๔. การยืนหยัดทาในสิ่งท่ีถูกต้อง เป็นธรรม และถูก
กฎหมาย
๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว
มีอัธยาศัย และไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ
๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน
ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเทจ็ จรงิ
๗. การมุ่งผลสัมฤทธ์ิของงาน รักษามาตรฐาน
มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้
๘. การยึด มั่นในระ บอบประ ชาธิปไ ตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
๙. การยึดมนั่ ในหลักจรรยาวชิ าชีพขององคก์ ร
๔ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตรา ๗๖ ได้กาหนดสาระสาคัญเก่ียวกับมาตรฐาน
ทางจรยิ ธรรมไว้ ดังนี้
รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดิน
ทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐ
อย่างอ่ืน ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
โดยหนว่ ยงานของรัฐตอ้ งรว่ มมือและชว่ ยเหลือกันในการปฏิบัติ
หน้าที่ เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดทาบริการ
สาธารณะและการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพสูงสุด
เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน รวมตลอดท้ังพัฒนาเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการ
ประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ
และปฏิบัตหิ นา้ ที่อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
รั ฐ พึ ง ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ มี ก ฎ ห ม า ย เ ก่ี ย ว กั บ
การบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ ให้เป็นไปตาม
ระบบคณุ ธรรม โดยกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการ
ป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อานาจ หรือกระทาการโดยมิชอบที่เป็นการ
ก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าท่ี หรือกระบวนการ
แตง่ ตงั้ หรือการพจิ ารณาความดคี วามชอบของเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั
มาตรฐานทางจริยธรรม ๕
รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้
หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกาหนดประมวลจริยธรรม
สาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานน้ัน ๆ ซ่ึงต้องไม่ต่ากว่า
มาตรฐานทางจริยธรรมดงั กล่าว
ในมาตรา ๒๕๘ ข. (๔) ได้กาหนด “ให้มีการปรับปรุง
และพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐเพ่ือจูงใจให้ผู้มีความรู้
ความสามารถอย่างแท้จริงเข้ามาทางานในหน่วยงานของรัฐ
และสามารถเจรญิ ก้าวหน้าได้ตามความสามารถและผลสัมฤทธ์ิ
ของงานของแต่ละบุคคล มีความซื่อสัตย์สุจริต กล้าตัดสินใจ
และกระทาในสิ่งท่ีถกู ต้อง โดยคดิ ถงึ ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตัว มีความคิดสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ
เพื่อให้การปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผ่นดิน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมาตรการคุ้มครองป้องกัน
บุคคลากรภาครัฐจากการใช้อานาจโดยไม่เป็นธรรมของ
ผู้บังคับบัญชา” นอกจากการกาหนดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม
สาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้ว ยังได้กาหนดไว้ในมาตรา ๒๑๙
“ให้ศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระร่วมกันกาหนดมาตรฐาน
ทางจริยธรรมขึ้นใช้บังคับแก่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและ
ผดู้ ารงตาแหน่งในองค์กรอิสระรวมทั้งผวู้ ่าการตรวจเงินแผ่นดิน
และหัวหน้าหน่วยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ
๖ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
และเม่ือประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ ท้ังน้ี
มาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าวต้องครอบคลุมถึงการรักษา
เกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชาติ และต้องระบุให้ชัดแจ้ง
ด้วยว่าการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมใด
มลี ักษณะร้ายแรง”
สาหรับการจัดทามาตรฐานทางจริยธรรมตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างดาเนินการ คณะรัฐมนตรีในการประชุม
เม่ื อ วั น ท่ี ๑ ๓ กั น ย า ย น ๒ ๕ ๕ ๙ มี ม ติ ม อ บ ห ม า ย ใ ห้
รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) กากับดูแลให้
หน่วยงานผ้รู บั ผดิ ชอบ การดาเนินการเตรียมการให้เป็นไปตาม
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ ก.พ. รับผิดชอบการจัดทา
มาตรฐานทางจริยธรรมบุคคลของหน่วยงานของรัฐร่วมกับ
องค์กรกลางบริหารงานบุคคลประเภทต่าง ๆ โดยผลจากการ
ประชุมร่วมกับองค์กรกลางบริหารงานบุคคลประเภทต่าง ๆ
ได้กาหนดค่านิยมหลัก สาหรับการเป็นข้าราชการและ
เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ ๗ ประการ ได้แก่
๑. ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศอันได้แก่ ชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๗
๒. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต มีจิตสานึกท่ีดีและความรับผิดชอบ
ต่อหน้าท่ี
๓. ยืนหยดั ในส่ิงท่ถี กู ตอ้ งชอบธรรม
๔. ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นท่ีต้ัง และมีจิต
สาธารณะ
๕. มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน
๖. ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิโดยไม่เป็นธรรม
๗. ดารงตนเป็นแบบอย่างท่ีดีและรักษาภาพลักษณ์
ของทางราชการ
การนามาตรฐานทางจริยธรรมมาปรับใช้ให้เกิดผล
เป็นรูปธรรมควรเป็นการดาเนินการในเชิงบวก หรือเป็นการ
“ป้องปราม” โดยนาไปยึดโยงกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
เช่น การกาหนดให้มีการนาผลการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานทางจริยธรรม หรือประมวลจริยธรรมของ
หน่วยงานไปใช้ในขั้นตอนบรรจุ แต่งตั้ง การประเมินผล
การปฏิบัติราชการ ซึ่งการดาเนินการทางจริยธรรมจะแตกต่าง
จากการดาเนินการลงโทษทางวินัยอันเป็นการดาเนินการ
ในเชิงลบ หรือ “ป้องปราบ”
๘ มาตรฐานทางจริยธรรม
สาหรับกลไกการขับเคลื่อนงานด้านจริยธรรม
มุ่ ง เ น้ น ใ ห้ ส่ ว น ร า ช ก า ร เ ป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร
และเสนอให้มี “คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
เจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือเรียกว่า กมจ. เป็นคณะกรรมการ
ระดับชาติ ทาหน้าที่เสนอแนะนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริม
จริยธรรม รับผิดชอบการจัดทาและปรับปรุงมาตรฐาน
ทางจริยธรรม ให้คาปรึกษาแนะนาแก่องค์กรกลาง
การบริหารงานบุคคลต่าง ๆ วินิจฉัย ตีความ หรือให้ความเห็น
ในเร่ืองที่ขัดแย้งกับมาตรฐานทางจริยธรรม ตลอดจนกากับ
ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐาน
ทางจริยธรรม เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๙
มาตรฐานทางจริยธรรมของตา่ งประเทศ
*****************
สานักงาน ก.พ. ได้ศึกษามาตรฐานทางจริยธรรม
ของตา่ งประเทศ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ข้อมูลประกอบการจัดทามาตรฐาน
ท า ง จ ริ ย ธ ร ร ม ต า ม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยเลือกศึกษาจากประเทศที่มีแนวทาง
การดาเนินการด้านจริยธรรมท่ีเข้มแข็ง ท้ังในภูมิภาคเอเชีย
และภมู ิภาคอนื่ ๆ ไดแ้ ก่
๑. สหรัฐอเมรกิ า
๒. สหราชอาณาจกั ร
๓. เครอื รัฐออสเตรเลยี
๔. นวิ ซีแลนด์
๕. ญ่ปี ุ่น
๖. สาธารณรัฐสิงคโปร์
๗. เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแหง่ สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน
๘. Organization for Economic Co-operation
and Development (OECD)
๑๐ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
โดยเป็นการศึกษาในประเด็นท่ีเกยี่ วข้องกบั การกาหนดค่านยิ มหลัก
(Core Value) มาตรฐานทางจริยธรรม (Ethical Standard)
หลักความประพฤติทางจริยธรรม (Code of Conduct).รวมถึง
หน่วยงานที่เป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนจริยธรรม และ
การออกกฎหมายหรือระเบียบท่ีใช้บังคับกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
และบุคลากรประเภทต่ าง ๆ ซ่ึ งจากการศึกษาพบว่า
การดาเนนิ การมคี วามแตกตา่ งกัน ดงั น้ี
สหรัฐอเมริกา
ประเดน็ สรุปรายละเอยี ด
เนื้อหาสาระ กาหนดให้เจ้าหน้าทีข่ องรฐั (Any person in government
service) ปฏิบัติตาม Code of Ethics for U.S.
Government Service
๑. จงรักภักดีต่อประเทศ ยึดหลักคุณธรรมเหนือ
สิ่งอ่ืนใด และมีความจงรักภักดีต่อชาติ เหนือกว่า
ความจงรักภักดีต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ
หน่วยงานต้นสงั กัดของตน
Put loyalty to the highest moral principles
and to country above loyalty to persons,
party, or Government department.
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๑๑
ประเด็น สรุปรายละเอียด
เนอื้ หาสาระ ๒. เคารพในกฎหมาย ยึดม่ันในรัฐธรรมนูญและ
กฎหมายของประเทศ
Uphold the Constitution, laws, and regulations
of the United States and of all governments
therein and never be a party to their evasion.
๓. ให้ค่าจ้างตามผลการปฏิบัติงานและความคิด
ทุ่มเทปฏิบัติงานราชการตามความรับผิดชอบ
อยา่ งเตม็ ทจ่ี นสุดความรู้ความสามารถของตน
Give a full day’s labor for a full day’s pay;
giving earnest effort and best thought to
the performance of duties
๔. แสวงหาวิธีปฏิบัติงานให้บรรลุความสาเร็จ
ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประหยัดมากขึ้น
Seek to find and employ more efficient and
economical ways of getting tasks accomplished
๕. ไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อบุคคลใด
ไม่ว่าจะเพ่ือประสงค์ส่ิงตอบแทนหรือไม่ รวมท้ัง
ไม่เอ้ือประโยชน์ต่อบุคคลจนอาจส่งผลกระทบ
ตอ่ การปฏิบตั ิราชการ
Never discriminate unfairly by the dispensing
of special favors or privileges to anyone,
๑๒ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ประเดน็ สรุปรายละเอียด
เน้อื หาสาระ whether for remuneration or not; and never
accept, for himself or herself or for family
members, favors..or benefits under circumstances
which might be construed by reasonable
persons as influencing the performance of
governmental duties.
๖. ไม่ให้คาม่ันสัญญาใด ๆ อันกระทบต่อ
การปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ไม่รับปากเป็นการส่วนตัวต่อผู้ใด
ว่าจะกระทาการหรือไม่กระทาการใด โดยอาศัย
อานาจหนา้ ทท่ี างราชการ
Make no private promises of any kind
binding upon the duties of office, since a
Government employee has no private word
which can be binding on public duty.
๗. ไมท่ าธุรกิจกับภาครัฐ หรอื กับหน่วยงานของตน
งดเว้นการประกอบธุรกิจ ทั้งโดยทางตรงหรือ
ทางอ้อม กบั หนว่ ยงานภาครฐั
Engage in no business with the Government,
either directly or indirectly, which is inconsistent
with the conscientious performance of
governmental duties.
มาตรฐานทางจริยธรรม ๑๓
ประเด็น สรุปรายละเอยี ด
เนื้อหาสาระ ๘. ไม่นาข้อมูลลับของทางราชการไปใช้เพ่ือ
การแสวงหาประโยชนส์ ่วนบุคคล
Never use any information gained confidentially
in the performance of governmental duties as
a means of making private profit.
๙. เปิดเผยข้อมูลการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ทตี่ นได้รับทราบ
Expose corruption wherever discovered.
๑๐. ยึดหลักความไว้วางใจจากสาธารณะ ยึดถือ
หลักจริยธรรมน้ีโดยเคร่งครัด พร้อมท้ังตระหนัก
ด้วยว่าการปฏิบัติราชการจาต้องอยู่บนพื้นฐาน
ของการได้รบั ความไวว้ างใจจากสาธารณะ
Uphold these principles, ever conscious
that public office is a public trust.
๑๔ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเด็น สรปุ รายละเอียด
เนือ้ หาสาระ กาหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีปฏิบัติงานในฝ่ายบริหาร
(Executive Branch) ปฏิบัติตาม Standards of Ethical
Conduct for Employees of the Executive
Branch ดงั ต่อไปนี้
๑. ปฏิบัติหน้าท่ีโดยยึดม่ันรัฐธรรมนูญ กฎหมาย
และหลักจริยธรรม เหนือประโยชน์สว่ นตน
Public service is a public trust, requiring
employees to place loyalty to the Constitution,
the laws and ethical principles above
private gain.
๒. ไม่ข้องเกี่ยวกับผลประโยชน์ทางการเงิน
ทข่ี ัดแย้งกบั การปฏิบัตหิ นา้ ท่ใี นตาแหนง่ ของตน
Employees shall not hold financial interests
that conflict with the conscientious performance
of duty.
๓. ไม่ข้องเก่ียวกับการดาเนินธุรกรรมทางการเงิน
ท่ีอาศัยข้อมูลของทางราชการท่ีมิได้เปิดเผย
ให้รับทราบเป็นการทั่วไป รวมท้ังไม่ยินยอม
ให้มีการนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้เพ่ือแสวงหา
ผลประโยชนส์ ว่ นบคุ คล
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๑๕
ประเด็น สรุปรายละเอยี ด
เนอื้ หาสาระ Employees shall not engage in financial
transactions using nonpublic Government
information or allow the improper use of
such information to further any private interest.
๔. ไม่เรียกรับหรือยอมรับของขวัญ หรือส่ิงของ
ท่ีมีมูลค่าจากบุคคลใดบุคคลหน่ึง หรือท่ีเป็น
ผลเก่ียวเนื่องกับตาแหน่งหน้าท่ีในราชการ การทา
ธุรกิจกับราชการ หรือการกระทากิจกรรมใด ๆ
ท่ีหน่วยงานของตนควบคุมดูแลอยู่ หรือที่จะได้
ประโยชน์จากการกระทาหรือละเว้นการกระทา
หน้าท่ีของตน ไม่รับของขวัญ หรือของกานัลใด
ท่ีอาจตีมูลค่าเป็นเงินได้ นอกเหนือจากท่ีกาหนด
จากบุคคลที่อาจมีส่วนได้ส่วนเสียจากการปฏิบัติ
หรอื ไมป่ ฏิบัตหิ น้าทีข่ องตน
An employee shall not, except as permitted
by subpart B of this part, solicit or accept
any gift or other item of monetary value
from any person or entity seeking official
action from, doing business with, or
conducting activities regulated by the
๑๖ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเดน็ สรปุ รายละเอยี ด
เนอื้ หาสาระ employee’s agency, or whose interests
may be substantially affected by the
performance or nonperformance of the
employee’s duties.
๕. ปฏบิ ัตหิ น้าทีด่ ว้ ยความอุตสาหะโดยสุจริต
Employees shall put forth honest effort in
the performance of their duties.
๖. ไม่ดาเนินการอันเป็นการสร้างการผูกมัดหรือ
รับว่าจะดาเนินการใด หรือคาสัญญาที่นอกเหนือ
อานาจหนา้ ทีข่ องตนโดยจงใจ
Employees shall not knowingly make
unauthorized commitments or promises
of any kind purporting to bind the
Government.
๗. ไม่ใช้ตาแหน่งหน้าท่ีของตน เพ่ือการแสวงหา
ประโยชนส์ ่วนบุคคล
Employees shall not use public office for
private gain.
๘. ปฏิบัติงานด้วยความเป็นกลาง เสมอภาค
ไม่เลือกปฏิบัติต่อเอกชนหรือหน่วยงานเอกชน
รายใดเปน็ พิเศษ
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๑๗
ประเด็น สรุปรายละเอียด
เนอื้ หาสาระ Employees shall act impartially and not
give preferential treatment to any private
organization or individual.
๙. ปกป้องและรักษาทรัพย์สินของทางราชการ
และไม่ใช้ทรัพย์สินเหล่าน้ันเกินกว่าวัตถุประสงค์
ของทางราชการ
Employees shall protect and conserve
Federal property and shall not use it for
other than authorized activities.
๑๐. ไม่ทางานหรือกิจการอ่ืนใดนอกเหนือจากงาน
ราชการ รวมท้ังแสวงหาการจ้างงานพิเศษอ่ืน ๆ
ที่ขัดแย้งกับหน้าท่ีความรับผิดชอบในทางราชการ
ไม่กระทาการใดอันเป็นการขัดแย้งกับหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบทางราชการตามอานาจหนา้ ทข่ี องตน
Employees shall not engage in outside
employment or activities, including seeking or
negotiating for employment, that conflict
with official Government duties and
responsibilities.
๑๑. รายงานความสูญเปล่า การฉ้อโกง และ
ก า ร ทุ จ ริ ต แ ล ะ ป ร ะ พ ฤ ติ มิ ช อ บ ที่ ต น รั บ ท ร า บ
ต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้มีหน้าท่ีเก่ียวข้องตาม
๑๘ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเดน็ สรุปรายละเอียด
เนอ้ื หาสาระ ความเหมาะสม
Employees shall disclose waste, fraud,
abuse, and corruption to appropriate
authorities.
๑๒. ปฏบิ ัตหิ น้าที่ในฐานะเป็นพลเมืองท่ีดี รวมทั้ง
ทาหน้าทีใ่ นการเสียภาษตี ามกฎหมาย
Employees shall satisfy in good faith their
obligations as citizens, including all just
financial obligations, especially those—such
as Federal, State, or local taxes—that are
imposed by law.
๑๓. ยึดมั่นต่อกฎหมายและกฎ ระเบียบที่ให้
ความเท่าเทยี มกันด้านโอกาสแก่ประชาชน โดยไม่
แบ่งแยกเช้ือชาติ สีผิว ศาสนา เพศ อายุ หรือ
ความทุพพลภาพ
Employees shall adhere to all laws and
regulations that provide equal opportunity
for all Americans regardless of race, color,
religion, sex, national origin, age, or handicap.
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๑๙
ประเด็น สรปุ รายละเอียด
เนอ้ื หาสาระ ๑๔. อดกล้ันและพยายามหลีกเล่ียงการกระทา
ที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจว่าตนฝ่าฝืนกฎหมาย
กลไก ห รื อ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ท า ง จ ริ ย ธ ร ร ม น้ี
การขบั เคลื่อน หลีกเล่ียงการกระทาท่ีอาจส่อ หรือหม่ินเหม่ต่อ
การฝา่ ฝืนกฎหมายหรือมาตรฐานทางจริยธรรม
จรยิ ธรรม Employees shall endeavor to avoid any
actions creating the appearance that they
are violating the law or the ethical standards
set forth in this part. Whether particular
circumstances create an appearance that
the law or these standards have been
violated shall be determined from the
perspective of a reasonable person with
knowledge of the relevant facts.
U.S. Office.of.Personnel Management
(OPM).อันเป็นหน่วยงานกลางบริหารงาน
บุคคลของรฐั บาลกลางสหรฐั อเมรกิ า
๒๐ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเดน็ สรุปรายละเอียด
กลไก The U.S. Office of Government Ethics
การขับเคลอ่ื น (OGE) เป็นผู้ควบคุม ตรวจสอบ ป้องกันการ
กระทาผิดด้านการขัดกันของผลประโยชน์
จรยิ ธรรม ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีปฏิบัติงานในฝ่าย
บริหาร (Executive..Branch) ผ่านกลไกซึ่ง
สภาพบงั คบั ได้แก่ เจ้าหน้าที่ด้านจริยธรรม (Ethics
Officials)
หนว่ ยงานอสิ ระท่ีทาหน้าที่สืบสวนสอบสวน
อื่น ๆ เชน่
- คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
(The Merit System Protection Board :
MSPB)
- สานักงานทนายความพิเศษ (The Office
of Special Counsel : OSC)
Civil Service Reform Act ๑๙๗๔
ในการบริหารงานกาหนดให้ยึดหลักคุณธรรม
(Merit system) เช่น การคัดเลือกข้าราชการ
จะต้องพิจารณาจากความรู้ความสามารถ
เป็นสาคัญ ไม่เลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุผล
ท่ีเก่ียวเนื่องจากศาสนา สีผิว อายุ เพศ
ค ว า ม พิ ก า ร ห รื อ เ ล่ น พ ร ร ค เ ล่ น พ ว ก
(Nepotism).(เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานจะต้อง
ได้รับความคุ้มครองอย่างเป็นธรรม ไม่ถูก
ข่มขู่ และห้ามมิให้โยกย้ายเจ้าหน้าที่
เนือ่ งจากการทาผิดพลาด
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๒๑
ประเดน็ สรปุ รายละเอยี ด
สภาพบงั คบั The Hatch Act กาหนดห้ามเจ้าหน้าที่ของ
รัฐหน่วยงานฝ่ายบริหาร (Executive..Branch)
มีสว่ นในกจิ กรรมทางการเมืองบางอย่าง เช่น
การรณรงค์หาเสียงเลือกต้ัง การชักชวนให้
บริจาคเงินเพ่ือสนับสนุนพรรคการเมือง
มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ต้ั ง พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง
เปน็ ต้น
The Ethics in Government Act of ๑๙๗๘
กาหนดให้ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี
สมาชิกสภาคองเกรส และผู้พิพากษาศาลกลาง
ของสหรัฐอเมริกา (Federal Judges) และ
เจ้าหน้าท่ีฝ่ายบริหารระดับสูง จะต้อง
เปิดเผยบัญชีทรัพย์สินต่าง ๆ หน้ีสิน และ
แหล่งท่ีมาของรายได้ และกาหนดให้ต้ัง The
U.S. Office of Government Ethics (OGE)
เพอ่ื ทาหน้าที่ตรวจสอบขอ้ มูลดังกลา่ ว
ท่ีมา : สานักงาน ก.พ. (๒๕๕๒) การศึกษา Best Practices การปฏิรูประบบราชการ
และข้าราชการ ขอ้ มลู จาก http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/366343
The U.S. Office of Government Ethics: OGE. (๒๐๑๗) Preventing Conflict of
Interest in the Executive Branch. Retrieved from https://www.oge.gov/web
/oge.nsf/8c1c7c4b3ca9da3485257ea6006d9aff/$FILE/Executive%20Branch
%20Ethics%20Program%20Roles%20and%20Responsibilities.pdf
๒๒ มาตรฐานทางจริยธรรม
สหราชอาณาจกั ร
ประเดน็ สรุปรายละเอยี ด
เน้อื หาสาระ หลักความประพฤติ ๗ ประการ ( Seven Principles of
Public Life Lord Nolan’s Report ๑๙๙๕) ซง่ึ เจา้ หนา้ ที่
ของรฐั ต้องปฏบิ ตั ิ ( Holder of public office) คือ
๑. Selflessness.: เสียสละ ไม่คานึงถึง
ประโยชนส์ ่วนตน
๒. Integrity.:.ค ว า ม ซื่ อ ต ร ง / ยึ ด ม่ั น ใ น
ความถกู ต้องชอบธรรม
๓. Objectivity : ความตรงไปตรงมา
๔. Accountability : พร้อมรบั การตรวจสอบ
๕. Openness : เปิดเผยโปรง่ ใส
๖. Honesty : ซือ่ สตั ย์
๗. Leadership : เป็นผู้นาในการรักษา
หลกั ทง้ั ๗ ประการของเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั
กลไก The Cabinet Office เป็นหน่วยงานกลาง
ที่สนับสนุนการทางานของคณะรัฐบา ล
การขบั เคลอื่ น เพือ่ ผลักดันใหเ้ กิดนโยบายรัฐท่ีมีประสิทธิภาพ
จริยธรรม ก า ร ป ฏิ รู ป แ ล ะ พั ฒ น า ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ที่ ดี
กว่าเดิม กระตุ้นให้เกิดความโปร่งใสในภาครัฐ
ยกระดับคุณภ าพและประสิทธิภ าพใน
การทางานภาครัฐ
มาตรฐานทางจริยธรรม ๒๓
ประเดน็ สรุปรายละเอียด
กลไก The Committee on Standards in Public
การขับเคลื่อน Life (CSPL) ทาหน้าที่ในการให้ ความคิดเห็น
เก่ียวกับการจัดทามาตรฐานทางจริยธรรม
จรยิ ธรรม (Standards in public life) แก่นายกรัฐมนตรี
และส่งเสริมหลักความประพฤติ ๗ ประการ
( Seven Principles of Public Life )
The Civil Service Commission ผู้ดูแลควบคุม
ใ ห้ ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง ข้ า ร า ช ก า ร เ ป็ น ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม
ยตุ ธิ รรมและโปร่งใส
สภาพบังคบั The Bribery Act ๒๐๑๐
เป็นการรวบรวมและปรับปรุงกฎหมายของ
อังกฤษเพื่อสร้างมิติใหม่ ในการต่อต้าน
คอร์รัปช่ันของอังกฤษ กฎหมายฉบับนี้ยังเน้น
การป้องกันปัญหาคอร์รัปชันในมุมมองเอกชน
เช่น กาหนดให้การจ่ายสินบนให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
เป็นความผิดทางอาญา กาหนดความผิด
เกี่ยวกับการตดิ สนิ บนเจ้าหนา้ ที่ของรัฐต่างชาติ
ซึ่ ง ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง เ จ้ า ห น้ า ท่ี ข อ ง รั ฐ ที่ ป ฏิ บั ติ
หน้าที่ในองค์กรระหว่างประเทศ เช่น
ธนาคารโลก หรอื องค์การสหประชาชาตดิ ้วย
ทมี่ า : เว็บไซต์ให้บรกิ ารข้อมูลภาครัฐของสหราชอาณาจักร (www.gov.uk)
https://www.gov.uk/government/publications/the-7-principles-of-public-
life/the-7-principles-of-public-life--2
๒๔ มาตรฐานทางจริยธรรม
เครอื รฐั ออสเตรเลยี
ประเดน็ สรปุ รายละเอียด
เนือ้ หาสาระ เจา้ หน้าที่ของรัฐ (Public servant) ต้องยึดหลัก APS
Values (Australia Public Service’s Values):
ICARE ประกอบดว้ ย
I = Impartial ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง
ให้คาแนะนารัฐบาลอย่าง
จริงใจ เปิดเผย ตรงไปตรงมา
เหมาะสมแก่เวลา และอย่บู นฐาน
ข้อมูลท่ีเช่ือถือได้
C = Committed มีความเปน็ มืออาชีพ
To.service ตรงไปตรงมา มุ่งเนน้
การแก้ปัญหาดว้ ยวธิ ใี หม่และ
เน้นประสทิ ธิภาพ ร่วมมือกนั
สร้างผลประโยชน์ทดี่ ที ่ีสดุ แก่
รัฐบาลและชาวออสเตรเลยี
A = Accountable เปดิ เผยสามารถตรวจสอบได้
R = Respectful เคารพสทิ ธิของบุคคล
E = Ethical ดาเนินการต่าง ๆ ด้วยความ
ซ่อื ตรง/ยึดม่ันในความถกู ต้อง
ชอบธรรมในทุกกระบวนการ
มาตรฐานทางจริยธรรม ๒๕
ประเดน็ สรุปรายละเอยี ด
กลไก The Australian Public Service Commission
การขับเคลื่อน (APSC)
ทาหน้าท่ีในการส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานสูงสุด
จรยิ ธรรม ใ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ซ่ื อ ต ร ง / ยึ ด ม่ั น ใ น ค ว า ม
ถูกต้องชอบธรรมของภาครัฐ และตามหลัก
ที่ปรากกฎใน APS.Values.มีหน้าท่ีหลักใน
การพัฒนา ส่งเสริม ทบทวนการบริหาร
บุคลากรภาครัฐ ท้ังระดับนโยบายและ
การปฏิบัติ ช่วยเหลืองานด้านพัฒนาการ
บริหารบุคลากรภาครัฐ สร้างความก้าวหน้า
ในอาชีพ สร้างผู้นา ให้คาแนะนาช่วยเหลือ
หน่วยงานในประเด็นท่เี กีย่ วขอ้ งกับงานภาครัฐ
The Merit Protection Commissioner ทางาน
ร่วมกับ APSC เมื่อต้องมีการตัดสินหรือ
พิจารณาประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับจริยธรรม
ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตาม APS
Values และ APS Code of Conduct
รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลตามกฎหมาย the
Public Interest Disclosure Act ๒๐๑๓
และคุ้มครองผู้เป่านกหวีด (Whistle Blower)
๒๖ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ประเด็น สรุปรายละเอียด
สภาพบงั คบั Public Service Act ๑๙๙๙ กาหนดหลักท่ี
เจ้าหน้าท่ีของรัฐพึงปฏิบัติตาม (APS Values)
และระบุถึงพฤติกรรมที่พึงปฏิบัติในประมวล
จริยธรรม (APS Code of Conduct) รวมทั้ง
กาหนดบทบาทหน้าทีข่ อง the Merit Protection
Commissioner
ที่มา : เวบ็ ไซต์ Australian Government: Australian Public Service commission
http://www.apsc.gov.au/
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๒๗
นวิ ซแี ลนด์ สรุปรายละเอยี ด
ประเดน็
ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ (Public servant) ยึดหลัก
เนือ้ หาสาระ มาตรฐานทางจริยธรรม ๓ ประการ (Public Service
Code of Conduct: The Three Principles)
๑. เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐพึงปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับด้วย
ความเป็นมืออาชีพ ซ่ือตรงและยึดม่ันในความ
ถกู ตอ้ งชอบธรรม
public servants must fulfill their lawful
obligations to the Government with
professionalism and integrity;
๒. เจ้าหน้าที่ของรัฐควรปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ
ซ่ือสัตย์ ตรงไปตรงมามีประสิทธิภาพ เคารพ
สทิ ธิของประชาชนและเพ่อื นร่วมงาน
Public servants must perform their
official duties honestly, faithfully and
efficiently, respecting the rights of the
public and their colleagues;
๓. เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ควรนาความเส่ือมเสียมาสู่
ราชการ ไม่ควรใช้ตาแหน่งหน้าท่ีหาประโยชน์
ส่วนตน
public servants must not bring the Public
Service into disrepute through their private
lives.
๒๘ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเด็น สรปุ รายละเอยี ด
กลไก The Office of State Service Commission
การขบั เคลอ่ื น
ส า นั ก ง า น ข้ า ร า ช ก า ร มี ห น้ า ท่ี แ ต่ ง ต้ั ง แ ล ะ
จริยธรรม
ว่าจ้างผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ ในการจัดจ้าง
เจ้าหน้าท่ีของรัฐ รวมทั้งมีหน้าท่ีส่งเสริม
จรรยาบรรณของข้าราชการตามหลักมาตรฐาน
ทางจริยธรรม
หน่วยงานอิสระอ่ืน ๆ เช่น The Office of
Auditor-General มีหน้าที่ตรวจสอบ การใช้
จ่ายงบประมาณของประเทศว่าใช้จ่ายได้อย่าง
เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ พี ย ง ใ ด
เปรียบเสมือนหน่วยงาน Watchdog ตรวจสอบ
การทางานของภาครัฐว่าเป็นไปตามแผนงาน
ทว่ี างไวห้ รือไม่
สภาพบงั คบั Crimes Act ๑๙๖๑ กาหนดการกระทาผิด
ประเภท การรับสินบนและคอร์รัปช่ันรวมอยู่ใน
กฎหมายฉบับนี้ เช่น การรับเงินท้ังในรูปเงินสด
หรือเป็นค่าใช้จ่ายต่าง ๆ (ค่ารักษาพยาบาล
คา่ เลา่ เรียน) การเสนอความช่วยเหลือ (ให้เช่าบ้าน
หรือว่าจ้างงานให้) รวมทั้ง การเสนอส่วนลด
ของกานัลต่าง ๆ (ของขวญั ต๋วั เดินทาง)
ท่ีมา : เวบ็ ไซต์ State Services Commission http://www.ssc.govt.nz/
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๒๙
ญี่ปนุ่ สรปุ รายละเอยี ด
ประเด็น
กาหนดให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ (Public Service Official)
เนื้อหาสาระ รักษามาตรฐานทางจริยธรรมไว้ ๕ ประการ ตาม
National Public Service Officials Ethics Code
ดังนี้
๑. บรกิ ารดว้ ยความยตุ ิธรรมไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ
Employees shall not give unfair, discriminative
treatment to the public, such as giving
preferential treatment to any party of the
public with respect to information gathered
in the performance of their duties, and shall
always engage in their duties with fairness,
recognising that they are servants of the
whole nation and not of any group
thereof.
๒. แยกงานราชการกบั งานส่วนตัว/ไมใ่ ช้ตาแหน่ง
หาประโยชน์
Employees shall always distinguish between
public and private affairs and shall not
use their duties or positions for private gain
for themselves or the organisation they
belong to
๓๐ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ประเด็น สรุปรายละเอยี ด
เนอ้ื หาสาระ ๓. ไม่ทาให้เกิดข้อครหาหรือความไม่ไว้วางใจ
ในการปฏิบัติหนา้ ที่
Employees shall not take any actions that
create public suspicion or distrust against
the fairness of public service while
performing their duties, such as receiving
a gift from entities influenced by their
duties
๔. คานึงถึงประโยชน์สาธารณะและใช้ความ
พยายามสงู สุด
Employees shall, in performance of their
duties, aim at increasing public interests
and exert their utmost efforts
๕. ระลึกเสมอว่าพฤติกรรมของตนอาจส่งผลต่อ
บริการสาธารณะแม้นอกเวลาราชการ
Employees shall always behave recognising
that their actions may influence the trust
in the public service, even outside of
their official hours.
มาตรฐานทางจริยธรรม ๓๑
ประเดน็ สรุปรายละเอยี ด
กลไก National Personnel Authority (NPA) มีหน้าท่ี
การขบั เคล่อื น
ส่งเสริมให้เกิดความยุติธรรมข้ึนในงานบริหาร
จริยธรรม
บุคลากรภาครัฐ พัฒนาและรักษาบุคลากร
ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะ
เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพงานในภาครัฐให้สูงขึ้น
ด้วย รวมทั้งดูแลให้เจ้าหน้าที่ของรัฐประพฤติ
ตามข้อกาหนดทางจริยธรรมที่ได้กาหนดไว้
หากเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือประชาชนพบการ
กระทาผิดจริยธรรมสามารถติดต่อสายด่วน
จริยธรรม (Public Service Ethics Hotline)
ซึ่งตั้งโดย NPA.หรือส่งรายงานไปท่ีหัวหน้า
ส่วนราชการ และให้ส่วนราชการนาสาเนาเรื่อง
ส่ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พิ จ า ร ณ า ด้ า น จ ริ ย ธ ร ร ม
แ ห่ ง ช า ติ ( National Public Service Ethics
Board) เป็นผ้พู จิ ารณา
National Public Service Ethics Board เป็นผู้
เสนอคณะรัฐมนตรีในการปรับปรุง National
Public Service Officials Ethics Code และมี
อานาจในการติดตาม สอบสวน ให้คาแนะนา
ปัญหาที่เก่ียวกับจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ในทุกหน่วยงาน รวมถึงการวางมาตรการและ
๓๒ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเด็น สรุปรายละเอยี ด
กลไก ดาเนินการตามกฎหมายกรณีที่มีการทาผิด
การขบั เคลอ่ื น กฎหมายจรยิ ธรรม นอกจากน้ีในแต่ละหน่วยงาน
ยังต้องมีตาแหน่งที่ปรึกษาทางด้านจริยธรรม
จริยธรรม (Ethics Supervisory Officer ) เพ่ือคอยตรวจสอบ
ให้คาแนะนา ตีความกฎหมายและการกระทา
สภาพบังคบั ต่าง ๆ ท่ีอาจเกี่ยวข้องกับปัญหาเร่ืองจริยธรรม
ของบคุ ลากรในหน่วยงาน
National Public Service Ethics Act ๑๙๙๙
กาหนดขอบเขตการใช้อานาจของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ เพ่ือไมใ่ ห้เกิดความเสือ่ มเสีย หรือนามาซงึ่
ความไม่ไว้วางใจของประชาชน โดยบัญญัติให้มี
การจัดทา National Public Service Ethics
Code เพื่อป้องกันการกระทาผิดที่กระทบต่อ
ความเช่อื มนั่ ของประชาชน เช่น การรับของขวัญ
จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับตาแหน่งหน้าที่ใน
ราชการ เป็นต้น โดยกาหนดให้คณะกรรมการ
พิจารณาด้านจริยธรรมแห่งชาติ (National
Public Service Ethics Board) เป็นผู้ให้ความเห็น
เกย่ี วกบั National Public Service Ethics Code
มาตรฐานทางจริยธรรม ๓๓
ประเดน็ สรปุ รายละเอียด
สภาพบังคบั และยังบัญญัติให้มีการรายงานเรื่องการรับ
ของขวัญในเจ้าหน้าท่ีของรัฐระดับสูง รวมทั้ง
บ ท บ า ท ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พิ จ า ร ณ า ด้ า น
จริยธรรมแห่งชาติ (National Public Service
Ethics Board) และการตั้ งเจ้ าหน้าท่ี ด้ าน
จรยิ ธรรม ( Ethics Supervisory Officer ) เพื่อให้
คาแนะนาและรักษาจริยธรรมในหน่วยงาน
แ ล ะ จั ด ร ะ บ บ เ ส ริ ม ส ร้ า ง จ ริ ย ธ ร ร ม ภ า ย ใ น
หน่วยงานภายใตค้ าแนะนาของคณะกรรมการ
ท่ีมา : National Personnel Authority: NPA, Japan. (๒๐๑๕) Profile of National
Public Employee, ๒๐๑๕ Retrieved fromhttp://www.jinji.go.jp/en/infonpa/profile.pdf
๓๔ มาตรฐานทางจริยธรรม
สาธารณรัฐสิงคโปร์
ประเดน็ สรุปรายละเอียด
เนอื้ หาสาระ ยึดหลัก ๓ ประการ ได้แก่
๑. Integrity :.ความซื่อตรง/ยึดม่ันใน
ความถกู ตอ้ ง
๒. Service : รักษาคุณภาพใส่ใจบรกิ าร
๓. Excellence : มีความเป็นเลศิ
กลไก Public Service Division เป็นหน่วยงานบริหาร
การขับเคลือ่ น บคุ ลากรภาครฐั มเี ป้าหมายหลกั ในการสร้างความ
จริยธรรม เป็นเลิศในงานบริการภาครัฐ และส่งเสริมการ
สร้างประสิทธิภาพในภาครัฐ มีภารกิจในการดูแล
สนับสนุน บุคลากรภาครัฐ ให้ทางานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ และมีความเป็นอยู่ที่ดี และสร้าง
ระบบงานภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพเป็นที่เช่ือถือ
และไว้วางใจแก่ประชาชน เพ่ือประโยชน์สูงสุด
ของประเทศสิงคโปร์และพลเมือง โดยมุ่งเน้น
การสรา้ งผนู้ าท่มี ปี ระสิทธิภาพ เตรียมความพร้อม
ให้กับหน่วยงานภาครัฐ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
(Good Governance)
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๓๕
ประเดน็ สรุปรายละเอียด
กลไก Corrupt Practices Investigation Bureau (CPIB)
การขบั เคลอื่ น เป็นหน่วยงานอิสระ ซึ่งมีหน้าที่ในการตรวจสอบ
และป้องกันการทุจริต.มีหน้าท่ีตรวจสอบกรณี
จริยธรรม คอร์รัปช่ันท้ังหน่วยงานเอกชนและรัฐบาล และ
รายงานตอ่ นายกรัฐมนตรี CPIB มีอานาจอย่างเต็มท่ี
ในการดาเนินคดี และใช้เครื่องมือทางกฎหมาย
เช่น สามารถจับกุมบุคคลได้ทันทีโดยไม่ต้องรอ
หมายศาลหากสงสยั ว่าเกีย่ วขอ้ งกับการคอร์รัปช่ัน
สามารถขอตรวจสอบสมุดบัญชีธนาคารของ
ข้าราชการตลอดจนคู่สมรส และลูกของผู้ต้อง
สงสัยได้ นอกจากมีอานาจในการปราบปรามและ
สืบสวน แล้ว CPIB ยังมีบทบาทหน้าที่อีกหลายอย่าง
เช่น จัดทาระบบบริการสายด่วนรับข้อร้องเรียน
(Quality Service Manager : QSM hotline)
แ ล ะ เ ว็ บ ไ ซ ต์ .เ พ่ื อ เ ป็ น ช่ อ ง ท า ง ใ ห้ ผู้ ร้ อ ง เ รี ย น
รายงานเกี่ยวกบั การทจุ รติ ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง
สภาพบงั คับ Prevention of Corruption Act (PAC) กาหนด
บ ท ล ง โ ท ษ แ ล ะ ห้ า ม เ จ้ า ห น้ า ท่ี ข อ ง รั ฐ รั บ ผ ล
ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ตั ว อ่ื น ใ ด น อ ก เ ห นื อ จ า ก
คา่ ตอบแทนตามทก่ี ฎหมายกาหนด
ท่มี า : รองศาสตราจารย์ ดร. เอก ตั้งทรพั ยว์ ฒั นา และ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. อรอร ภ่เู จรญิ
(๒๕๕๓) รายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง แนวทางการประยกุ ต์มาตรการสากลเพ่ือการต่อตา้ น
ทุจริตของประเทศไทย ขอ้ มลู จาก เว็บไซตส์ านกั งาน ป.ป.ช.
https://www.nacc.go.th/ewt_news.php?nid=3825
๓๖ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
เขตบรหิ ารพเิ ศษฮอ่ งกงแห่งสาธารณรฐั ประชาชนจนี
ประเด็น สรปุ รายละเอยี ด
เน้ือหาสาระ ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ (Employee of Public Bodies)
ยึดหลัก Code of conduct for Employees of
Public Bodies, ๒๐๑๔ ดงั นี้
๑. Commitment to the Rule of Laws :
ยึดหลักกฎหมาย
๒. Honesty and integrity : ซื่อสัตย์และยึดมั่น
ในความถกู ต้องชอบธรรม
๓. Objectivity and impartiality : ตรงไปตรงมา
๔. Accountability for decisions and actions :
ความพร้อมรับผดิ เป็นทไ่ี วว้ างใจของประชาชน
ในการตดั สินใจหรอื กระทาการใด ๆ
๕. Dedication , Professionalism and diligence :
อุทิศตน มีความเป็นมืออาชีพ และขยัน
หมั่นเพยี ร
กลไก Independent Commission Against Corruption
การขับเคลื่อน (ICAC) หน่วยงานอิสระทาหน้าท่ีหลักในการ
จรยิ ธรรม ต่อต้านปัญหาคอร์รัปชั่น.โดยมุ่งเน้นทางานผ่าน
กลไกสาคญั ๓ ด้าน คอื
มาตรฐานทางจริยธรรม ๓๗
ประเดน็ สรปุ รายละเอยี ด
กลไก ๑. การบังคบั ใช้กฎหมาย
การขับเคลอ่ื น ๒. การให้ความรู้
๓. การปอ้ งกัน
จรยิ ธรรม
สภาพบังคบั The Prevention of Bribery Ordinance (POBO)
กา หน ด บท ล งโ ท ษเ กี่ ยว กั บก า รรั บ สิน บ น
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การรับของขวัญ ซองแดง
ในวันปีใหม่ การเลี้ยงอาหารเครื่องด่ืม การรับ
บริจาคเงิน การรับข้อเสนอส่ว นลด หรือ
ผลประโยชนใ์ นรปู แบบอื่น ๆ เป็นต้น
Misconduct in Public Office (MIPO) เป็น
กฎหมายที่ควบคุมพฤติกรรมการใช้อานาจหน้าที่
ของเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ เช่น การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่
เหมาะสมหรืองดเวน้ การปฏิบตั ิหน้าท่ีท่ีควรปฏิบัติ
ซงึ่ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบรา้ ยแรงต่อความรับผิดชอบ
ในหน้าท่ีราชการและประชาชน นอกจากน้ียัง
ก า ห น ด บ ท ล ง โ ท ษ ส า ห รั บ ผู้ ที่ ช่ ว ย เ ห ลื อ ห รื อ
สนบั สนุนให้เจ้าหน้าท่ีของรฐั ทาผิดด้วย
Administrative Rules and Regulations กฎระเบียบ
อื่น ๆ ตามทห่ี น่วยงานตน้ สงั กดั เปน็ ผูก้ าหนด
ทม่ี า : เว็บไซต์ใหบ้ ริการข้อมูลภาครฐั ของเขตบรหิ ารพิเศษฮอ่ งกงแห่งสาธารณรฐั
ประชาชนจีน www.gov.hk
เว็บไซตส์ านกั งาน ICAC http://www.icac.org.hk/
๓๘ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
Organization for Economic Co-operation and
Development (OECD)
ประเด็น สรปุ รายละเอียด
เนื้อหาสาระ จากการสารวจมาตรฐานทางจริยธรรมของประเทศ
สมาชิก OECD ในปี ๒๐๐๐ (อ้างอิงจากรายงาน OECD
เรื่อง Trust in Government Ethics Measures in
OECD.Countries) พบว่า มาตรฐานทางจริยธรรม
ของประเทศสมาชิก OECD ท่ีพบมากที่สุด ๘ อันดับ
ได้แก่
๑. Impartiality : ความเป็นกลาง ไม่ยุ่งเก่ียวกับ
การเมือง
๒. Legality.:.ความชอบธรรม ถูกต้องตาม
กฏหมาย
๓. Integrity.:.ความซ่ือตรง/ยึดม่ันในความ
ถูกตอ้ ง
๔. Transparency : ความโปร่งใส
๕. Efficiency : ประสทิ ธิภาพ
๖. Equality : ความเทา่ เทียม
๗. Responsibility : ความรบั ผดิ ชอบ
๘. Justice : ความยตุ ิธรรม
มาตรฐานทางจริยธรรม ๓๙
ประเด็น สรุปรายละเอยี ด
กลไก OECD.ได้จัดทาคาแนะนา (Guideline).เพื่อเป็น
การขบั เคล่ือน มาตรฐานให้ประเทศสมาชิกนาไปปรับใช้ให้เหมาะสม
จรยิ ธรรม กับบริบทในประเทศของตน รวมถึงเป็นแนวทางให้
ประเทศต่าง ๆ ใช้ในการแก้ไขปัญหาคอร์รัปช่ัน เช่น
OECD Guidelines for Managing Conflict of
Interest in the Public Service, OECD Principles for
Managing Ethics in Public Service ดังนี้
๑. OECD Guidelines for Managing Conflict of
Interest in the Public Service, ๒๐๐๓ เน้นการ
มองปัญหาคอร์รัปชั่นในเร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อน
โดยระบุถึงความหมายของผลประโยชน์ทับซ้อน
การแบ่งประเภทของผลประโยชน์ทับซ้อน และ
กาหนดหลักการในการแก้ไขปัญหา เช่น การให้
เจ้าหน้าท่ีของรัฐตาแหน่งสูง เปิดเผยผลประโยชน์
ส่วนตน หน่วยงานควรมีเคร่ืองมือหรือมาตรการใน
การจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเหมาะสมกับสภาพ
ปัญหา ระบุข้อกาหนดท่ีชัดเจนเกี่ยวกับการปฏิบัติ
หนา้ ท่ใี นตาแหน่งเพอ่ื ปอ้ งกนั การหาชอ่ งทางให้เกิดผล
ประโยชน์ทับซ้อน สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ทุกคน
สามารถแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๔๐ มาตรฐานทางจริยธรรม
ประเด็น สรปุ รายละเอยี ด
กลไก และกาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ฝ่าฝืน เป็นต้น และได้
การขับเคลื่อน รวบรวมแนวทางในการจัดการปัญหาเร่ืองผลประโยชน์
ทับซ้อนของแต่ละประเทศ เช่น ออสเตรเลีย
จริยธรรม นิวซีแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน อเมริกา เป็นต้น
(OECD,๒๐๐๓)
๒. OECD Principles for Managing Ethics in
Public Service (OECD, ๑๙๙๘) กาหนดหลักเกณฑ์
สาหรบั การจดั การคุณธรรมภาครฐั ไดแ้ ก่
มาตรฐานทางคุณธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของ
รฐั ตอ้ งชัดเจน ไม่คลุมเครือ เช่น มีการกาหนด
ตัวอย่างมาตรฐานคุณธรรม พฤติกรรม
ทีส่ าคัญไวใ้ นประมวลจริยธรรม
มาตรฐานทางจริยธรรมควรมีมิติทาง
กฎหมายกากบั เพ่อื สามารถบังคับใช้ควบคุม
พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐควรได้รับคาแนะนาด้าน
คุณธรรม เช่นมีการจัดอบรมสร้างความ
ตระหนักถึงความสาคัญของคุณธรรม หรือ
จัดให้มีกลไกใหค้ าปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่
เจ้าหน้าที่ของรัฐควรได้รับคาแนะนาหาก
ต้องการเปิดเผยข้อมูลการทุจริต เช่น
กฎระเบียบ และผู้รับผิดชอบในการแก้ไข
ปัญหาเหล่านี้ รวมท้ังควรได้รับความคุ้มครอง
โดยองคก์ รควรแจ้งใหเ้ จา้ หน้าทีท่ กุ คนทราบ
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๔๑
ประเด็น สรุปรายละเอียด
กลไก ข้าราชการการเมืองควรให้ความสาคัญเรื่อง
การขับเคล่อื น การส่งเสริมคุณธรรมในการทางานภาครฐั
จรยิ ธรรม กระบวนการตัดสินใจต่าง ๆ ต้องโปร่งใส
ตรวจสอบได้
มีแนวทางด้านคุณธรรมกาหนดการมี
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน
เพื่อ คว บคุม ไม่ ให้ เกิด กา รปฏิ บัติ ท่ีไ ม่
สอดคล้องกับคณุ ธรรมทกี่ าหนด
ผู้บังคับบัญชาควรประพฤติตนให้เป็น
เยี่ยงอยา่ งแก่ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา
นโยบายขององค์กรต้องสะท้อนความมุ่งม่ัน
ขององค์กรท่ีจะส่งเสริมคุณธรรมในที่ทางาน
และเป็นแนวทางช่วยส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่
ภาครฐั มคี ุณธรรมในการทางานมากข้ึน
นโยบายเกี่ยวกับการบริหารบุคลากร เช่น
การเล่ือนข้ัน เลื่อนตาแหน่งต้องส่งเสริมให้
เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง รั ฐ ท า ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง มี
ประสทิ ธิภาพบนพื้นฐานของคุณธรรม
มีกลไกที่ช่วยส่งเสริมการทางานท่ีบรรลุ
วัตถุประสงค์และสอดคล้องกับข้อบังคับหรือ
จรรยาบรรณทร่ี ะบุไว้
มีกลไกในการกากับ ติดตาม เอาผิดและ
ลงโทษทางวินัยแก่ผู้กระทาผิดอย่างเหมาะสม
และชัดเจน
๔๒ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ที่มา : OECD. (๒๐๐๓). OECD Guidelines for Managing Conflict of Interest in
the Public Service, ๒๐๐๓ Retrieved from
https://www.oecd.org/gov/ethics/48994419.pdf
OECD. (๑๙๙๘). OECD Principles for Managing Ethics in Public Service
Retrieved from
http://www.oecd.org/gov/ethics/Principles-on-Managing-Ethics-in-the-
Public-Service.pdf
รองศาสตราจารย์ ดร. เอก ตงั้ ทรัพยว์ ฒั นา และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรอร ภเู่ จรญิ
(๒๕๕๓) รายงานการวิจัย เรื่อง แนวทางการประยกุ ต์มาตรการสากลเพือ่ การตอ่ ตา้ น
ทุจริตของประเทศไทย ขอ้ มลู จาก เว็บไซตส์ านักงาน ป.ป.ช.
https://www.nacc.go.th/ewt_news.php?nid=3825
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๔๓