The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phueng.chun, 2022-07-06 05:23:50

วิจัย เทอม1 2564

วิจัย เทอม1 2564

รายงานการวจิ ัยในชั้นเรียน
(Classroom Action Research)

เร่อื ง
การพัฒนาทักษะการเคล่ือนไหวกล้ามเนอ้ื มดั ใหญข่ องเดก็ ปฐมวัย โดยใชก้ ิจกรรมโยคะ

สาหรับนกั เรยี นชนั้ อนบุ าล 3/2 โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์

โดย
นางสาวนทั ธมน ชนุ จารสั
ตาแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะชานาญการ

โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์
สงั กัดเทศบาลเมืองราชบรุ ี อาเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี
กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

ชอื่ เร่อื ง : การพฒั นาทักษะการเคลือ่ นไหวกลา้ มเน้ือมัดใหญข่ องเด็กปฐมวยั โดยใชก้ ิจกรรมโยคะ
สาหรบั นกั เรียนช้นั อนบุ าล 3/2 โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)

ชื่อผวู้ จิ ัย : นางสาวนทั ธมน ชนุ จารัส ปีการศึกษา 2564
ปที ่ีวจิ ัย : 2564
ความสาคัญและความเป็นมาของการวจิ ัย

พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ขวบ) เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วการเล้ียงดู
ในช่วงวัยนี้จึงมีผลต่อคุณภาพของการเจริญเติบโต ความแข็งแรงของร่างกาย การเคลื่อนไหวและการทรงตัว
หากผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็กมีความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและให้การเลี้ยงดูท่ีเหมาะสม เด็กจะสามารถพัฒนา
ความสามารถของตนได้อยา่ งเต็มท่ี เต็มศกั ยภาพ

กล้ามเนื้อมัดใหญ่นั้น เปรียบเสมือนรากฐานสาคัญของระบบการเรียนรู้ท้ังหมด เพราะหากพ้ืนฐานทาง
ร่างกายไม่แข็งแรง ก็ยากท่ีระบบการเรียนรู้ของร่างกายในส่วนต่าง ๆ จะทางานได้เต็มที่ โดยเฉพาะในช่วง
ระยะแรกเกิดจนถึง 1 ขวบ เป็นช่วงท่ีร่างกายกาลังได้รับการพัฒนา (Critical period) ในทุก ๆ ด้าน โดยมีการ
เสริมสร้างทักษะในด้านตา่ ง ๆ อยา่ งต่อเน่ืองเป็นขั้นบันได หากทักษะทางด้านใดด้านหน่ึง ถูกพัฒนาข้ามข้ันตอน
หรือพัฒนาไดอ้ ย่างไม่สมบรู ณ์ อาจจะทาให้การพัฒนาโครงสร้างทกั ษะของร่างกายทางด้านอื่นทางานได้อย่างไม่
มีประสทิ ธภิ าพ และอาจสง่ ผลกระทบต่อการพฒั นาทกั ษะในระดับท่ีสูงข้ึนไปอีกด้วย

จะเห็นได้ว่าพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ มีผลอย่างมากต่อพัฒนาการการเรียนรู้ในด้านอ่ืน ๆ ของลูก
และแน่นอนว่า หากลกู ขาดการพฒั นาทกั ษะดังกลา่ วในช่วงวยั ทพี่ วกเขาต้องการนั้น จะทาให้พัฒนาการของพวก
เขาล่าช้ากว่าวัย เช่น ถ้าเด็กวัย 6 ขวบ แต่ยังเดินแล้วหกล้มง่าย มีปัญหาด้านความสัมพันธ์ของร่างกาย
เคล่อื นไหวไม่คลอ่ งแคล่ว อาจทาใหเ้ ปน็ อุปสรรคในการทากิจกรรมเรียนรแู้ ละการเลน่ กฬี าร่วมกับเพ่ือน จนส่งผล
ใหพ้ ฤติกรรมการเรียนรูถ้ ดถอย และเบือ่ หน่ายการเรยี นในทส่ี ุด

การเคล่ือนไหวเชิงโยคะเป็นกิจกรรมท่ีให้เด็กได้ทากิจกรรมเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน ตามรูปแบบของการ
จัดกิจกรรมเคลื่อนไหว และมีการนาทักษะท่าทางโยคะสาหรับเด็กมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของ
เด็กปฐมวัย ซ่ึงจะเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดพัฒนาการทางด้าน ทักษะการยืน การนั่ง การนอน การเคลื่อนไหว

ทีผ่ สมผสานท่าทางโยคะที่เลยี นแบบจากสัตว์ในกิริยาอาการต่างๆ ของสัตว์หลายประเภท และธรรมชาติรอบตัว
ผ่านรูปแบบต่างๆ ของการเคลื่อนไหวและจากการเล่าเรื่องของผู้สอนที่มีการแนะนาท่าทางทาให้เด็กสนุกสนาน
และช่วยให้เด็กเคลอ่ื นไหวอย่างเต็มศกั ยภาพ อกี ทัง้ ยังช่วยผ่อนคลายความตึงเครยี ดทางรา่ งกายและจิตใจได้เป็น
อย่างดี

ดังนนั้ การจัดกิจกรรมเคล่ือนไหวเชิงโยคะจึงเป็นกิจกรรมที่มีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับเด็ก
เพราะเปน็ การฝึกฝนการเคล่อื นไหวร่างกายของเด็กควบคู่ไปกับการเคลื่อนไหวเชิงโยคะ ช่วยพัฒนาการทางด้าน
ร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจให้กับเด็ก การท่ีเด็กควบคุมร่างกายได้ก็จะช่วยให้ควบคุมความต้องการของตนเองได้
หากเป็นในเด็กปฐมวัยก็จะสามารถควบคุมกล้ามเน้ือส่วนต่างๆ ของร่างกายและมีพัฒนาการที่ดีข้ึนตามลาดับ
เป็นการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง เป็นเด็กท่ีมีสุขภาพดีคล่องแคล่วด้วย
ความสาคัญและเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงเห็นว่ากิจกรรมเคลื่อนไหวเชิงโยคะระยะเวลาในการฝึกฝน
กิจกรรมการเคลื่อนไหวเชิงโยคะ มีส่วนช่วยส่งเสริมและสร้างให้เด็กเป็นบุคคลที่มีความสมบูรณ์แข็งแรงทั้ง
ทางดา้ นร่างกายรวมทั้งองคป์ ระกอบต่างๆ เป็นการปลูกฝังให้เด็กได้รู้จักใช้เวลาว่างและเห็นความสาคัญของการ
ออกกาลังกาย การจัดกิจกรรเคลื่อนไหวเชิงโยคะเป็นแนวทางสาหรับครูในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยต่อไป

จากการที่ผู้วิจัย ได้ปฏิบัติการสอนที่โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) โดยการสอนในระดับชั้น
อนุบาล 3/2 มีจานวนนักเรียนท้ังหมด 32 คน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ On Hand เนื่องจาก
สถานการณ์เช้ือไวรัสโควิด 19 ระบาด จึงส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถมาเรียนที่โรงเรียนได้ตามปกติ ผู้วิจัยได้มี
การสงั เกตและพบวา่ นักเรยี นขาดทกั ษะการเคล่ือนไหวทางด้านกล้ามเน้ือมัดใหญ่ โดยสังเกตได้จากนักเรียนอยู่
ภายในบ้านหรือห้องพักในพ้ืนที่จากัดเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงจะส่งผลให้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ของนักเรียนมีพัฒนาการ
ลดลงจากสาเหตุดังกลา่ ว ผู้วิจยั จงึ มีความประสงค์ทจ่ี ะพัฒนาการเคลื่อนไหวกลา้ มเน้ือมัดใหญ่ใหก้ ับนักเรียน

วัตถปุ ระสงคข์ องวิจัย
1. เพื่อพฒั นากลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ในทักษะต่างๆ ทไ่ี ด้รบั การจดั กิจกรรมโยคะ
2. เพือ่ เปรียบเทยี บกลา้ มเนื้อมัดใหญข่ องเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้กจิ กรรมโยคะ

สมมตุ ิฐานในการวิจยั

เด็กปฐมวยั ทีไ่ ด้รับการจดั กจิ กรรมเชงิ โยคะ เพอ่ื พฒั นาทักษะการเคลื่อนไหวกล้ามเน้ือมัดใหญ่
รจู้ กั การทาท่าทางโยคะตา่ งๆ มกี ลา้ มเนอื้ มดั ใหญท่ ีด่ ขี น้ึ
ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการทาวจิ ยั

1. เดก็ ปฐมวัยมกี ารพัฒนาทักษะการเคล่ือนไหวกลา้ มเน้ือมัดใหญ่เพิ่มขั้น หลังจากการจัดกิจกรรมโยคะ
และสามารถนาไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ ประจาวันได้

2. เป็นแนวทางให้คุณครู และผู้ท่ีเกี่ยวข้องสามารถนากิจกรรมโยคะไปพัฒนาการเล่นและการจัด
กิจกรรมทีห่ ลากหลาย น่าสนใจใหก้ ับเดก็ ปฐมวัยอย่างมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ

ขอบเขตของการวิจยั

ประชากรที่ใชใ้ นการวิจยั

ประชากรใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คอื นกั เรียนชาย – หญงิ อายรุ ะหว่าง 5–6 ปี ที่กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน
เทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ตาบลหน้าเมือง อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ช้ันอนุบาลปีท่ี 3/2 ภาค
เรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 32 คน

กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใช้ในการวิจัย

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชาย – หญิง อายุระหว่าง 5–6 ปี ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน
เทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ตาบลหน้าเมือง อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ช้ันอนุบาลปีท่ี 3/2ภาค
เรียนท่ี 1 จานวน 32 คน โดยการเลอื กจบั สลากนักเรยี นจานวน 15 คน เพอื่ ใชเ้ ป็น กลมุ่ ทดลอง

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ

เดก็ ปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย-หญงิ อายุระหวา่ ง 5 –6 ปซี ึง่ กาลังศึกษาอยใู่ นระดบั ชนั้ อนบุ าล
ปีที่ 3/2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์

โยคะ หมายถึง รา่ งกาย จิตใจและ ลมหายใจ การฝกึ โยคะเปน็ การรวมกายและใจเข้าด้วยกัน เหมือนกับ
การที่เรานั่งสมาธิให้ ต้องมีกายสงบแน่วแน่ และลมหายใจท่ีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพ่ือให้เกิดความสมดุลใน

ร่างกายเรา เมื่อเรามีกายที่สมดุล มีจิตท่ีสงบน่ิงม่ันคง ก็จะช่วยยกระดับ จิตให้สูงข้ึนเต็มไปด้วยพลังแห่งการ
สร้างสรรค์ การฝึกโยคะนั้นเราจึงต้องมีสติกับกายที่รู้อยู่ ตลอดเวลาจึงเกิดสมาธิผสานกับลมหายใจเข้าออก
ก่อให้เกิดเป็นสมาธิ เม่ือทาต่อไปเรื่อยๆ จะเกิดเป็นความสมดุลในร่างกาย เมื่อเราฝึกจนเกิดเป็นความสมดุล
ภายในร่างกาย และสมดุลระหวา่ งผู้อ่ืน หรือแม้แต่สมดุลกับส่ิงแวดล้อม จะเป็นผลดีกับเราน้ันคือโยคะจะ ช่วย
พัฒนาจิตใจเราใหส้ ูงขน้ึ สามารถแยกแยะวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่างๆทเี่ กดิ ขน้ึ ได้ และควบคุมจติ ใจตวั เราเองได้

กล้ามเนื้อมัดใหญ่ คือ กล้ามเน้ือบริเวณ ลาตัว แขน ขา รวมไปถึงความสัมพันธ์กันของอวัยวะต่างๆ
ทักษะกล้ามเน้ือมัดใหญ่จะช่วยให้เด็ก ๆ รู้จักการทรงตัว สร้างสมดุลให้กับร่างกายได้ มีควา มแข็งแรง
มคี วามทะมัดทะแมง ความไวในการเปลย่ี นทา่ ทาง มที ักษะทดี่ ีในการเล่นกีฬา
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง

1.เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ งกับพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย
1.1 ทฤษฎีพัฒนาการและความพร้อมด้านรา่ งกายของเดก็ ปฐมวยั
อาร์โนลด์กีเซล (Arnold Gesell. 1880-1961) (สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. 2545 : 34- 35)เป็น

นักจิตวิทยาชาวอเมริกันผู้เร่ิมก่อต้ังสถาบันพัฒนาการเด็ก (Institute of Development) ณ มหาวิทยาลัยเยล
ระหว่างปีค.ศ.1930-1940 เขาเป็นคนแรกที่สนับสนุนและอธิบายทฤษฎีเก่ียวกับ การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของเด็กว่า การเจริญเติบโตของเด็กทางร่างกาย เน้ือเย่ือ อวัยวะ หน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ และ
พฤติกรรม ท่ีปรากฏขึ้นเป็นรูปแบบท่ีแน่นอนและเกิดขึ้นเป็นลาดับชั้น ประสบการณ์และสภาพแวดล้อมเป็น
ประกอบรองทต่ี อ่ เติมเสริมพฒั นาการต่างๆ กีเซลเชื่อว่า วุฒภิ าวะจะถกู กาหนดโดยพันธุกรรม และมีในเด็กแต่ละ
คนมาตงั้ แต่เกิด ซ่ึงเปน็ สงิ่ สาคัญที่ทาใหเ้ ด็ก แต่ละวยั มคี วามพร้อมทาสิ่งต่าง ๆ ได้ถ้าวุฒิภาวะหรือความพร้อมยัง
ไมเ่ กิดขนึ้ ตามปกตใิ นวยั น้นั ๆ สภาพแวดลอ้ มจะไม่มีอิทธพิ ลต่อพฒั นาการของเด็ก

1.2 ความหมายของพัฒนาการด้านร่างกายของเดก็ ปฐมวยั
อรพรรณ สุมานัส (2550 : 45) พัฒนาการทางกาย หมายถึง การเจริญเติบโตทางด้าน ร่างกาย มี

การเพิ่มจานวน และขนาดของเซล การเจริญเติบโตนี้สามารถวัดได้จาก น้าหนักความ ยาว ความกว้างและความ
หนา จากการทีน่ กั ศกึ ษา และนักวจิ ัยกล่าวมาสรุปได้ว่า พัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก ปฐมวัยเป็นกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลักษณะ ร่างกาย ซ่ึงมีผลต่อเนื่องมาจากการเจริญเติบโตท่ี สามารถวัดได้จากความสูง น้าหนัก

ความกว้าง ความหนา ความแข็งแรงของร่างกายและฟันตลอดจนพัฒนาการเคล่ือนไหวรวมทั้งพัฒนาการ
กล้ามเนอื้ ใหญแ่ ละกล้ามเนื้อเลก็ หรอื ทดสอบความ เจริญกา้ วหนา้ ในการทางานของระบบต่าง ๆ นั้น

1.3 ลกั ษณะพัฒนาการดา้ นร่างกายของเดก็ ปฐมวัย
ศรีเรือน แก้วกังวาน (2560 : 16) ได้สรุปถึงลักษณะด้านร่างกายของเด็กอายุ 5-6 ปีว่า ทักษะใน
การใช้กล้ามเน้ือใหญ่และเล็ก พัฒนามีพละกาลังเพ่ิมขึ้น รู้จักช่วยตัวเอง ควบคุมตัวเองและ ดูแลตัวเองเพ่ิมขึ้น
รู้จักการเล่นต่าง ๆ รวมท้ังการเล่นเชิงศิลปะเช่น วาดรูป รู้จักใช้จินตนาการ กว้างไกล สรุป ลักษณะพัฒนาการ
ด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย 2 ลักษณะ คือ โครงสร้างของร่างกาย การเคล่ือนไหวของร่างกาย
เปน็ ลาดบั จากง่ายสกู่ ารซบั ซอ้ น
1.4 งานวิจัยที่เก่ยี วขอ้ ง
ขวัญแก้ว ดารงค์ศิริ (2550 : 25) ได้ทาการวิจัยเร่ืองผลการใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะ
โดยเน้นจุดประสงค์ที่มีต่อความพร้อมทางด้านร่างกายของเด็กโรงเรียนอนุบาลยโสธร ช้ันอนุบาลปีที่ 1 โดย
แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 ได้จากการสุ่มอย่างง่ายผลการวิจัยปรากฏว่า เด็กที่ผ่านการ
จดั กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะโดยเน้นจุดประสงคม์ พี ัฒนาการด้านร่างกาย ท้ังภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มมี
พฒั นาการด้านรา่ งกายแตกต่างกนั อย่างไมม่ ีนยั สาคญั ทางสถิติ
นิตยา ประพฤติกิจ (2552 : 2) กล่าวว่า เด็กวัยนี้พัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อใหญ่( Large
Muscles) ได้บ้างแลว้ ดงั นน้ั เดก็ จึงสามารถว่ิง กระโดด ขว้าง และปนุ ปูายได้แต่ในลักษณะท่ียังไม่พร้อมและไม่
คลอ่ ง ดงั นน้ั เดก็ วยั น้จี ะทาอะไรจงึ ใชพ้ ละกาลงั กาย
นภเนตร ธรรมบวร (2550 : 73) กลา่ วว่า การทางานของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ หมายถึงการพัฒนาความสามารถ
ในการบงั คบั กล้ามเนื้อท่ใี ชใ้ นการเคลื่อนไหวร่างกาย ได้แก่ การเดิน การวิ่งการกระโดด การเตะลูกบอล การปุน
ปูาย และการจับหรอื ขวา้ งลูกบอล เปน็ ตน้
2. เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั กิจกรรมเคล่อื นไหวเชิงโยคะ
2.1 ทฤษฎที ี่เกี่ยวขอ้ งกับการเคล่ือนไหวเชงิ โยคะ

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Law of Learning) ซึ่งเน้น การเรียนรู้ ด้วยการ
เรียนรู้ด้วยกฎ 3 ประการได้แก่ 1.1 กฎของความพร้อม (Law of Feading) การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ก็ ต่อเม่ือ

เด็กมคี วามพร้อมทั้งกายและใจ เก่ียวกับร่างกาย (Physical) เป็นการเตรียมพร้อมในการ ใช้กล้ามเนื้อและระบบ
ประสาท ให้สัมพันธ์กัน (Co-Ordination) เพ่ือการฝึกทักษะเกี่ยวกับทางจิตใจ (Mental) เป็นความพร้อม
ทางด้านสมองหรือสติปัญญา ควรคานึงถึงความพร้อมในวัยต่าง ๆ ด้วย ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เม่ือเด็กมี
ความพร้อมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ก็จะส่งผลให้เกิด การเรียนรู้ที่ดียิ่งข้ึน ถือเป็นเร่ืองสาคัญในการสอน
มากทีเดียว 1.2 กฎของผล (Law of Effects) การเรียนรู้ของเด็กจะดีขึ้น ถ้าผลของการ กระทานั้นเป็นไปใน
ทางบวกหรือทางที่ดี ซึ่งจะทาให้เด็กเกิดความสนใจเด็กมีทักษะ (ทาได้)แสดงว่า เด็กมีสัมฤทธิ์ผล
(Achievement) คือความสนุกสนาน ความพึงพอใจ แต่ในทางกลับกัน ถ้าผล ของการกระทานั้นไม่ดี เป็นกฎท่ี
เกยี่ วกบั การให้รางวัลไมค่ วรจะทาโทษหรือตาหนิ ครูอาจทาได้ เหมือนกันแต่ต้องบอกเหตุผลว่าทาไม เพราะเหตุ
ใดด้วย มิฉะนั้นจะเกิดปัญหายิ่งข้ึน 1.3 กฎของการฝึกหัด (Law of Ecescise) การเรียนรู้จะดีขึ้น ถ้าได้มีการ
ฝึกหัดกฎน้ีจะจาเป็นอย่างย่ิง และการฝึกหัดจะต้องทาด้วยวิธีการท่ีถูกต้อง จึงจะช่วยส่งเสริมการ เรียนรู้ท่ีดี
(เชาวลิต ภมู ิภาค.2532 : 109 - 110)

2.2 ความหมายของกิจกรรมเคล่ือนไหวเชิงโยคะ
สาลีส่ ุภาภรณ.์ (2550 : 4) กล่าวว่า โยคะ (Yoga) หมายถึง เป็นวธิ ีการฝึกความ อ่อนตัวด้วยการยืด

เหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับท่ี (Static Stretching) แต่โยคะแตกต่างจากการยืด เหยียดกล้ามเน้ือแบบอยู่กับที่
คือ การยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบอยู่กับท่ีเน้นการฝึกทางด้านร่างกาย เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อและข้อต่อสามารถ
เคลอ่ื นไหวไดร้ ะยะทางท่เี พิ่มขนึ้ สว่ นโยคะเนน้ การฝกึ รา่ งกายและจติ ใจเพราะผู้ฝึกต้องมีสติอยู่กับการเคลื่อนไหว
และจิตใจจะต้องจดจ่ออยู่กับลมหายใจท่ี ผ่านเข้าออกตลอดเวลา กล่าวได้ว่าการยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบโยคะ
เป็นการร่วมร่างกายและจิตใจ เขาด้วยกัน กล่าวโดยสรุปความหมายของการเคล่ือนไหวเชิงโยคะ คือ การ
เคล่ือนไหวร่างกาย โดยเน้นการฝึกร่างกายและจิตใจเพราะผู้ฝึกต้องมีสติอยู่กับการเคลื่อนไหว ค้นพบการแก่
ปัญหา ต่างๆ เพ่ือให้เด็กหาคาตอบด้วยตนเอง ซึ่งมีพ้ืนฐานอันประกอบด้วยการรู้จักส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย
พื้นท่จี งั หวะ ทศิ ทางอีกทัง้ ระดับ

2.3 ความสาคญั กิจกรรมเคล่ือนไหวเชิงโยคะ
พีระ บุญจริง (2560 : 34 – 35) หัวใจสาคัญของโยคะอีกข้อหนึ่ง คือ การฝึกการ หายใจ การ

หายใจท่ีถูกต้องนนั้ สวนทางกับการหายใจในชวี ิตประจาของคนทั่วไป แต่สามารถแก้ไขได้ การหายใจเข้าเพียงแค่
ยืดลาตวั ขึน้ แลว้ หายใจยาว ๆ จากใตร้ าวนมขน้ึ มา นับ 1 ถึง 4 จากน้ัน หายใจออกโดยการผ่อนลมหายใจ ท้อง

จะแฟบเองโดยอัตโนมัติเน่ืองจากลาตัวยืดข้ึน ในช่วงแรก ๆ ถ้าฝีมือประกบหน้าท้อง จะทาให้การเรียนรู้ง่ายขึ้น
เมื่อเด็ก ๆ หายใจได้อย่างถูกต้อง และมีความ ชานาญจนกลายเป็นธรรมชาติแล้ว ทีนี้ก็จะเร่ิมท่ายืดเหยียด
กล้ามเนื้อ คือการกางแขน กางขา การ โน้มตัว ท่ายืดเหยียดเป็นการเตรียมความพร้อม และสร้างความคุ้นเคย
ก่อนขึ้นท่าต่าง ๆ

2.4 หลักการของกจิ กรรมเคลือ่ นไหวเชิงโยคะ
สธุ รี ์ พันทอง (2560 : 27) การฝกึ โยคะสาคัญทกี่ ารควบคุมลมหายใจให้ตรงกับการ เคลื่อนไหวของ

รา่ งกายในท่าต่างๆ เราจะมีความรสู้ ึกเหมอื นได้พกั ผอ่ นและการที่เราหายใจลึกๆ จะ ทาให้ท่าทางต่าง ๆ สมบูรณ์
ร่างกายก็จะได้รับออกซิเจนเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างเต็มท่ีท่าของโยคะ แต่ละท่ามีผลไปถึงสรีระของมนุษย์ทุก
สว่ น เพราะจะชว่ ยให้การหลัง่ สาร(ฮอรโ์ มน) ของต่อมต่างๆ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยให้กล้ามเน้ือ
ระบบประสาทได้พักผ่อน ช่วยกระตุ้นการ ไหลเวียนของโลหิต และยึดเส้นเอ็นท่ีแข็งตึง รวมท้ังข้อต่อต่างๆ
นอกจากน้ยี ังช่วยนวดอวยั วะใน ช่องท้อง และช่วยให้จติ ใจสงบมากข้ึนด้วย

วธิ กี ารดาเนนิ การวิจยั

ในการวิจัยคร้งั น้ี ผ้วู ิจยั ใชน้ วตั กรรมที่กาหนดข้นึ ในการจัดกจิ กรรมดังน้ี
1. ทาการทดสอบ เด็กนักเรยี น ชน้ั อนบุ าล 3/2 ก่อนการฝึกปฏบิ ัติ
2. ดาเนินการจัดกจิ กรรมตงั้ แต่ 1 กนั ยายน – 8 ตลุ าคม 2564 รวม 10 แผน

ตารางกจิ กรรมประจาวัน

การจดั กิจกรรม ระยะเวลาการทดลอง วนั ทีท่ าการทดลอง เวลา
กจิ กรรมโยคะ สัปดาห์ที่ 1 วนั อังคาร,พฤหสั บดี 09.00-09.25
กจิ กรรมโยคะ สปั ดาห์ที่ 2 วันองั คาร,พฤหัสบดี 09.00-09.25
กจิ กรรมโยคะ สัปดาห์ท่ี 3 วนั องั คาร,พฤหัสบดี 09.00-09.25
กิจกรรมโยคะ สัปดาห์ที่ 4 วันอังคาร,พฤหัสบดี 09.00-09.25
กิจกรรมโยคะ สัปดาหท์ ่ี 5 วันอังคาร,พฤหสั บดี 09.00-09.25

3. หลงั จากการใชน้ วัตกรรมแลว้ ผู้วจิ ัยได้ทาการประเมนิ ผลก่อนและหลงั การฝกึ ปฏบิ ัติ เพื่อดู
พัฒนาการของนักเรยี นชั้นอนุบาล 3/2

การวิเคราะหข์ ้อมลู

สังเกตการเล่นกจิ กรรมโยคะของนักเรียน

ตวั แปรทศ่ี กึ ษา

ตวั แปรตน้
กจิ กรรมโยคะ

ตวั แปรตาม
การพัฒนาทกั ษะการเคลื่อนไหวกลา้ มเน้ือมดั ใหญ่เพ่มิ ขนึ้

ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั
ประชากรใช้ในการวจิ ยั คร้ังนี้ คอื นกั เรยี นชาย – หญงิ อายรุ ะหวา่ ง 5–6 ปี ทกี่ าลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน

เทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ตาบลหน้าเมือง อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ช้ันอนุบาลปีท่ี 3/2 ภาค
เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 32 คน

กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชาย – หญิง อายุระหว่าง 5–6 ปี ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน

เทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ตาบลหน้าเมือง อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ชั้นอนุบาลปีที่ 3/2ภาค
เรยี นท่ี 1 จานวน 32 คน โดยการเลือกจับสลากนกั เรยี นจานวน 15 คน เพือ่ ใชเ้ ป็น กลุ่มทดลอง

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
นวัตกรรม ไดแ้ ก่

- แผนการจดั การเรยี นรู้กจิ กรรมโยคะ
- แบบสงั เกตทักษะกล้ามเนือ้ มดั ใหญ่ของเดก็ ปฐมวยั
ระดบั คุณภาพ
3 หมายถงึ เดก็ สามารถปฏิบตั ไิ ด้ดมี าก

2 หมายถงึ เดก็ สามารถปฏบิ ัตไิ ดด้ ี
1 หมายถงึ เดก็ สามารถปฏิบตั ิไดบ้ ้างเปน็ บางคร้ัง
สรุปผลการวิจัย

ภายหลังการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมัดใหญ่ของเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมโยคะสาหรับ
นกั เรียนชน้ั อนุบาล 3/2 โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์ โดยใชก้ ารจัดกิจกรรมโยคะ พบวา่ นักเรียนช้ัน
อนุบาล 3/2 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ทั้ง 15 คน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมโยคะ มีการพัฒนา
ทกั ษะการเคลือ่ นไหวกล้ามเนื้อมดั ใหญ่เพิ่มขน้ึ
ขอ้ เสนอแนะในการทางานวจิ ัย

1. ควรมีการศึกษาวิจัยถึงผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวเชิงโยคะเพ่ือพัฒนาทักษะด้านอื่นๆ เช่น ทักษะ
การใช้กลา้ มเนอื้ เล็ก พฤติกรรมก้าวรา้ ว พฒั นาการด้านอารมณเ์ ป็นต้น

2. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยระหว่างผลการจัด กิจกรรม
เคล่ือนไหวเชิงโยคะกับการจัดกจิ กรรมในรูปแบบอ่ืน ท่ีมีผลต่อพัฒนาการด้านร่างกาย เพ่ือนาผลมาเป็นแนวทาง
ในการจัดกิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมพฒั นาการด้านร่างกายให้กบั เดก็ ปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม

แผนการจัดกจิ กรรมเคล่อื นไหวเชิงโยคะ
ครัง้ ที่ 1

กจิ กรรม ทา่ ตน้ ตาล

จุดม่งุ หมาย
1.เพอ่ื พฒั นากลา้ มเน้ือมัดใหญ่ในทกั ษะต่างๆ ที่ไดร้ บั การจัดกจิ กรรมโยคะ

การดาเนนิ กิจกรรม

ขัน้ นา
ให้เดก็ อบอนุ่ รา่ งกายโดย สะบัดมอื ซา้ ยขวา วิ่งอย่กู บั ท่ี นับ 1-10

ข้นั ดาเนนิ กจิ กรรม
ครูสร้างข้อตกลงพร้อมกับแนะนาท่าทางโยคะที่จะใช้ในการทากิจกรรม คือท่าต้นตาล ให้เด็กๆทาท่า

โยคะ ชว่ ยเพิ่มความยึดหยุ่นได้ ทาให้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้ การ
เคล่ือนไหวร่างกายส่วนต่างๆสัมพนั ธ์กนั และทรงตัวไดด้ ี

ข้นั สรุป
ให้เดก็ ๆผอ่ นคลายกลา้ มเนื้อโดย ให้เดก็ นั่งลงแลว้ เอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

สื่อ
- คลิปวดิ ีโอการทาทา่ โยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมนิ ผล
1.แบบสังเกตทกั ษะกลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ของเด็กปฐมวยั

แผนการจดั กจิ กรรมเคล่ือนไหวเชงิ โยคะ
ครัง้ ท่ี 2

กิจกรรม ท่ากง่ึ ไม้

จดุ มุ่งหมาย
1.เพ่อื พฒั นากลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ในทักษะต่างๆ ที่ได้รับการจัดกิจกรรมโยคะ

การดาเนนิ กิจกรรม

ขนั้ นา
ให้เด็กอบอุ่นรา่ งกายโดย สะบัดมอื ซา้ ยขวา วิ่งอยู่กับท่ี นับ 1-10

ข้ันดาเนินกิจกรรม
ครูสรา้ งข้อตกลงพรอ้ มกบั แนะนาทา่ ทางโยคะทจ่ี ะใช้ในการทากจิ กรรม คอื ท่าก่ึงไม้ ให้เด็กๆทาท่าโยคะ

ช่วยเพิ่มความยึดหยุ่นได้ ทาให้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้ การ
เคลื่อนไหวรา่ งกายส่วนต่างๆสมั พนั ธก์ นั และทรงตัวได้ดี

ขั้นสรุป
ให้เดก็ ๆผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือโดย ใหเ้ ด็กนั่งลงแล้วเอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

ส่ือ
- คลิปวิดีโอการทาทา่ โยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสังเกตทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญข่ องเด็กปฐมวยั

แผนการจัดกจิ กรรมเคลอ่ื นไหวเชิงโยคะ
ครั้งที่ 3

กจิ กรรม ท่านกบิน

จดุ มุง่ หมาย
1เพื่อพัฒนากล้ามเน้อื มดั ใหญ่ในทกั ษะต่างๆ ทีไ่ ดร้ ับการจดั กจิ กรรมโยคะ

การดาเนินกิจกรรม

ขนั้ นา
ให้เดก็ อบอนุ่ รา่ งกายโดย สะบัดมอื ซ้ายขวา วิ่งอยูก่ ับที่ นับ 1-10

ขั้นดาเนินกิจกรรม
ครูสรา้ งข้อตกลงพร้อมกับแนะนาท่าทางโยคะที่จะใช้ในการทากิจกรรม คือท่านกบิน ให้เด็กๆ ทาท่า

โยคะ ช่วยเพมิ่ ความยึดหย่นุ ได้ ทาใหก้ ลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้การ
เคลื่อนไหวร่างกายส่วนตา่ งๆสัมพันธก์ ันและทรงตวั ไดด้ ี

ข้นั สรปุ
ใหเ้ ดก็ ๆผอ่ นคลายกลา้ มเนื้อโดย ใหเ้ ดก็ นง่ั ลงแลว้ เอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

ส่ือ
- คลปิ วดิ ีโอการทาทา่ โยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผ่นรองโยคะ

การประเมนิ ผล
1.แบบสงั เกตทกั ษะกลา้ มเน้ือมดั ใหญข่ องเด็กปฐมวัย

แผนการจัดกจิ กรรมเคลือ่ นไหวเชงิ โยคะ
คร้งั ท่ี 4

กิจกรรม ทา่ สนุ ัขก้มตัว

จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อพฒั นากลา้ มเนื้อมัดใหญใ่ นทกั ษะต่างๆ ที่ได้รบั การจัดกจิ กรรมโยคะ

การดาเนนิ กจิ กรรม

ข้ันนา
ให้เด็กอบอนุ่ รา่ งกายโดย สะบดั มือซา้ ยขวา วงิ่ อยกู่ ับท่ี นบั 1-10

ขน้ั ดาเนินกิจกรรม
ครูสร้างข้อตกลงพร้อมกับแนะนาท่าทางโยคะท่ีจะใช้ในการทากิจกรรม คือ ท่าสุนัขก้มตัว

ใหเ้ ด็กๆ ทาทา่ โยคะ ชว่ ยเพ่มิ ความยึดหยุ่นได้ ทาให้กล้ามเนื้อมดั ใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มีประสิทธิภาพข้ึน
ช่วยใหก้ ารเคล่อื นไหวร่างกายสว่ นตา่ งๆสมั พันธก์ ันและทรงตัวได้ดี

ขนั้ สรุป
ให้เด็กๆผอ่ นคลายกล้ามเน้ือโดย ให้เด็กนง่ั ลงแล้วเอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

สือ่
- คลิปวดิ ีโอการทาท่าโยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสงั เกตทกั ษะกลา้ มเนื้อมดั ใหญข่ องเด็กปฐมวัย

แผนการจดั กจิ กรรมเคล่ือนไหวเชิงโยคะ
คร้งั ที่ 5

กิจกรรม ท่าแซนวิช

จดุ ม่งุ หมาย
1.เพอ่ื พัฒนากลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ในทักษะต่างๆ ท่ีไดร้ ับการจัดกิจกรรมโยคะ

การดาเนินกจิ กรรม

ขน้ั นา
ให้เดก็ อบอ่นุ รา่ งกายโดย สะบัดมอื ซ้ายขวา วงิ่ อยูก่ ับท่ี นบั 1-10

ขนั้ ดาเนินกจิ กรรม
ครูสร้างขอ้ ตกลงพร้อมกับแนะนาท่าทางโยคะที่จะใช้ในการทากิจกรรม คือท่าแซนวิช ให้เด็กๆ ทาท่า

โยคะ ช่วยเพม่ิ ความยดึ หยุน่ ได้ ทาให้กล้ามเนอ้ื มัดใหญ่ แขน ขา มอื เทา้ ลาตวั มีประสทิ ธิภาพขนึ้ ช่วยให้การ
เคลือ่ นไหวรา่ งกายสว่ นต่างๆสัมพันธ์กันและทรงตวั ไดด้ ี

ข้ันสรุป
ให้เดก็ ๆผ่อนคลายกลา้ มเน้ือโดย ให้เดก็ นัง่ ลงแล้วเอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

ส่อื
- คลปิ วิดีโอการทาท่าโยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผ่นรองโยคะ

การประเมนิ ผล
1.แบบสงั เกตทกั ษะกลา้ มเนื้อมัดใหญ่ของเด็กปฐมวยั

แผนการจัดกจิ กรรมเคล่ือนไหวเชิงโยคะ
คร้ังท่ี 6

กิจกรรม ทา่ ผเี ส้ือ

จดุ มงุ่ หมาย
1.เพ่อื พฒั นากล้ามเน้ือมัดใหญ่ในทกั ษะต่างๆ ท่ีได้รบั การจัดกิจกรรมโยคะ

การดาเนนิ กิจกรรม

ขั้นนา
ใหเ้ ด็กอบอ่นุ ร่างกายโดย สะบัดมอื ซ้ายขวา ว่ิงอยกู่ ับท่ี นบั 1-10

ขัน้ ดาเนินกิจกรรม
ครูสร้างข้อตกลงพร้อมกับแนะนาท่าทางโยคะท่ีจะใช้ในการทากิจกรรม คือท่าผีเส้ือ ให้เด็กๆ ทาท่า

โยคะ ชว่ ยเพิม่ ความยึดหยุน่ ได้ ทาให้กลา้ มเนอื้ มดั ใหญ่ แขน ขา มือ เทา้ ลาตัว มปี ระสทิ ธภิ าพขนึ้ ช่วยให้การ
เคลอื่ นไหวร่างกายสว่ นต่างๆสัมพันธก์ นั และทรงตัวไดด้ ี

ขน้ั สรุป
ใหเ้ ด็กๆผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดย ให้เด็กนัง่ ลงแลว้ เอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

สื่อ
- คลปิ วิดีโอการทาทา่ โยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสังเกตทกั ษะกลา้ มเนื้อมดั ใหญข่ องเด็กปฐมวัย

แผนการจัดกจิ กรรมเคลอ่ื นไหวเชงิ โยคะ
ครั้งที่ 7

กจิ กรรม ทา่ แมว

จดุ มุ่งหมาย
1.เพ่ือพฒั นากล้ามเน้ือมัดใหญใ่ นทกั ษะต่างๆ ท่ีไดร้ บั การจัดกจิ กรรมโยคะ

การดาเนนิ กิจกรรม

ขั้นนา
ใหเ้ ด็กอบอุ่นร่างกายโดย สะบดั มือซา้ ยขวา ว่ิงอย่กู ับท่ี นบั 1-10

ข้นั ดาเนนิ กจิ กรรม
ครสู รา้ งขอ้ ตกลงพร้อมกบั แนะนาท่าทางโยคะที่จะใช้ในการทากิจกรรม คือท่าแมว ให้เด็กๆ ทาท่า

โยคะ ช่วยเพิม่ ความยึดหยุน่ ได้ ทาให้กล้ามเน้ือมดั ใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มปี ระสทิ ธิภาพขน้ึ ช่วยให้การ
เคลอื่ นไหวรา่ งกายสว่ นต่างๆสัมพันธ์กันและทรงตัวได้ดี

ขัน้ สรปุ
ใหเ้ ด็กๆผ่อนคลายกลา้ มเนื้อโดย ใหเ้ ด็กนั่งลงแลว้ เอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

ส่อื
- คลปิ วิดีโอการทาทา่ โยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสังเกตทักษะกล้ามเน้ือมัดใหญข่ องเด็กปฐมวัย

แผนการจดั กจิ กรรมเคล่ือนไหวเชิงโยคะ
ครงั้ ท่ี 8

กจิ กรรม ทา่ แมวน้า

จดุ ม่งุ หมาย
1.เพ่อื พัฒนากลา้ มเน้ือมดั ใหญใ่ นทกั ษะต่างๆ ท่ีได้รบั การจัดกจิ กรรมโยคะ

การดาเนนิ กิจกรรม

ขั้นนา
ใหเ้ ด็กอบอนุ่ ร่างกายโดย สะบดั มอื ซา้ ยขวา ว่งิ อยูก่ ับท่ี นับ 1-10

ข้นั ดาเนินกจิ กรรม
ครสู ร้างขอ้ ตกลงพร้อมกับแนะนาท่าทางโยคะทีจ่ ะใช้ในการทากิจกรรม คือท่าแมวน้า ให้เด็กๆ ทาท่า

โยคะ ช่วยเพิ่มความยึดหย่นุ ได้ ทาใหก้ ลา้ มเนื้อมดั ใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้การ
เคลอื่ นไหวร่างกายส่วนตา่ งๆสมั พันธ์กนั และทรงตวั ได้ดี

ขัน้ สรปุ
ใหเ้ ดก็ ๆผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดย ให้เด็กนงั่ ลงแลว้ เอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

ส่อื
- คลปิ วิดโี อการทาท่าโยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสังเกตทกั ษะกลา้ มเนื้อมัดใหญข่ องเด็กปฐมวัย

แผนการจดั กจิ กรรมเคลื่อนไหวเชิงโยคะ
ครั้งท่ี 9

กจิ กรรม ทา่ งู

จดุ มงุ่ หมาย
1.เพ่ือพฒั นากล้ามเน้ือมัดใหญใ่ นทักษะต่างๆ ที่ไดร้ บั การจัดกิจกรรมโยคะ

การดาเนนิ กจิ กรรม

ขน้ั นา
ให้เดก็ อบอนุ่ ร่างกายโดย สะบัดมือซา้ ยขวา วงิ่ อย่กู ับที่ นับ 1-10

ขั้นดาเนินกจิ กรรม ทาท่า
ครูสรา้ งขอ้ ตกลงพร้อมกบั แนะนาทา่ ทางโยคะที่จะใช้ในการทากิจกรรม คือท่างู ให้เด็กๆ ช่วยให้การ

โยคะ ชว่ ยเพิม่ ความยึดหยุ่นได้ ทาให้กล้ามเนื้อมดั ใหญ่ แขน ขา มอื เทา้ ลาตวั มีประสิทธภิ าพข้นึ
เคลือ่ นไหวร่างกายสว่ นต่างๆสมั พนั ธก์ ันและทรงตัวได้ดี

ขัน้ สรุป
ให้เด็กๆผ่อนคลายกล้ามเน้ือโดย ให้เด็กน่ังลงแล้วเอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

สอ่ื
- คลปิ วดิ โี อการทาท่าโยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผ่นรองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสังเกตทักษะกลา้ มเนื้อมัดใหญ่ของเด็กปฐมวัย

แผนการจดั กิจกรรมเคล่อื นไหวเชิงโยคะ
ครงั้ ท่ี 10

กิจกรรม ทา่ จระเข้

จดุ มงุ่ หมาย
1.เพอื่ พัฒนากลา้ มเนื้อมดั ใหญใ่ นทกั ษะต่างๆ ท่ีได้รบั การจัดกจิ กรรมโยคะ

การดาเนนิ กิจกรรม

ขั้นนา
ให้เด็กอบอุ่นร่างกายโดย สะบดั มือซา้ ยขวา วิง่ อยู่กับที่ นบั 1-10

ขน้ั ดาเนนิ กจิ กรรม
ครสู ร้างขอ้ ตกลงพร้อมกบั แนะนาาทา่ ทางโยคะท่ีจะใชใ้ นการทากิจกรรม คือท่าจระเข้ ให้เด็กๆ ทาท่า

โยคะ ช่วยเพ่ิมความยึดหยนุ่ ได้ ทาใหก้ ล้ามเนอ้ื มัดใหญ่ แขน ขา มือ เท้า ลาตัว มีประสิทธิภาพขึ้น ช่วยให้การ
เคลอ่ื นไหวรา่ งกายส่วนตา่ งๆสมั พันธก์ ันและทรงตวั ไดด้ ี

ขน้ั สรปุ
ให้เดก็ ๆผอ่ นคลายกล้ามเนื้อโดย ใหเ้ ด็กน่งั ลงแล้วเอามือนวดแขนขา ตนเองเบาๆ

สอ่ื
- คลปิ วดิ ีโอการทาทา่ โยคะ
- ภาพการทาโยคะ
- แผน่ รองโยคะ

การประเมินผล
1.แบบสังเกตทกั ษะกลา้ มเน้ือมัดใหญข่ องเด็กปฐมวัย

แบบสงั เกตทักษะกลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่ของเด็กปฐมวยั (ก่อน)
คาช้แี จง ให้ทาเครือ่ งหมาย √ ลงในช่องผลการประเมินที่เปน็ จริง

พัฒนาการท้งั 4 ด้าน

ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสงั คม ด้านสติปัญญา
สังเกตการปฏิบตั ิ
สงั เกตความ สังเกตความร่าเริง สังเกตการเล่น ตามกฎกติกาใน

ที่ ชือ่ -สกลุ คลอ่ งแคลว่ ในการใช้ สดช่นื แจ่มใส ร่วมกับผอู้ ื่นได้ การเลน่

กล้ามเนอ้ื มดั เล็กและ อารมณ์ดี และ อย่างมีความสุข 321

กลา้ มเนือ้ มัดใหญ่ สนกุ สนาน √

3 2 1 321321 √

1 เด็กชายสมหวัง แจ้งเจรญิ √ √√ √

2 เดก็ ชายจารุวฒั น์ เชอ้ื สกลุ √√ √ √

3 เด็กชายธีรฉตั ร จนั ทรก์ อน √√ √ √

4 เดก็ ชายโภคนิ สุทธิแสงจันทร์ √ √√ √

5 เดก็ ชายก้องภพ มณนี ลิ √ √√

6 เด็กชายวีรภทั ร กาญจนดิษฐ์ √ √√ √

7 เดก็ ชายนิธิศ วะนะเจรญิ √√ √ √

8 เดก็ ชายณชั พล รัชนีกร √ √√

9 เดก็ ชายภูริวัจน์ วงศว์ ีระเมธี √ √√

10 เดก็ หญงิ ศรัญญา ล้อดี √ √ √

11 เดก็ หญงิ วลัยพร เหลี่ยมทอง √ √ √

12 เดก็ หญงิ ญาณศิ า ศรีสขุ √ √√

13 เด็กหญิงธีมาพร เรืองสงา่ √ √√

14 เด็กหญิงศิโรธร นิลโมทย์ √ √√

15 เดก็ หญงิ ปภาวี ม่อนละมลู √ √√

ระดับคณุ ภาพ
3 หมายถึง เดก็ สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ดมี าก
2 หมายถึง เด็กสามารถปฏิบตั ไิ ด้ดี
2 หมายถงึ เด็กสามารถปฏบิ ัติไดบ้ า้ งเปน็ บางครั้ง

แบบสงั เกตทกั ษะกลา้ มเน้ือมัดใหญข่ องเดก็ ปฐมวัย (หลงั )
คาช้แี จง ให้ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องผลการประเมนิ ที่เปน็ จรงิ

พฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น

ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปญั ญา

สงั เกตความ สงั เกตความร่าเรงิ สงั เกตการเล่น สงั เกตการ

ที่ ชือ่ -สกลุ คล่องแคล่วในการใช้ สดช่นื แจม่ ใส รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ ง ปฏิบัตติ ามกฎ

กลา้ มเนื้อมัดเลก็ และ อารมณ์ดี และ มคี วามสขุ กตกิ าใน การ

กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ สนกุ สนาน เลน่

3 2 1 3 2 1 3 2 1321

1 เด็กชายสมหวัง แจ้งเจรญิ √ √ √√

2 เดก็ ชายจารุวฒั น์ เชอ้ื สกลุ √ √ √√

3 เด็กชายธีรฉตั ร จนั ทรก์ อน √ √√ √

4 เดก็ ชายโภคนิ สุทธิแสงจันทร์ √ √√√

5 เดก็ ชายก้องภพ มณนี ลิ √ √√√

6 เด็กชายวีรภทั ร กาญจนดิษฐ์ √ √√√

7 เดก็ ชายนิธิศ วะนะเจรญิ √ √√√

8 เดก็ ชายณชั พล รัชนีกร √ √√√

9 เดก็ ชายภูริวัจน์ วงศว์ ีระเมธี √ √√√

10 เดก็ หญงิ ศรัญญา ล้อดี √ √ √√

11 เดก็ หญงิ วลัยพร เหลี่ยมทอง √ √ √√

12 เดก็ หญงิ ญาณศิ า ศรีสขุ √ √ √√

13 เด็กหญิงธีมาพร เรืองสงา่ √ √ √√

14 เด็กหญิงศิโรธร นิลโมทย์ √ √ √√

15 เดก็ หญงิ ปภาวี ม่อนละมลู √ √ √√

ระดับคณุ ภาพ
3 หมายถึง เด็กสามารถปฏิบัติไดด้ ีมาก
2 หมายถึง เด็กสามารถปฏบิ ัติไดด้ ี
1 หมายถงึ เด็กสามารถปฏบิ ัติได้บ้างเปน็ บางครั้ง

ภาคผนวก

เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย
- แผนการจดั กจิ กรรมโยคะ 10 แผน
- แบบสังเกตทักษะกล้ามเน้ือมัดใหญ่ของเดก็ ปฐมวยั

เอกสารอา้ งองิ

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2560). หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พค์ รุ ุสภา ลาดพร้าว.

เกศสดุ า ชาตยานนท์. (2560). โยคะฝึกสมาธิเด็ก. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทรกั ลูกแฟมิลก่ี รุ๊ป จากดั .
ขวญั แก้ว ดารงค์ศิร.ิ (2550. ผลการใช้กจิ กรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะโดยเน้นจุดประสงค์ทีม่ ีตอ่

ความพร้อมทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย) กรุงเทพฯ :
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ถ่ายเอกสาร.
นภเนตร ธรรมบวร. (2550). รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนสาหรับเดก็ วัยต่ากวา่ 3 ปี: โครงการ

บา้ นหนูน้อย. สถาบันราชภัฎสวนดสุ ิต.
นิตยา ประพฤติกิจ. (2552). การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั . กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์โอเดียนสโตร์ :
สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2551). การเล้ยี งดเู ด็กกอ่ นวัยเรยี น 3-5 ขวบ. กรุงเทพฯ :

โชติสุข การพมิ พ์.
สาล่สี ภุ าภรณ์. (2550). ตาราไอเยนกะโยคะ. กรงุ เทพฯ : เฟอ่ื งฟูาพรน้ิ ติง้
สิรมิ า ภญิ โญอนตั พงษ์. (2552). การวดั ผลและประเมินแนวใหมเ่ ดก็ ปฐมวัย. กรงุ เทพฯ : ภาควิชา

หลกั สูตรและการสอน. สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.
สธุ ีร์ พันทอง. (2560). 7 Day Yoga โปรแกรมฝึกโยคะในเจ็ดวนั .กรงุ เทพฯ : บริษทั พมิ พ์ดี จากัด.
พีระ บญุ จริง. (2560). โยคะชาระโรค.พิมพ์ครั้งท2ี่ .กรงุ เทพฯ : ธรรมรกั ษก์ ารพมิ พ์

. ( 2547). โยคะสาหรับเดก็ . ราชบรุ ี : ธรรมรักษก์ ารพิมพ์
ศรเี รือน แกว้ กงั วาน. (2560). จติ วทิ ยาพฒั นาการชีวติ ทุกชว่ งวัย เล่ม 1 : แนวคิดเชงิ ทฤษฎีวยั เด็ก

ตอนกลาง.พิมพ์คร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
อรพรรณ สมุ านสั . (2550). ปัจจัยบางประการทเี่ กย่ี วขอ้ งกับอายุครรภพ์ ฒั นาการทางกายและสขุ ภาพของ

เดก็ แรกเกดิ .ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ม.(จิตวิทยาพฒั นาการ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.


Click to View FlipBook Version