The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

00วิทยากรกับการเล่นกอล์ฟ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by neelayothin, 2021-09-20 23:15:20

วิทยากรกับการเล่นกอล์ฟ

00วิทยากรกับการเล่นกอล์ฟ

Keywords: วิทยากรกับการเล่นกอล์ฟ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นกั รบ ระวังการณ์
ภาควิชาศึกษาศาสตร์

“วทิ ยากรกบั การเล่นกอลฟ์ ” (ตอนท่ี 1)

มลี กู ศษิ ยถ์ ามผมวา่ เปน็ วทิ ยากรงานเยอะ แลว้ จะเอาเวลาทไ่ี หนไปเล่นกอล์ฟ และเลน่ แล้วไดอ้ ะไรมัน
คุ้มม้ัย? เป็นคาถามท่ีผมต้องตอบและอธิบายบ่อยมาก เลยขอบันทึกเป็นความทรงจากับตัวเองและบางข้อคิด
จากประสบการณอ์ าจจะเป็นประโยชนก์ ับเครือขา่ ยวิทยากรบ้างครบั ผมเริ่มเลน่ กอล์ฟด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ

1. มีลูกค้าต้องการให้ผมไปอบรม เรื่อง การบริการท่ีเป็นเลิศ กับบุคลากรท่ีเป็นแคดดี้ ซ่ึงผมไม่เคยมี
ความรู้เลยว่างานของแคดด้ตี ้องใหบ้ ริการอย่างไร

2. เวลาที่ผมไปเปน็ วทิ ยากรแล้วต้องนั่งทานอาหารกับผู้บริหารหรือผู้หลักผู้ใหญ่ ตอนท่ีเรายังอาวุโส
น้อย ไมร่ ้จู ะหาเร่ืองอะไรมาคยุ บนโต๊ะ แตพ่ อมีคนคุยเร่ืองกอลฟ์ บรรยากาศผอ่ นคลายทนั ที

ผมเริ่มฝึกการเลน่ กอลฟ์ จากอาจารยใ์ นมหาวิทยาลยั ที่ทา่ นเลน่ กอล์ฟเป็น แตก่ ็พบว่าถ้าจะพัฒนาได้ดี
ควรจะยอมเสียเงินจ้างโปรกอล์ฟที่เป็น Teaching Pro มาเริ่มวางพ้ืนฐานให้จะดีกว่า เพราะกีฬากอล์ฟต้องเรียนรู้
ท้ังหลักการเคล่ือนไหวร่างกาย การดูแลร่างกาย อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการเล่น กฏกติกามารยาทแบบมาตรฐาน
การออกรอบ การเตรียมตัว อาหารการกิน จิตวิทยาในการเล่นกอล์ฟ และเทคนิคการวางแผนและการแก้ปัญหา
ซึ่งในแตล่ ะองค์ความรู้น้ีสามารถนามาปรับใช้ในการสอนของวิทยากรได้อย่างมาก โดยผมจะค่อย ๆ ทยอยแบง่ ปัน
ความรเู้ หล่านเี้ ป็นตอน ๆ ไป สาหรบั ประโยชน์ทีว่ ิทยากรจะไดร้ บั จากการเลน่ กอลฟ์ มีหลายประการครับ

1.ท่านจะสามารถบริหารเวลาของตัวเองเพ่ือการออกกาลังกายและดูแลตัวเองได้มากข้ึน เพราะมี
เปา้ หมายในการใช้ชวี ติ ใหน้ านขึน้ กีฬากอลฟ์ สามารถเลน่ ได้ช่ัวชีวิตถา้ ร่างกายยังแข็งแรงอยู่

2. ท่านจะได้ฝึกฝนการมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ของตัวเอง เพราะต้องเผชิญสถานการณ์ท่ีไม่แน่นอน
สภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ผู้คนท่ีต้องเกี่ยวข้องด้วยและการที่ท่านจะต้องเอาชนะใจ
ตัวเองใหไ้ ด้

3. ท่านจะได้พัฒนาทักษะการมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคม เพราะกีฬากอล์ฟมีกฏกติกา
มารยาทในการเลน่ เยอะมาก ซ่งึ ส่งิ เหลา่ นี้จะสะท้อนความเป็นตวั ตนของทา่ นต่อสาธารณชน

4. ท่านจะได้พัฒนาการใช้สมองท้ังซีกซ้ายและขวาได้อย่างสมดุลย์ เพราะการเล่นกอล์ฟต้องใช้การ
คดิ เชิงกลยทุ ธค์ วบคู่กบั ความคิดเชงิ จนิ ตนาการ

5. ท่านจะได้ประสบการณ์และบทเรียนทุกครั้งจากการเล่นที่จะสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการ
ออกแบบการเรียนการสอนของวทิ ยากรไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

6. ท่านจะได้เครือข่ายทจี่ ะเป็นลูกค้าฝกึ อบรมในอนาคตและมีกัลยาณมติ รเพม่ิ มากข้นึ
“กีฬากอล์ฟกับวิทยากร จะช่วยเพิ่มคุณค่าและมูลค่าแก่ตัววิทยากรได้อย่างคุ้มค่า” มาลองติดตามและเรียนรู้ไป
ด้วยกันครับ

“วทิ ยากรกับการเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนที่ 2)

วิทยากรที่เก่งกับนักกอล์ฟ
ท่ีเก่ง มีความเหมือนที่ใช้ในการเรียนรู้
เพ่ือพัฒนาตนเองเช่นเดียวกัน ดังท่ีลูก
ศิ ษ ย์ ห ลั ก สู ต ร เ ท ค นิ ค วิ ท ย า ก ร แ ล ะ
หลักสูตรศิลปะการพูดของผมมักจะต้ัง
คาถามใน ทุกเวทีว่า “เคล็ดลับของ
วิทยากรท่ีเก่งหรือนักพูดที่เก่งคืออะไร”
ซึ่งผมก็จะยกคาตอบของ เดล คาร์เนกี
ท่ีว่า”หากต้องการเป็นนักพูดท่ีประสบ
ความสาเร็จ มีหนทางเดียวคือต้อง
practice practice and practice”
เช่นเดียวกับการเล่นกอล์ฟครับ จาก
ประสบการณ์ส่วนตัวและจากท่ีได้เรียนรู้
กับโปรกอล์ฟและเพื่อน ๆนักกอล์ฟก็เหน็
ไปในทิศทางเดียวกันว่า”หากต้องการ
เป็นนักกอล์ฟท่ีประสบความสาเร็จมี
หนทางเดียวคือ ต้องฝึกฝน ฝึกฝนและ
ฝึกฝน” แต่อย่างไรก็ตามการฝึกฝนทั้ง
ก อ ล์ ฟ แ ล ะ วิ ท ย า ก ร น้ั น จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี
แนวทางในการฝกึ ทถี่ กู ต้องดังนคี้ รบั

(1) ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนและมุ่งมั่นท่ีจะประสบ
ความสาเรจ็
(2) สร้างทัศนคติเชิงบวกที่พรอ้ มจะเรียนรู้อย่างไม่มี
เงื่อนไข
(3) แสวงหาและเก็บเกี่ยวความรู้และประสบการณ์
อยา่ งสม่าเสมอ
(4) ทุกคร้ังท่ีมีโอกาสในการขึ้นเวทีหรือลงสนาม
ตอ้ งเตรยี มตัวและเล่นให้เตม็ ท่ี
(5) เม่ือได้ฝึกซ้อมหรือลงเล่นเสร็จทุกครั้ง ต้อง
ทบทวนตัวเองเพื่อหาจดุ อ่อนจุดแข็งและพฒั นาต่อ
(6) มีการวางแผนการฝึกฝนอยา่ งมีระบบและมวี นิ ยั ในตนเอง
(7) รู้จักที่จะให้รางวัลและกาลังใจกับตัวเองบ้าง เพื่อให้เกิดความพยายามอย่างไม่หยุดยั้ง
หวงั วา่ ตอนที่ 2 นเ้ี หล่าทา่ นวิทยากรและนักกอลฟ์ รวมถงึ ทา่ นวิทยากรที่เลน่ กอล์ฟจะได้แนวความคิด
นี้ไปทดลองใช้กันดคู รบั

“วิทยากรกับการเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนท่ี 3)

1 ปีที่ผ่านมากับการพัฒนาการเล่นกอล์ฟอย่างจริงจัง ทั้งการ
Coach โดยโปรกอล์ฟ การฝกึ ซ้อมในสนามไดรฟ์ อย่างสมา่ เสมอ
การออกรอบหาประสบการณ์ใหต้ ่อเน่ืองและการพูดคุยทบทวน
ถอดบทเรียนกับเพ่ือนนักกอล์ฟเป็นประจา ทาให้ผมนึก
เทียบเคียงกับเมื่อคร้ังที่พัฒนาการเป็นวิทยากร คิดว่าแทบจะไม่
แตกต่างกันเลย 2 เรื่องน้ีเหมือนกันมาก เพราะสิ่งที่ผมได้เรียนรู้
และตกผลึกความคิดก็คือ การจะเปน็ วทิ ยากรมืออาชีพและการ
เป็นนักกอล์ฟท่ีดี “ต้องค้นหาตัวเองให้เจอ เรียนรู้แบบสร้าง
นิสัย ใฝ่เรียนรู้ ฝึกฝนตนเองให้มีช่ัวโมงบิน” โดยเฉพาะเร่ือง
การค้นหาตัวเองเป็นหลักการของเทคนิควิทยากร ซึ่งผมเองก็
พ่ึงรู้ว่าหลักการของนักกอล์ฟก็เช่นกัน 3 ส่ิงในการค้นหาตัวเอง
มีอะไรบ้าง ประการแรกต้องต้ังเป้าหมายกับตัวเองให้ชัดเจนว่า
เรา มีความมุ่งมั่น(passion)ต่อเร่ืองน้ัน ก็จะทาให้เราอดทน
อดกล้ันและมีวินัย ประการท่ีสองต้องวางแผนให้ดีทั้งเรื่องสุขภาพ เงินทอง เวลาและครอบครัว ก็จะช่วยให้เรา
ไมเ่ กดิ ความเครยี ด และประการท่ีสามตอ้ งหมน่ั ทบทวนตัวเองตลอดเวลา กจ็ ะช่วยลดทิฐิลดกเิ ลสได้
“เร่ิมต้นค้นหาตัวเองให้เจอ แล้ว
เราจะมีความสุขกับส่ิงที่เราอยากจะทาหรือ
อยากจะเป็น ความสาเร็จจะรอเราอยู่ตามท่ีเรา
ปรารถนา” ครับ

“วทิ ยากรกับการเล่นกอลฟ์ ” (ตอนที่ 4)

ลกู ศษิ ย์วิชาศิลปะการพูดและการนาเสนอ
มักถามผมว่า “อาจารย์ครับเวลาออก
ห น้ า เ ว ที แ ล้ วตื่ น เต้ น ปร ะหม่ าจะ
แก้ปญั หาอย่างไร” ในขณะท่ีฝกึ การเลน่
กอล์ฟผมก็ถามโปรกอล์ฟเหมือนกันว่า
“โปรครับ เวลาเร่ิมตีหลุมแรกบนแท่นที
ออฟ มีคนดูอยู่หลายคน ต่ืนเต้นมาก ๆ
เลยครับ และก็จะตีเสียทุกคร้ังเลย”
ผมคิดว่าคาถามคลาสสิคน้ี น่าจะเป็น
อมตะตลอดไป เพราะเร่ืองน้ีเปน็ เร่ืองของ
อารมณ์ล้วน ๆ แต่ในฐานะของวิทยากร
และคนเล่นกอล์ฟก็พอจะอธิบายคาตอบ

และหาทางออกของเรื่องน้ีแบ่งปันกันครับ
โดยเฉพาะคาสาคัญท่ีจะกล่าวถึง คือ “การจัดการ
อารมณ์ตนเอง” ความประหม่าต่ืนเต้น ขาดความมั่นใจ มีสาเหตุของอาการท่ีเกิดข้ึน อาทิ ขาดความรู้ความเข้าใจ
ที่แท้จริง ขาดการเตรียมตัวที่ดีมีทัศนคติท่ีผิด ๆ คิดลบเป็นนิสัย ขาดการฝึกฝนทักษะให้ชานาญและขาดสติเมื่ออยู่
ในสถานการณ์ท่ีกดดัน เป็นต้น ดังน้ันหากเราจะรักษาอาการดังกล่าวหรือจะจัดการอารมณ์ของตัวเองให้ได้ ขอแนะนา
วธิ ีการดงั นี้
(1) ก่อนจะไปเป็นวิทยากรหรือก่อนไปออกรอบ
ต้องเตรียมตัวให้ดีก่อน โดยการฝึกซ้อมให้ม่ันใจ เตรียมพร้อม
รา่ งกายจิตใจใหด้ ี ปรับโหมดความคดิ ให้เป็นบวกและมีความสุข
(2) เมื่อถึงหน้างานหรือถึงสนามกอล์ฟ ต้องสร้าง
ความม่ันใจในตวั เอง คิดแต่เรื่องดี ๆ มีมนุษยสัมพันธท์ ี่ดกี ับทกุ คน
ปลอ่ ยอารมณ์ให้สบาย ๆ ผ่อนคลาย
(3) เม่ือจะข้ึนเวทีหรือข้ึนตีหลุมแรก จินตนาการแต่
ส่ิงดี ๆ ท่ีจะเกิดข้ึน ต้ังสติและดึงความคิดมาอยู่กับปัจจุบันขณะ
ผ่อนคลายตัวเองด้วยการควบคุมการหายใจ ทบทวนความเข้าใจ
กบั สิ่งทจี่ ะต้องทาตามขน้ั ตอนทฝ่ี กึ ฝนมา และเร่มิ ตน้ อย่างมัน่ ใจ
(4) ระหว่างการพูดและดาเนินรายการหรือระหวา่ ง
การเล่นแต่ละหลุม ควบคุมสติอยู่กับตัวตลอดเวลา ถ้าเกิดปัญหา
ให้กลับมาที่ลมหายใจก่อน ผ่อนคลายตัวเอง ทาทุกอย่างต่อไปให้
รู้สกึ เบาสบาย หมั่นคอยให้กาลังใจตวั เองเปน็ ระยะ และหา้ มคดิ ลบโดยเด็ดขาด
หวังวา่ ประสบการณ์น้ีจะช่วยรักษาอาการของความตนื่ กลัวทางสังคมให้กับท่านได้ และหากตอ้ งการ
เพิ่มพูนความเข้าใจในเร่ืองการจัดการอารมณ์เพ่ิมเติม สาหรับวิทยากรให้ค้นคว้าเร่ืองจิตวิทยาการเรียนรู้ ส่วน
นักกอลฟ์ ให้ศกึ ษาเร่ือง จติ วิทยาการผอ่ นคลายตวั เองครบั

“วิทยากรกบั การเลน่ กอล์ฟ” (ตอนที่ 5)

“การปรับใจตัวเราให้เข้ากับบรรยากาศ
แวดล้อม” เป็น Mindset ท่ีวิทยากรและ
นักกอล์ฟควรนามาใช้ในเวลาท่ีเราจะต้องสอน
และออกรอบ บ่อยครั้งที่เรามักละเลยกับ
บรรยากาศดี ๆ ท่ีเราได้มีโอกาสสัมผัส เพราะ
มัวมุ่งม่ันกับผลลัพธ์ท่ีต้องการจนขาดทุนกาไร
ชีวิตจากส่ิงแวดล้อมรอบตัวเรา บรรยากาศ
แวดล้อมมีอิทธิพลต่อความคิดและจิตใจของ
วิทยากรและนักกอล์ฟทั้งก่อน-ระหว่าง-หลัง
ในช่วงก่อนนั้นหากเราเตรียมตัวมาดี เราก็จะมี
เวลามองรอบ ๆ ตัว ค่อย ๆ เสพย์บรรยากาศ
ซึมซับส่ิงแวดล้อม จนทาให้เรามีสมาธิและ
ความสุข ส่งผลต่อช่วงระหว่างการสอนหรือ
การเล่น ท่ีจะทาให้เรามีความคิดสร้างสรรค์
และจินตนาการ ส่วนช่วงหลังเสร็จส้ินภารกิจ
บรรยากาศที่เราสัมผัสทั้งหมดจะกลายเป็น
ประสบการณ์ท่ีน่าประทับใจและจดจาไว้
ไม่รู้ลืม ดังน้ันเมื่อเราได้มีโอกาสไปทา
หน้าท่ีวิทยากรหรือไปออกรอบเล่นกอล์ฟ
ควรบริหารจัดการเวลาเผ่ือไว้สาหรับการ
สัมผัสบรรยากาศดี ๆ ท่ีได้พบเจอ ตั้งสติ
อ ยู่ กั บ ตั ว ต ล อ ด เ ว ล า ใ น ก า ร ท า ตั ว ใ ห้
กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ถ้าปรับ
ความคิดและจิตใจแบบนี้ได้ ผมเช่ือว่า
ผลงานท่ีเกิดข้ึนจะได้แบบ “คนสาราญ
งานสมั ฤทธิ์” แนน่ อนครับ

“วทิ ยากรกับการเล่นกอลฟ์ ” (ตอนท่ี 6)

วิธีสอนสาคัญกับวิทยากรมากเท่าใด วิธีเล่นก็สาคัญกับนักกอล์ฟมากเช่นนั้น... เป็นความคิดเห็นท่ี
ตรงกันระหวา่ งผมกับโปรสเุ ทพ ซ่ึงท่านเป็นกัลยาณมิตรท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั ผมในศาสตร์ของวิทยากรกับศาสตร์
ของกอล์ฟมาตลอด 1 ปีที่ผ่านมา และท่านเป็นผู้จุดประกายให้ผมหันมาสนใจการพัฒนาการเรียนรู้ในศาสตร์ของ
กีฬากอล์ฟ ทาไมวิธีสอนและวิธีเล่นจึงสาคัญ ? เพราะเม่ือใดที่เราจะต้องไปเป็นวิทยากรหรือไปออกรอบ เราต้อง
คิดถึงวธิ กี ารท่ีเราจะใชก้ ่อนเป็นการคิดวางแผนลว่ งหน้า โดยมีประเด็นท่ีตอ้ งพิจารณาคือ

1. ประเมินศักยภาพ ความถนัดและความพร้อมของ
ตัวเราก่อน โดยปกติทั้งวิทยากรและนักกอล์ฟที่มีความเป็นมือ
อาชีพจะมีการพัฒนาตัวเองตลอดเวลา ดังนั้นการไปออกงาน
แตล่ ะครั้ง จงึ จาเปน็ ต้องมีการประเมนิ ตัวเองก่อนเสมอ

2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและผู้คนท่ีเราต้องเผชิญ
เพื่อให้เราเตรียมตัวเตรียมใจได้อย่างมั่นใจ ข้อมูลที่เรานามา
พิจารณา อาทิ สภาพและส่ิงอานวยความสะดวกของสถานท่ี
ตลอดจนผคู้ นทเี่ ราต้องเกยี่ วขอ้ งดว้ ย

3. การตั้งเป้าหมายในการสอนและการเล่น ว่าเรา
ต้องการผลลัพธ์เป็นเช่นใด เช่น ต้องการผลงานที่มีคุณภาพ
ต้องการอารมณ์ความรู้สึกท่ีดี ๆ ต้องการเครือข่ายความสัมพันธ์
มากขึน้ ตอ้ งการเพม่ิ ช่วั โมงบินในการพัฒนาตัวเอง เป็นต้น

4. กาหนดแผนการสอนหรือแผนการเล่น ซึ่งต้องให้
เวลาในการกาหนดแผนอย่างจริงจัง โดยมีท้ังแผนหลักแผนรอง
และแผนฉุกเฉิน และแผนทุกแผนต้องมีความยืดหยุ่น
ปรบั เปลีย่ นไดต้ ามสถานการณ์และสภาพแวดล้อม

5. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ซึ่งต้องมี
การคาดการณ์ล่วงหน้าไว้บ้าง แม้จะมีการเตรียม
แผนไว้อย่างดีแล้วก็ตาม เพราะความไม่แน่นอน
ก็คือสิ่งที่แน่นอน ดังน้ันเคร่ืองมือที่ดีท่ีสุดที่จะ

ช่วยให้เราจัดการกับปัญหาเฉพาะหน้าได้ก็คือ
“สต”ิ และ “รอยย้มิ ”

6. สุดท้ายวิธีสอนและวิธีเล่นที่ดี
ที่สุดจะเกิดข้ึนไดต้ ้องมาจากการทบทวนถอด
บทเรียนทุกคร้ัง การขอคาปรึกษาจากผู้รู้
ผู้เชี่ยวชาญการค้นหาศักยภาพของตนเอง

ให้เจอ และการสร้างแบบแผนท่ีเป็นของ
ตัวเราเอง แม้วิธีการสอนหรือการเล่นจะ
สาคญั เพยี งใดกย็ งั ตอ้ งใส่ใจกบั เนอื้ หาและทักษะด้วยนะครับ

“วิทยากรกบั การเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนท่ี 7)

ภายหลังการปลดล็อกสถานการณ์โค
วิดเป็นต้นมา ผมได้มีโอกาสออกรอบเล่นกอล์ฟ
และได้รับเชิญเป็นวิทยากรมากข้ึน บางครั้งลูกค้าก็
เพ่ิมโบนัสให้ด้วยคือ สอนเสร็จออกรอบต่อเลยทา
ให้รู้สึกวา่ เป็นกาไรชวี ิตอย่างยิ่ง และยังเป็นเส้นทาง
ท่ีคาดหวังว่าเมื่อเกษียณอายุราชการในปี 2564
คงจะได้ใช้สติปัญญาในฐานะวิทยากรและดูแล
สุขภาพตัวเองโดยการเล่นกอล์ฟไปได้อีกระยะหน่ึง
กิจกรรมทั้งการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟน้ีมี
หลายส่ิงที่ไปกันได้ดีมาก แต่ก็มีบางอย่างที่ยากจะ
ไปด้วยกัน ผมขอเล่าประสบการณ์ที่เกิดขึ้นกับ
ตัวเองในสิ่งที่บอกว่ายากจะไปด้วยกันก่อนก็คือ อาการแพ้แสงแดดที่กระทบต่อใบหน้าค่อนข้างรุนแรง จนคุณหมอ
วินิจฉัยว่า “ถ้าอาจารย์ยังรักจะเป็นวิทยากร หมอแนะนาให้เลิกเล่นกอล์ฟ” น่ันเปน็ คาแนะนาท่ียากจะรับได้ ดังน้ันเวลา
ออกรอบทุกครั้งผมจะมีความกังวลใจเร่ืองนี้มาก ส่วนเรื่องท่ีสามารถไปด้วยกันได้อย่างดีน้ันมีหลายประเด็นมาก
โดยเฉพาะบางเรื่องส่งผลมาจากเร่ืองที่ไปด้วยกันไม่ได้ ซึ่งกค็ อื เรื่องของสภาพจิตใจหรือกล่าวในทางวิชาการก็คือ “ปัจจัย
ทางด้านจิตวิทยา” ท่ีมีผลต่อการเล่นกอล์ฟและการสอนของวิทยากรเป็นอย่างมาก ถ้าเราสามารถบริหารจัดการ
หรือควบคุมปัจจัยตัวนี้ได้ผลสัมฤทธ์ิการสอนและผลการแข่งขันจะออกมาดีแน่นอน สาหรับองค์ความรู้ด้าน
จิตวทิ ยาทเ่ี ราสามารถนามาประยกุ ต์ใช้มสี าระท่ีสรปุ ได้ดังน้ี

1. “ความกังวลใจ ความเครยี ด ความคิดลบ” ต้องถูกขจดั ใหส้ น้ิ เมอื่ อยู่ในสนามหรอื บนเวที
2. “ไม่ว่าสถานการณ์ท่ีเผชิญหน้าอยู่จะหนักหนา
ปานใด” ต้องกลบั มาคิดบวกใหไ้ ด้
3. “เมื่อเกิดความสับสนวุ่นวายใจ ในขณะเล่นหรือ
สอน” ต้องชกั นาตวั เองกลับมาอย่กู บั สติ
4. “การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงได้
ยาก” ต้องไตร่ตรองพิจารณาอย่างรอบคอบและคานึงถึง
ผลกระทบด้วย
5. “อย่าดีใจภูมิใจกับความสาเร็จระยะส้ันจนเหลิง”
ต้องเตือนตัวเองไว้ว่าความสาเร็จท่ีแท้จริงจะรอคอยอยู่เมื่อจบ
เกมส์หรอื เสร็จสิ้นการสอน
6. “ความรู้จริงในส่ิงที่จะทามีผลต่อความม่ันใจในสิ่ง
ท่ีทา” ดังน้ันท้ังการเล่นและการสอนท่านต้องมีความรู้แบบ
“สน้ิ สงสยั ” (โปรสเุ ทพกล่าวไว้)
ทั้ง 6 วิธีคิดในทางจิตวิทยาน้ีหากท่านนาไปคิดต่อ
ยอด ทบทวนทุกคร้ังผมมั่นใจว่าท่านจะสามารถจัดการปัจจัย
ดา้ นจิตวิทยาการกีฬาและจติ วทิ ยาการสอนไดอ้ ย่างแน่นอน

“วิทยากรกบั การเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนท่ี 8)

พัฒนาการของการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟ ต่างก็ใช้แนวทางพัฒนาบนเส้นทางเดียวกัน
นั่นคือ “การเรียนรู้ตลอดชีวิต”(Life Long Learning) ซ่ึงอธิบายได้ว่า เราต้องตั้งเป้าหมายให้ตัวเอง ค้นหาสไตล์
การเรียนรู้ท่ีตัวเองชอบ มีวินัยรับผิดชอบในการฝึกฝน มีความพยายามในการต่อสู้กับอุปสรรคและความท้าทาย
พร้อมทบทวนและปรับปรุงตัวเองตลอดเวลา วิชาวิทยากร
และวิชากอล์ฟ มีองค์ความรู้ทั้งท่ีเปิดเผยแล้วและยัง
ซ่อนเร้นอยู่ ส่วนที่เปิดออกมาแล้วก็ปรากฎท้ังในเอกสาร
สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมถึงที่ถ่ายทอดโดยครูบาอาจารย์
และโปรกอล์ฟ ซ่ึงผู้ที่ต้องการเป็นวิทยากรและนักกอล์ฟ
กไ็ ด้มีโอกาสเรยี นรูใ้ นระบบทม่ี อี ยู่ แตส่ าหรับส่วนท่ีซ่อนอยู่
ถ้าเราต้องการเรียนรู้คงต้องอาศัยการเรียนแบบนอกระบบ
และตามอัธยาศัย การที่วิทยากรและนักกอล์ฟต้องการ
พัฒนาตนเองให้มีความเป็นมืออาชีพได้ ก็ต้องอาศัยการ
เรยี นรู้ท้ังในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศยั เพื่อผสมผสาน
องค์ความรู้ทั้งหมดเข้าด้วยกันแล้วกลั่นออกมาให้เป็นตัว
ของตัวเอง แบบที่เรียกว่า “Self-directed learners” (ผู้ที่
มีนิสัยใฝ่เรียนรู้) กล่าวคือสามารถเปิดใจเรียนรู้ทุกสิ่ง ค้นหา
ศักยภาพภายในตวั เองจนเจอและสร้างสไตล์ของตวั เองได้

ดังนั้นคาถามจากผู้ที่อบรมหลักสูตรเทคนิค
การเป็นวิทยากร รวมทั้งหลักสูตรด้านการพูดและการ
นาเสนอท่ีถามว่า “จะพัฒนาตัวเองอย่างไร?ใหเ้ ปน็ มืออาชีพ” และท่ีผมถามโปรกอล์ฟในทานองเดยี วกัน ก็คงจะได้
คาตอบแล้วนะครบั ว่า การเรียนรู้ตลอดชวี ิตเป็น Growth Mindset สาหรับการพัฒนาตนเอง โดยมีส่ิงสาคัญท่ีตอ้ ง
คิดคานงึ ดังนี้

1. เปิดใจพรอ้ มเรยี นรตู้ ลอดเวลา โดยผสาน
การฟัง การดู การอ่าน การเขียน การพูดและการ
ลงมอื ทา

2. มุ่งมั่น ตั้งใจใส่ความพยายามและทุ่มเท
เพื่อไปให้ถงึ เปา้ หมายอย่างไมย่ ่อท้อ

3. ไม่ว่าจะพบปัญหาอุปสรรคขวากหนาม
ใด ๆ ใจเราต้องสู้ และเมื่อมีความท้าทายเข้ามา
เราต้องพุ่งเขา้ ชน

4. พร้อมรับฟังคาวิพากษ์วิจารณ์ ตาหนิติ
ติงและคาช่ืนชมท้ังหลายด้วยใจท่ีเปิดกว้างและ
พรอ้ มนามาปรบั ปรงุ แกไ้ ขเปน็ กาลังใจสาหรับตัวเอง

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวคิดของการเรียนรู้ตลอดชีวิตน้ีจะเป็นหนทางการพัฒนาตัวเองไปสู่จุดมุ่งหมายของ
ชวี ิตในการเปน็ วิทยากรมืออาชีพและการเล่นกอล์ฟอย่างมีความสุขในที่สุด

“วิทยากรกบั การเลน่ กอล์ฟ” (ตอนที่ 9)

8 ตอนที่ผ่านมาได้รับฟัง feedback จากผู้ที่
ติดตามอ่าน โดยเสียงท่ีตอบรับก็จะกล่าวถึงว่า
เป็นแนวคิดทางจิตวิทยา เป็นหลักการท่ี
ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ และเป็นข้อคิดเพื่อ
การทบทวนตนเอง ซ่ึงผมเองต้องขอขอบคุณ
สาหรับการติดตามและให้กาลังใจกันมาโดย
ตลอด สาหรบั ตอนนม้ี ปี ระเดน็ ท่ีถกู จุดประกาย
ข้ึนในช่วงเปิดศักราชใหม่ ได้ไปทาหน้าท่ี
วิทยากรและไปเล่นกอล์ฟ มีประสบการณ์
ทห่ี ลาย ๆ ท่านอาจมองวา่ เป็นเรื่องเล็ก ๆ ที่ไม่
สาคัญ แต่ผมคิดกลับด้านว่ามันสาคัญมาก ๆ เพราะส่ิงที่กาลังกล่าวถึงน้ีเป็นภาพลักษณ์เป็นตัวตนท่ีคนอ่ืนมองเรา
น่ันคือ “มารยาทสังคม” ทาไมมารยาทสังคมจึงสาคัญต่อการเป็นวิทยากรและการเป็นนักกอล์ฟ เพราะมารยาท
เป็นการแสดงออกทางกิรยิ าอาการท่บี ง่ บอกคุณลักษณะภายในตวั เราวา่

เราทาอะไรตามใจตัวเองโดยไม่สนใจความรสู้ ึกของผู้อื่นหรอื ไม่

เรารู้ว่าอะไรควรทาหรอื ไม่ควรทาหรือไม่

เราคิดไดห้ รอื ไม่วา่ อะไรท่ีเหมาะสมหรือไมเ่ หมาะสม

เรารู้หรือไม่ว่าการแสดงออกให้เหมาะสมกับกาลเทศะควรเป็น
อย่างไร
ดั ง น้ั น เ พื่ อ ใ ห้ ท่ า น วิ ท ย า ก ร แ ล ะ เ พื่ อ น นั ก ก อ ล์ ฟ ไ ด้ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง
ความสาคัญของมารยาททางสังคมที่พึงมีและควรนาไปใช้เพ่ือให้เกิด
ภาพลกั ษณ์ทีด่ ีแก่ตวั เรา ผมขอเสนอแนะความคิดพอสังเขป ดังน้ีครบั

1. รู้จักการทักทายเมื่อพบหน้า รู้มารยาทในการแนะนาบุคคล
ใหร้ ้จู กั กนั และใช้คาพดู 3 คานใ้ี ห้ตดิ ปาก “สวัสดี ขอบคณุ และขอโทษ”
(เครดิตของท่านอาจารยเ์ อ็กซจ์ ากคณะวิศวะ)

2. ควบคมุ อารมณ์ตนเองให้ได้ ไม่ข้ีโกรธ ขเ้ี กียจ ข้ีโกง ข้ีหงุดหงดิ
ข้ีโอ่และขี้งก พยายามฝึกการใช้รอยยิ้มและอารมณ์ขันมาช่วยในการ
แสดงออกใหบ้ อ่ ยข้ึน จนพัฒนาเปน็ “พฤตนิ สิ ยั ” (เครดิตของน้องตว๋ิ จากรามาธบิ ด)ี

3. ตอ้ งรักษาบรรยากาศท่ีดมี ีความสุขในการอยู่ร่วมกนั โดยแสดงออกในการให้เกียรติใหค้ วามสาคัญต่อผู้อน่ื และ
ไม่แสดงการข่มผูอ้ ื่นหรอื สร้างความราคาญ

4.ให้ความสาคญั กบั เร่ืองของการรกั ษาเวลาและการรักษากฏกติกามารยาทในทกุ กิจกรรมที่เราเข้าไปมสี ว่ นร่วม
5. ดแู ลตัวเองให้มีสุขภาพท่ีดแี ละมีบุคลิกภาพทั้งภายในภายนอกท่ีเหมาะสม อาทิ การแต่งกายให้เหมาะสม
กบั กาลเทศะและสะอาดสะอา้ น มารยาทในการรบั ประทานอาหารและเครื่องดม่ื เปน็ ตน้

ท้ัง 5 ข้อน้ีเป็นเรื่องหลัก ๆ ในเบื้องต้น ซ่ึงหากท่านสามารถนาไปใช้ในวิถีของวิทยากรและนักกอล์ฟ
ได้ ผมเช่ือมั่นวา่ ตัวทา่ นจะม”ี ภาพลกั ษณ์ทดี่ ีและเป็นผูด้ ีในสายตาของผูพ้ บเห็น” ตลอดไป

“วิทยากรกบั การเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนที่ 10) Slow Living>Slow Movement = Slow is Beautiful

ได้รับฟังบทเพลง “ให้นานกว่าที่เคย”ของศิลปิน KLEAR กับ
ไผ่ พงศธร ในชว่ งที่มีเวลาอยกู่ บั ตวั เองต้งั แตว่ นั ปีใหมม่ าจนถงึ วนั ครู
ทาให้ได้ทบทวนหลายส่ิงหลายอย่างของการออกไปทาหน้าท่ี
วิทยากรและออกไปเล่นกอล์ฟ ว่าเราใช้ชีวิตแบบเร็วเกินไปหรือไม่
ตั้งแต่การเร่งรีบแต่งตัว กินข้าว ขับรถ ทักทายผู้คนแบบเสียไม่ได้
ไม่ใส่ใจท่ีจะดูส่ิงรอบข้าง ตลอดจนการเคลื่อนไหวร่างกายโดยไร้
การควบคุม ถึงแม้บทเพลงนี้จะสะท้อนอารมณ์เหงา ๆ ของหนุ่ม
สาว แต่มีคาร้องหลายประโยคที่ทาให้ผมสะดุดใจ เช่น “เดินให้ช้า
ลงกว่าน้ี ในทุกท่ีที่เคยไป” “ใช้เวลามองหา ให้นานกว่าท่ีเคยใช้”
ทาให้ต้องนึกย้อนถึงวิถีการใช้ชีวิตของตัวเราท่ีอยู่ในยุคของการ
แข่งขันแก่งแย่งกันอย่างดุเดือดแบบทุนนิยม จนเกิดความเครียด
ความทุกข์และหาความสุขในชีวิตประจาวันได้ยากมากขึ้น วันน้ีจึง
ต้องกลับมาดูกายดูจิตของตัวเอง โดยเกาะตามกระแส Slow Life
เพ่ือการใช้ชีวิตให้ช้าลง ซึ่งจะส่งผลดีต่อสมองให้ทางานเบาลง
มีคล่ืนช้ามาช่วยผ่อนให้สมองทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มพลังมากข้ึน ดังน้ันการนาหลักการวิธีคิดของ
Slow Living และ Slow Movement มาประยุกต์ใช้ในการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟ จึงทาให้ได้คาตอบว่า
Slow is Beautiful สาหรบั แนวทางของ Slow Life ในงานวิทยากรและเกมส์กอลฟ์ พอประมวลไดด้ งั นค้ี รับ
1. ทาอะไรให้ช้าลงจะมีเวลาสนใจส่ิงรอบข้างและสร้างสัมพันธ์ได้มากขึ้น การทาอะไรท่ีเร่งรีบจะทาให้
มองไม่เห็นความสุขรอบตัว ถ้าทานอาหารให้ช้าลงก็จะมีเวลาสนทนากับคนร่วมโต๊ะมากข้ึน ถ้ามีธรรมชาติรอบตัว
สวยงามก็มีเวลาแวะถ่ายรูป
2. ทาอะไรให้ชา้ ลงแตต่ ้องมีการจัดการเวลาให้เปน็ เชน่ จัดการตัวเองให้ไปถึงก่อนเวลาเพื่อมีเวลาให้ร่างกาย
จิตใจได้ปรับตัวและเตรียมความพร้อม เม่ือเวลาสวิงกอล์ฟก็ตีให้ช้าลง
แตเ่ วลาเดนิ ก็ต้องเดนิ ให้เร็วขึ้นเพ่อื ไมไ่ ปรบกวนคนทต่ี ามมา เป็นต้น
3. ทาอะไรให้ช้าลงจะช่วยลดความเร่งรีบ ท่ีเป็นสาเหตุ
ของการควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ เช่น ความโกรธ ความฉุนเฉียว
ความหงุดหงิด และส่งผลต่อโรคทางกายท้ังไมเกรน หัวใจและ
ความดัน เป็นต้น แต่ถ้าสามารถควบคุมอารมณ์ได้เราจะทาอะไรเร็ว
ไดป้ กตแิ ตจ่ ิตใจชา้ ลงได้
4. ทาอะไรให้ช้าลงจะทาให้เราสามารถกลับมาอยู่กับลม
หายใจได้มากขึ้น ซ่ึงไดเ้ คยกล่าวถึงในตอนแรกๆแล้ววา่ เม่ือช้าลงอยู่
กับตัวเองจะทาให้ตั้งสติได้ ผ่อนคลายได้ ย้ิมได้แม้ในขณะท่ี
เคล่ือนไหวรา่ งกายและรบั มือกบั สถานการณไ์ ด้ดีตดั สนิ ใจได้ถกู ต้อง
ส่งท้ายตอนน้ีขอย้าว่า “ถ้าเราใช้เวลามองหาให้นาน
กว่าที่เคย เดินให้ช้าลงกว่านี้ในทุกท่ีท่ีเคยไป”เราจะมีเวลาดื่มด่ากับ
สิ่งงดงามรอบตัว มีเวลากับผู้คนรอบข้างและมีเวลากับการทบทวนตัวเองในทุกคร้ังของการเป็นวิทยากรและการ
เล่นกอลฟ์

“วทิ ยากรกับการเล่นกอลฟ์ ” (ตอนที่ 11)

การนาเสนอประสบการณ์ในคร้ังนี้เป็นการ
โคจรมาพบกันโดยบังเอิญของงานวิทยากรกับ
งานกอล์ฟ แต่ทั้ง 2 งานน้ีใช้ชุดความคิด
เดียวกันในการดาเนินการ กล่าวคือ เริ่มต้น
ด้ ว ย ก า ร ส ร้ า ง Growth Mindset ( ก ร อ บ
ความคิดเชิงบวก) แล้วใช้รูปแบบของการคิด
แบบต่าง ๆ มาผสานวิธีในการออกแบบ อาทิ
การคิดเชิงระบบ การคิดสร้างสรรค์ การคิด
แบบองค์รวม การคิดบวก การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ การคดิ แก้ปัญหาและตัดสนิ ใจงานสองงานท่เี กริน่ ในเบ้อื งต้น คอื (1) การเปน็ วิทยากรใน”หลักสูตรเทคนิค
การคิดพิชิตงานในยุคดิจิทัล” ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2) การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิใน
“การจัดทามาตรฐานการปฎิบัติงานของสถานกักกันในกิจการของกอล์ฟ” ให้กับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซึ่งการ
ทางานคร้ังนี้เกิดในช่วงเวลาเดียวกันและต้องใช้การออกแบบความคิดจากสมองทั้งซ้ายและขวาผสานเข้าด้วยกัน
การออกแบบหลักสูตรการคิดพิชิตงานยุคดิจิทัล วางโครงเร่ืองโดยเริ่มจากการสร้างกรอบความคิดเชิงบวกเพื่อปรับ
ทัศนคติของผู้เรียน ให้มีความเช่ือว่า เราสามารถปรับใจปรับความคิดและฝึกฝนตัวเองได้ท่ามกลางการเปล่ียนแปลง
แบบฉับพลันของดิจิทัล จากน้ันเรียนรู้ระบบความคิดหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะความคิดเชิงระบบเพอ่ื ให้มองเห็น
ภาพรวมที่เป็นระบบและมองเห็นความเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่าง ๆ การจัดทามาตรฐานการปฎิบัติงาน
(Standard Operating Procedure : SOP) ของสถานกักกันในกิจการกอล์ฟ (Golf Quarantine) เริ่มต้นกรอบ
ความคิดเชิงบวกเพ่ือวางทัศนคติให้เชื่อม่ันว่าสิ่งท่ีทานั้นจะประสานผลประโยชน์โดยรวมของประเทศระหว่างการ
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจกับการป้องกันโรคระบาด COVID-19 จากนั้นใช้ความคิดเชิงระบบเพื่อเช่ือมโยงขั้นตอนการปฏิบัติ
ในทุกองคป์ ระกอบทเี่ ก่ียวขอ้ งใหม้ คี วามสัมพนั ธ์จากตน้ น้าถงึ ปลายน้า

กล่าวโดยสรุปได้ว่า “ความคิดเปน็ ส่ิงสาคญั ต่อการรบั มือการเปลีย่ นแปลง
และการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ” ดังน้ันการพัฒนาความคิดเพ่ือปฎิบัติงาน
ในสถานการณ์ต่างๆนัน้ สามารถใช้ 4 แนวทางนใี้ นการพัฒนา
1. สร้างกรอบความคิดเชิงบวก เพ่ือปรับใจปรับความคิดให้เชื่อว่า
“เราทาได้ เราทาเพอื่ ประโยชน์ของส่วนรวม”
2. เสริมความคิดเชิงระบบ เพ่ือกาหนดเป้าหมาย แยกแยะองค์ประกอบ
ยอ่ ยทีเ่ กยี่ วข้องแล้วนามาเชอื่ มโยง และมองหากลยุทธ์ในการดาเนินงาน
3. ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและแก้ปัญหา โดยคานึงถึงการ
มีสว่ นรว่ มของผูเ้ กย่ี วขอ้ งและเปิดใจกวา้ งเพอื่ รบั ฟังแบบปราศจากอคติ
4. ต้องสร้างสมดุลระหว่างความคิดกับอารมณ์ความรู้สึกให้ดี จะช่วยให้
เกิดผลลัพธ์ท่ีสร้างความสุขให้กับตัวเราและเกิดความพึงพอใจกับผู้ที่เรา
เข้าไปเก่ียวขอ้ งดว้ ย
แนวทางทั้ง 4 ประการน้ีเป็นเครื่องมือท่ีช่วยให้ผมสามารถบริหารงานด้านการเป็นวิทยากรและการจัดการด้านกอล์ฟ
ในลกั ษณะของการบรู ณาการทางความคิดได้อย่างมคี วามสขุ

“วทิ ยากรกับการเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนที่ 12)

ในช่วงหลายเดือนท่ีผ่านมามีความรู้สึกว่า
การเป็นผูส้ ูงอายใุ นวยั ย่างเขา้ 61 ปี และยังต้อง
เป็นวิทยากรและเล่นกอล์ฟอยู่นี้ จาเป็นต้อง
ดแู ลตวั เองมากข้ึนกวา่ แตก่ ่อน ทั้งท่ีก่อนจะถึง
อายุ 60 เคยคิดว่าเรายังแข็งแรงอยู่ มีเพื่อน
รุ่นพี่ท่ีเกษียณไปก่อนเคยเตือนไว้แล้วว่า
“พอ 60 ปุ๊บร่างกายจะเปล่ียนป๊ับ” เราก็ไม่
ค่อยเช่ือเพราะคิดว่าเราดูแลตัวเองมาได้ดีใน
ระดับหนึ่ง แต่คนเราก็ยากท่ีจะฝืนสังขาร ที่
เกร่ินนามานี้แม้จะเป็นเรื่องส่วนตัวของตัวเอง
แต่ก็ต้องการสะท้อนภาพรวมของสังคมไทยที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ มีผู้สูงวัยจานวนมากที่ขาดการ
เตรียมตวั ที่ดที าให้เปน็ ภาระของรัฐ ของชมุ ชนและของครอบครวั ทั้งเรื่องของการดูแลรกั ษาสุขภาพและค่าใช้จ่ายท่ีต้อง
ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ซ่ึงลูกหลานในเจนเนอเรชั่นนี้ก็ไม่อาจเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบได้ผมเองได้สอนและ
ถ่ายทอดประสบการณ์เก่ียวกับเรื่องการเตรียมตัวของผู้สูงวัยหลังเกษียณมาหลายสิบปีให้กับหน่วยงานท้ังภาครัฐและ
เอกชน รวมถึงการบอกกล่าวพรรคพวกเครือข่ายวิทยากรและเพื่อนๆนักกอล์ฟว่า การใช้ชีวิตในช่วงสูงวัยจาเป็นต้องมี
การวางแผนล่วงหน้าอย่างน้อย 20 ปีท้ังเร่ืองสุขภาพร่างกายและเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆเร่ืองเงินเรื่องรายได้ของวิทยากร
ผมบอกกับทุกคนว่า “รายได้ไม่ต้องมาอวด ผมสนใจว่าใครมีรายเก็บมากกว่ากัน” เงินที่ได้มาต้องต้ังเป้าเก็บก่อนแล้ว
เอาส่วนที่เหลือมาใช้ให้พอดี สาหรับค่าใช้จ่ายในการเล่นกอล์ฟผมก็บอกไปแล้วว่า “ถ้าจะเล่นกอล์ฟไป 10 ปีโดยไม่
เดือดร้อนใคร ต้องมีเงินเก็บ 1 ล้านบาท” ฉะน้ันหลังอายุ 60 อยากเล่นกอล์ฟให้ถึงอายุ 90 ต้องมีเงินเก็บ 3 ล้านบาท
จึงจะพอดี คราวน้ีมาดูกันว่าหากเรายังต้องเป็นวิทยากรในช่วงสูงวัย
และยังต้องการเล่นกอล์ฟต่อไปอีก 20-30 ปี ควรมีวิธีคิดในการ
ปรับตัวปรับใจอย่างไร เพื่อให้เรามีร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและ
สติปญั ญาท่ดี ใี นช่วงสงู วัย ดงั นี้ครบั
1. ด้านร่างกาย ต้องบอกว่าความสุขของการสอนและการเล่น
กอล์ฟ คือ การมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง จิตใจเบิกบาน “สุขภาพดี
ไมม่ ีขาย อยากได้ต้องทาเป็นนิสัยทกุ วัน”
2. ด้านอารมณ์ งานวิทยากรและเกมส์กอล์ฟมีแรงกดดันสูง “ต้อง
หมนั่ ฝึกควบคมุ ภาวะอารมณแ์ ละสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางจติ ใจ”
3. ด้านสังคม งานวิทยากรและเกมส์กอล์ฟ ต้องเกี่ยวข้องกับการ
อยู่ร่วมกับผู้คน ดังนั้น “ต้องรักษาวินัยความรับผิดชอบ มีมนุษย
สัมพันธแ์ ละมารยาททางสงั คมท่ดี ใี หไ้ ด้ตลอด”
4. ด้านสติปัญญา ต้องบอกว่างานวิทยากรและเกมส์กอล์ฟเป็น
สนามที่ทาให้เราต้องใช้สมองทั้งซ้ายและขวาให้ทางานอย่างสมดุลย์ ดังน้ัน “ต้องฝึกฝนวิธีคิดแบบต่างๆอยู่เสมอ
ไม่ว่าจะเป็น คิดวางแผน คิดเป็นระบบ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเหตุผล คิดสร้างสรรค์ คิดบวกและคิดถึงจิตใจ
ผ้อู ื่น” หวังว่าจะเป็นขอ้ คดิ ท่เี พื่อนผูส้ งู วัยจะได้ประโยชนจ์ ากข้อเขยี นน้นี ะครับ

“วทิ ยากรกบั การเลน่ กอล์ฟ” (ตอนท่ี 13) Happy Valentine’s Day สุขสันตว์ นั แห่งความรกั

เนื่องในโอกาสวันแห่งความรัก ขอมอบ
ความรักและความปรารถนาดีแด่ เพ่ือนพี่
น้องในเครือข่ายวิทยากรและเครือข่าย
นักกอล์ฟทุกท่านครับ หากกล่าวถึง
“ความรัก” ในแบบของวิทยากรและ
นักกอล์ฟสมัครเล่น ผมขออนุญาตยกความ
รักในแบบฉบับของความรักและความ
หลงใหลในสิ่งท่ีทา (Passion) มาเป็นบท
พูดคุยในคร้ังท่ี 13 นี้ครับ สาหรับผู้ท่ีมี
อาชีพเป็นวิทยากรและผู้ที่ชื่นชอบในการ
เล่นกอล์ฟ จะเริ่มต้นความรักคร้ังน้ีได้
อย่างไร ? ก่อนอื่นต้องรีบรู้ตัวให้เร็วและ
ต้องตัดสินใจให้ได้ว่าเราหลงรักสิ่งที่เรา
ต้องการน้ันจรงิ หรือไม่ ท้งั งานสอนและการ
เล่น เมื่อรู้ตัวแล้วต้องรีบ “ตกหลุมรัก”
ในทันทีจะได้ไม่เสียเวลาเสียโอกาส มันจะ
ทาให้เรามีความสุขทุกขณะจิตท่ีได้สอนและได้เล่น
เมื่อรักและหลงใหลแล้วต้องพยายามเรียนรู้และทา
ความเข้าใจ ไม่ปล่อยเวลาให้สูญเปล่าจะได้ไม่รู้สึก
เสียดายในภายหลัง เม่ือเข้าใจในสิ่งท่ีรักแล้วจะเกิด
ความต่ืนตัว กระตือรือร้นสนใจ ไม่ว่าจะทาการ
ฝึกซ้อม ฝึกฝนและลงมือทาคร้ังแล้วครั้งเล่า ก็ยังมี
ความต่ืนเต้นและความต้องการเพ่ิมมากข้ึน แม้จะ
ผ่านกาลเวลาไปนานสักเท่าใด ทุกคร้ังท่ีได้สอนและ
ได้เล่น ก็ยังรู้สึกดี มีความสุข สบายอกสบายใจ มองดู
ด้วยความสดใสและภาคภูมิใจ แล้วอย่าลืมท่ีจะต้อง
บอกตัวเองทกุ วินาทีว่า “เมอ่ื เราไดร้ กั และไดท้ าในสิ่ง
ทเี่ รารักแล้ว” ต้องมอบหวั ใจและใส่จิตวิญญาณลงไป
อย่างสุดตัว อย่าได้กลัวหรือท้อแท้ใด ๆ อยากบอก
ว่า “ความรักความหลงใหลแบบ passion” น้ีจะ
กลายเป็นพลังแห่งรักที่จะทาให้เรามีกาลังใจในการ
ต่อสู้ ขวนขวายและปรับปรุงพัฒนาตัวเอง ให้เรามี
เป้าหมายในการมีชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุขทุกวัน
ท่ีได้สอนและไดเ้ ล่นกอล์ฟตราบช่วั นิจนิรนั ดร์

“วทิ ยากรกับการเลน่ กอล์ฟ” (ตอนที่ 14)

เนื่องในวาระของวันมาฆบูชา พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสในการระลึกนึกถึงคาสอนท่ีเป็นหัวใจสาคัญ
ของพุทธศาสนา โดยเฉพาะประเด็นของการทาจติ ใจให้ผ่องแผ้ว ทาในสิ่งดี ๆ ละในสง่ิ ท่ีไม่ดี ซึ่งทุกคนมชี ดุ ความคิด
และความร้นู ี้เป็นทุนชวี ิตอยู่แลว้ แต่เราก็ยังมีความทุกข์อย่เู น่ืองจากส่งิ ทีร่ ู้นี้เรายังไม่สามารถปฏิบัตไิ ด้ “แล้วอะไรที่
จะช่วยให้เราทาแล้วนาไปสู่ความสุขที่แท้จริงได้” ก่อนหน้าท่ีจะถึงวันมาฆบูชาในปีนี้ มีกัลยาณมิตรท่ีผมเคารพนับ
ถือได้ส่งข้อมูลผ่านช่องทางเฟสบุ๊คเพ่ือให้ผมได้เรียนรู้เคร่ืองมือที่จะช่วยให้เราต้ังม่ันอยู่ในการทาความดี ละเว้น
ความช่ัวและทาจิตใจให้ผ่องแผ้ว “ด้วยการเจริญสติ” ซึ่งผมก็น้อมรับและปฏิบัติอยู่บ้างตามจริตของตัวเอง เช่น

การฝึกในขณะทางาน ในการเล่นกีฬาและออกกาลัง
กาย โดยผมคิดว่าน่าจะเพียงพอ แต่ความเป็นจริงไม่
เป็นเช่นนั้น เพราะในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ท่ีเรา
กาลังเผชิญอยู่น้ี ผมยังต้องทาหน้าที่เป็นวิทยากรและ
ไปออกรอบเล่นกอล์ฟกับเพ่ือน ๆ และได้พยายาม
ทบทวนการใช้ชีวิตแต่ละวัน จัดทาบันทึกเร่ืองราว
ประสบการณ์ผ่านในช่องทางเฟสบุ๊คอย่างสม่าเสมอ
เพื่อคอยเตือนตัวเอง และเมื่อประเมินผลลัพธ์ก็พบว่า
“การใช้สติ” ของตัวเองยังไม่ก้าวหน้าพอสาหรับการ
นามากากับในการใช้ชีวิตได้อย่างแท้จริง ดังน้ันผมจึง
ต้องย้อนกลับมาตั้งต้นใหม่ เพ่ือตั้งสติให้ได้ในทุกขณะ
ของการทาการใด ๆ กลา่ วคอื ตอ้ งระลึกนึกได้ ควบคุม
และยับยั้งได้ ไม่พล้ังเผลอไม่เลินเล่อ ไม่ปล่อยจิตใจให้
อารมณ์ไปในทางที่ไม่ดี ไม่หมกมุ่นคาดหวังในสิ่งท่ียัง
มาไม่ถึง และไม่ปล่อยให้กิเลสเข้าครอบงา ซึ่งส่ิงท่ีกลา่ ว
มานี้จะสามารถปฏิบัติได้คงต้องอาศัยเคร่ืองมือการ
เจริญสติเป็นเครื่องนาทาง ในฐานะของพุทธศาสนิกชน
คนหน่ึง ผมเชื่อม่ันว่าการเจริญสติตามแนวทางของ
ศาสนาพุทธท่ีแท้จริงนั้น คงไม่เหนือวิสัยและความ
สามารถของเรา หากเราเปิดใจและมีความมุ่งมั่นต้ังใจ
ที่จะทา เพราะ “สติ” จะช่วยให้เราวางความคิดได้
อย่างเป็นกลางและถูกต้อง จนทาให้เราสามารถวาง
แผนการทางานและการใช้ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุขอย่างแท้จริง บทพิสูจน์ในสัปดาห์ที่จะถึงนี้
ผมมีภารกิจในการเป็นวิทยากร หลักสูตร Happy Life After Retirement และต้องไปออกรอบกับพรรคพวกที่สนาม
กอลฟ์ Pinehurst ซง่ึ ทัง้ 2 เร่ืองนต้ี อ้ งใช”้ สตเิ ป็นเคร่อื งนาทาง” ในการคิดอย่างเป็นระบบและคิดบวกเพ่ือวางแผน
เตรียมตัว ฝึกซ้อม บริหารจัดการ แก้ปัญหาและตัดสินใจ ดังนั้นหากการฝึกสติออกดอกออกผล ก็เช่ือว่ากิจกรรม
การเปน็ วิทยากรและการเล่นกอล์ฟจะเปน็ ไปในทิศทางท่ดี ี

“วทิ ยากรกับการเล่นกอลฟ์ ”(ตอนที่ 15)

ตอนน้ีขอกล่าวถึงศาสตร์ที่หยิบมาใช้ในการแก้ปัญหาการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟ ซึ่งผมต้องประสบอยู่
ในขณะน้ี ศาสตร์ท่ีกล่าวถึงต่อไปน้ี คือ การใช้จินตภาพในการพัฒนาทักษะการสอนและทักษะการเล่นกอล์ฟ
แม้จะผ่านช่วงเวลาและประสบการณ์ในการสอนมา 39 ปี
โดยได้ใช้ความพยายามในการเรียนรู้และฝึกฝนมาอย่าง
ต่อเน่ืองจนไดผ้ ลลัพธ์ในระดับท่ีพงึ พอใจ แต่กีฬากอล์ฟน้ัน
เล่นมา 13 ปีแบบชั่วคร้ังช่ัวคราว โดยยังให้เวลาน้อยมาก
กับการฝึกและการเรียนรู้ดงั นั้นผลลัพธ์จึงยังห่างเป้าหมาย
อยู่มาก จึงต้องค้นหาวิธีการในการปรับปรุงพัฒนาให้ดีข้ึน
แลว้ ปญั หาทต่ี ้องมาเผชิญพร้อม ๆ กันในช่วงนก้ี ค็ อื

ความวติ กกังวลกับกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมท่ีมีศักยภาพสูง
กว่าและตัวเราเองขาดความมนั่ ใจกับเน้อื หาท่จี ะสอน

เกิดอาการส่ังและบังคับกล้ามเนื้อให้ทางานดังใจไม่ได้
ในขณะการสวงิ กอลฟ์
ทางออกของปญั หานี้มาแบบถูกจังหวะพอดี เม่ือโปรสุเทพ
(ผู้ที่ให้คาแนะนาด้านกอล์ฟแก่ผมมาอย่างต่อเน่ือง) ได้ส่ง
คลิปการสวิงกอล์ฟมาให้ผมดูเพื่อแก้ปัญหา ซ่ึงเมื่อผมได้ดู
คลิปดังกล่าว”ความคิดเช่ือมโยงและต่อยอด”เกิดขึ้นทันที
โดยเฉพาะองค์ความรเู้ กย่ี วกบั “การใชจ้ ินตภาพ”

จินตภาพ เป็นภาพท่ีถูกสร้าง
ขึ้นมาในความคิดซ่ึงเกิดได้
จากการรับรู้ การสัมผัส และ
ก า ร ส ร้ า ง ม โ น ภ า พ เ ป็ น
เคร่ืองมือท่ีสามารถช่วยให้เรา
ลดความเครียด ความวิตก
กังวล ความหวาดกลัวและ
การขาดความม่ันใจในตัวเอง
ขณะเดียวกันก็ช่วยให้เรามี
สมาธิ สามารถควบคมุ ความคิด
ในการแสดงพฤติกรรมได้ตาม

ต้องการ ช่วยให้สมองซีกซ้ายและ
ขวาประสานการทางานร่วมกัน และช่วยให้เกิดการส่ือสารทดี่ ีระหวา่ งร่างกายกับอารมณ์ ความคดิ และจิตใจ

จินตภาพนั้น สามารถนามาปรับใช้ในการพัฒนาทักษะทางการกีฬาและพัฒนาการเรียนการสอนได้
เป็นอย่างดี หากเราได้ทาการฝึกฝนจนสามารถควบคุมจินตภาพได้ตลอดการสอนและการเล่น ท้ังน้ีต้องอาศัยการ
ฝึกสติและการคิดบวกควบคู่ไปด้วย หากเราทาได้เราจะรู้สึกผ่อนคลายในเวลาที่ทากิจกรรม รวมถึงหากเราซ้อมจน
มั่นใจก็จะทาให้เราบังคับการเคลื่อนไหวของร่างกายไดด้ ังใจต้องการ ไม่วา่ จะเปน็ การแสดงออกเวลาพูดเวลาแสดง
บนเวทีหรือเวลาที่เราทาการสวงิ กอล์ฟ

ก า ร น า จิ น ต ภ า พ ม า
เริ่มต้นใช้กับปัญหาการสวิงกอล์ฟท่ี
ผมประสบอยู่นี้ เรียนรู้จากสื่อคลิป
วิดีโอโดยนาภาพที่เห็นมาจาลองให้
เป็นภาพท่ีชัดไว้ในสมอง จากนั้น
ก่อนการสวิงจะต้องซ้อมในใจก่อน
เมื่อเร่ิมสวิงจะบังคับร่างกายให้ทา
ตามภาพทบ่ี ันทกึ ไว้

สาหรบั การใช้จนิ ตภาพ
ในปัญหาของวิทยากรนั้น ผมใช้การ
สร้างมโนภาพท่ีมาจากประสบการณ์
แ ล ะจิ น ตน าก าร โดย วางภา พ
เหตกุ ารณ์ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าว่าเรากาลัง
พบกับกัลยาณมิตรที่เรามีแต่ความปรารถนาดีมอบให้ และเรามีความปรารถนาอย่างแรงกล้าในการแลกเปล่ียน
เรยี นรู้จากองค์ความรทู้ ี่เราได้เตรียมตัวมาอย่างดี

ผมม่ันใจว่าหากท่านวิทยากรและท่านนักกอล์ฟ ได้มีโอกาสเรียนรู้เทคนิคการใช้จินตภาพไปช่วยใน
งานการสอนและการเลน่ กอล์ฟ จะทาให้ท่านมพี ัฒนาการแบบก้าวหนา้ และมีความสขุ ในการเรียนรอู้ ย่างแทจ้ ริง

“วทิ ยากรกบั การเล่นกอลฟ์ ” (ตอนที่ 16)

“ชีวิตไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ ความผิดพลาดย่อมเกิดขึ้นได้เม่ือเราลงมือทา” เป็นตอนท่ีไม่ได้มอง
โลกสวยเหมือนตอนท่ีผ่านๆมา แต่มองตามความเป็นจริงที่ได้นาความรู้ความเข้าใจด้านการเป็นวิทยากรและการ
เล่นกอล์ฟไปใช้ปฏบิ ัตใิ นชวี ิตจริง บทเรียนจากความผิดพลาดที่ทาให้เราอารมณ์เสีย โกรธ โมโห เสียใจและผิดหวงั
ส่งผลให้ผลงานและผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามเป้าหมายและแผนการที่ได้วางไว้ ทั้งท่ีเราก็มั่นใจว่า “เรามีองค์ความรู้ดี
มีแผนการท่ีดี เตรียมตัวซักซ้อมมาอย่างดี” เมื่อเกิดความผิดพลาดข้ึน “เรามักขาดสติ โทษคนน้ันคนน้ี ส่ิงนั้นสิ่งน้ี
โดยไมเ่ คยโทษตัวเอง ปล่อยใหอ้ ารมณ์ทไี่ ม่ดเี ขา้ ครอบงา ท้งั ที่จรงิ แลว้ “เราควรตง้ั สต”ิ แลว้ คดิ หาสาเหตุท่ีแท้จริงที่
เกิดขึ้นโดยเปดิ ใจยอมรับความผิดพลาดดังกล่าว ในสาเหตทุ น่ี ามาซงึ่ ความผดิ พลาดในการเป็นวิทยากรและการเล่น
กอลฟ์ นัน้ มเี หตแุ ห่งการเกิดมากมายหลายประการ อาทิ มั่นใจใน
ตวั เองสูงจนเกินขีดความสามารถ สภาพแวดล้อมไม่เป็นไปตามใจ
หวัง ตั้งอยู่บนความประมาท ตัดสินใจแบบใช้อารมณ์มากกว่า
เหตุผล ฝึกฝนและซกั ซอ้ มมาน้อยเกนิ ไป ขาดการเตรียมตวั ทีด่ ีพอ
โดนก่อกวน แซว แหย่ จนเกิดความโมโห เกิดความกลัวความ
กังวลทาให้ตัดสินใจผิด เกิดความโลภและความหลงจนขาดสติ
ไม่เคยนาประสบการณข์ องความผิดพลาดมาทบทวนเรยี นรู้

ดังน้ันหนทางแห่งการเรียนรู้และแก้ไขปรับปรุง
ความผิดพลาด จึงเป็นส่ิงจาเป็นในการปฎิบัติเพ่ือทาให้เราก้าว
ข้ามมันไปให้ได้ จึงจะช่วยให้ชีวิตเราได้ความสุขความสาเร็จ
กลบั คนื มา แลว้ หนทางท่ีว่าน้นั มอี ะไรบา้ ง?

ตงั้ สตใิ หไ้ ด้ กลบั มาอยทู่ ใี่ จตัวเอง

เปิดใจยอมรับความผดิ พลาดทเี่ กิดข้นึ

ปรับใจคดิ ใหม่ “เปลยี่ นวิกฤตเป็นโอกาส”

ทบทวนเหตุการณ์ วิเคราะหห์ าสาเหตุ

นาความรู้ประสบการณ์ท่ีมีมากาหนดทางแก้ลงมือทาแบบมี
สตกิ ากบั และใช้บทเรยี นท่ีผิดพลาดคอยเตอื น

บันทึกประสบการณ์ของความผิดพลาด แล้วหม่ันทบทวน
เรียนรู้ เพราะบทเรียนความผิดพลาดน้ีจะกลายเป็น “ครูท่ีดี
ทส่ี ุด” ที่จะทาให้ชีวิตเราไม่เกดิ ความผิดพลาดอกี
ที่สุดแล้ว “แม้ชีวิตจะไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ แต่ถ้าเราไม่
ประมาท ความผิดพลาดย่อม น้อยลงแล ะกล าย เป็น
ประสบการณ์แห่งการเรียนรู้เพื่อการเป็นวิทยากรและการเล่น
กอล์ฟทีม่ คี วามสขุ ตลอดไป”

“วทิ ยากรกับการเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนที่ 17)

“โปรครับ ทาไมเด็กเค้าตีกอล์ฟกันง่ายจัง ?” ผมต้ังคาถามนี้เพราะเวลาที่ผมไปซ้อมในสนามไดร์ฟ
แล้วเห็นเด็กๆเค้าซ้อมกันรู้สึกว่ามันง่ายมาก ๆ เลย “ท่ีเด็กเค้าตีกอล์ฟง่ายเพราะ เค้าเล่นด้วยความสนุก” น่ันเป็น
คาตอบท่ีโปรตอบผม และทาให้ผมต้องกลับมาทบทวนตัวเองอีกคร้ังว่า “เราเล่นกอล์ฟเพื่ออะไร” ผมจึงต้อง
ย้อนกลับไปอ่าน วทิ ยากรกับการเล่นกอล์ฟ ตอนท่ี 1 อีกคร้ัง เพราะนน่ั คือเหตผุ ลท่ีผมหันมาสนใจทีจ่ ะเล่นกอล์ฟ

สมัยท่ีเรายังเป็นเด็กและได้มีโอกาสเล่น
กีฬา เราจะไม่มีเร่ืองท่ีต้องคิดมากเลย เพราะเรารู้ว่าถ้า
เราได้เล่นเราจะสนุกทุกคร้ัง และเมื่อผมนาความรู้สึกนี้
มาปรับใช้ในช่วงท่ีทางานเป็นวิทยากร จึงได้ออกแบบ
วิธีการเรียนรู้โดยนาพื้นฐานของการเล่นกีฬามาใช้เพื่อให้
ผเู้ รียนมีความสนกุ ในการเรียนทกุ หลักสตู ร ซง่ึ กไ็ ด้ผลดอี ย่าง
ย่ิง เพราะทุกคนต้องการเรียนรู้แบบไม่เครียด ไม่กดดัน
ไม่กลัว แต่อยากให้สนุกสนาน ผ่อนคลาย สบายใจและ
ไม่เบื่อ “ความสนุก” จึงเป็นประเด็นท่ีท่านวิทยากรและ
ท่านนักกอล์ฟ ต้องนามาใช้กับการเรียนการสอนและ
การเล่น ซึ่งจะช่วยทาให้ตัวเราเอง มีความเพลิดเพลิน
บันเทิงใจ มีความสุขสนุกสนานและส่งผลให้เกิด
บรรยากาศท่ดี ีต่อผูค้ นทอ่ี ยู่รอบตวั เรา ดังนนั้ ”ศาสตร์แห่ง
ความสนกุ ” มีประเดน็ ท่ีควรทราบดงั ตอ่ ไปน้ี
1. อย่าคาดหวังอะไรที่มากเกินความสามารถของตนเอง
จะทาให้บรรยากาศหมดความสนุก
2. อย่าลืมที่จะหัวเราะและต้องหัวเราะเพ่ือที่จะลืมความ
ผิดพลาดทีผ่ ่านไปแลว้
3. อยา่ ลมื รอยย้มิ ที่ผอ่ นคลาย เพอ่ื ทาใหบ้ รรยากาศเป็นกนั เอง
4. อยา่ ลืมคดิ ถงึ ความสุขท่ีเราพรอ้ มจะมอบใหก้ บั ทกุ คน
5. อย่าลมื มองหาความสนกุ สนาน จากการที่ไดท้ าอะไรทท่ี า้ ทายบ้าง
6. อยา่ ลืมใช้หัวใจทเี่ ปน็ เด็กมองปัญหา แตใ่ ชป้ ญั ญาแบบผใู้ หญ่แกไ้ ขมัน
7. อย่าลมื ใช้กฏกตกิ ามารยาททีไ่ ดต้ กลงร่วมกัน ใหม้ คี วามศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ เพือ่ ใหท้ กุ คนไดร้ บั รู้ถงึ ความเป็นธรรม

“ความสนุก” เป็นเร่ืองเฉพาะตัวของบุคคล แต่มีผลต่อผู้คนรอบตัวและบรรยากาศรอบข้าง หากเรา
ต้องการทางานด้านการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟให้มีความสุขกับตัวเองและผู้คนท่ีเก่ียวข้อง ก็สามารถนา
หลักคิดของศาสตร์แห่งความสนกุ ไปทดลองใช้หรือนาไปคิดตอ่ ยอดเพื่อการพัฒนาต่อไป

“วิทยากรกับการเลน่ กอล์ฟ” (ตอนท่ี 18)

“การขจัดความกลัว” เป็นประเด็นที่ผมใช้เวลานานพอสมควร จากการทบทวนในการถอดบทเรียน
งานการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟ เพราะหากผมก้าวข้ามความคิดความรู้สึกของความกลัวนี้ไปได้ ก็เชื่อว่า
“อปุ สรรคท่ีขวางกน้ั ความสาเร็จ คงอยไู่ มไ่ กลเกนิ เอือ้ ม”

“ความกลัว” เป็นความรู้สึก
พื้นฐานของคนทุกคน ท่ีเราคิดปรุงแต่งขึ้น
จากส่ิงแวดล้อมและผู้คนที่มากระทบจิตใจ
จนบางครั้งก็ถูกฝังลงไปอยู่ในจิตใต้สานึก
และส่งผลให้เรามีความทุกข์กายทุกข์ใจ เม่ือ
ไม่สามารถหาวิธีในการจัดการกับมันได้ ก็
กลายเป็นอุปสรรคในการก้าวเดินไปข้างหน้า

“ความกลัว” ที่เกิดขึ้นกับ
วิทยากรมีประเภทของวิทยากรมือใหม่ก็
ได้แก่ กลัวผู้ฟัง กลัวเวที กลัวจับไมค์ กลัว
ลืมเน้อื หา กลัวว่ามุขทีเ่ ตรียมมาจะไม่ได้ผล ส่วนวทิ ยากรมอื อาชีพกม็ ักจะกลัว คนท่เี กง่ กว่า คนท่คี ้นุ เคย คนทีไ่ มถ่ ูก
ชะตาและคนทีอ่ า่ นทางเราออกหรือพวกรู้ทัน

“ความกลัว” ของบรรดานักกอล์ฟมือสมัครเล่นก็มักจะเริ่มจาก กลัวความแปลกที่ กลัวว่าจะทาได้
ไม่เหมือนท่ีซ้อมมา กลัวสายตาคนอนื่ มองมาเวลาเราเลน่ และกลัวหักห้ามกิเลสในใจไม่ได้ ส่วนนักกอล์ฟอาชีพกจ็ ะ
กลัวคู่ต่อสทู้ ี่เก่งกว่า กลัวท่เี ตรียมตัวมาไม่ดีไมพ่ ร้อม และกลวั จะน้อยหน้ากวา่ คนอน่ื หากเราตอ้ งการขจัดความกลัว
ในการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟ เราคงต้องเรียนรู้
ท่ีจะจัดการกับความกลัวนั้น ซ่ึงมีคนเคยบอกกับผมว่า
“fake it until you make it” โดยครั้งแรกมันจะยาก
มาก แต่เราต้องลองทาเพ่ือเผชิญหน้ากับมัน และเมื่อลง
มอื ทาแลว้ เราจะกา้ วขา้ มมันไปได้

สาหรับแนวทางของการขจัดความกลัว
พอจะรวบรวมเป็นองค์ความรู้ให้กับท่านวิทยากรและ
ท่านนกั กอลฟ์ ดงั น้ี
1. พิจารณาความกลัวว่า มันเกิดขึ้นจากอะไร ทาความ
เขา้ ใจและยอมรับ แล้วหาวิธกี ารรบั มือ
2. ปรับความคิดให้เข้าไปอยู่ในโหมดของการคิดบวกให้
ได้ พยายามคิดถึงความสาเรจ็ ท่ีเคยผา่ นมา
3. เผชญิ หน้ากบั ความกลัวโดยสรา้ งความคุ้นเคยกบั มันบ่อยๆ มองหาขอ้ ดีแลว้ อยู่กับมันให้ได้
4. ฝึกใชจ้ นิ ตนาการว่า เราไมก่ ลวั และคดิ ตอ่ ใหไ้ ดว้ า่ “อะไรมันจะเกิด มนั ก็ต้องเกิด ปล่อยมนั ไป”
5. ตั้งสตใิ ห้ทนั และดงึ ความมัน่ ใจจากสงิ่ ท่ีเราไดเ้ ตรยี มตวั มาเป็นอย่างดี จากน้นั ลงมือทาด้วยจิตจดจ่อ

“ไม่ใช่เร่ืองง่ายสาหรับการจัดการกิเลสท่ีชื่อว่า ความกลัว แต่หากเราฝึกสติบ่อย ๆ ซ้อมใช้อยู่เสมอ
กเ็ ช่อื ว่า เราจะก้าวขา้ มความกลัวไปสู่ความกล้าได้ในทสี่ ดุ ”

“วิทยากรกบั การเล่นกอล์ฟ” (ตอนที่ 19)

เหลืออีกเพียง 2 ตอนก็จะจบการนาเสนอแนวคิดเรื่องวิทยากรกับการเล่นกอล์ฟแล้วครับ ตอนน้ี
จึงขอสรุปประเด็นสาคัญของ การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ สาหรับการพัฒนาตนเองให้เป็นวิทยากรและนักกีฬา
กอล์ฟท่ี “เก่ง ดแี ละมีความสขุ ” โดยใช้แนวคดิ จากศาสตรข์ อง Education ทไ่ี ด้รา่ เรียนมา และศาสตรข์ อง Sports
Management และ Human Resource Development ทไ่ี ด้ทาการสอนอยู่ ดังน้ี

1. การเรียนรู้ท่ีดีต้องยึดวัตถุประสงค์เป็นสาคัญ ในการเรียนรู้เร่ืองวิทยากรและกีฬากอล์ฟ เราวาง
เป้าหมายไวท้ ่ี (1) ความรูค้ วามเขา้ ใจ (2) ทกั ษะ (3) ทศั นคติ (4) พฤตกิ รรม

2. กระบวนการเรียนรู้ที่ดีต้องมาจากความคิดภายในตน ที่มีความต้องการ ความมุ่งม่ันตั้งใจและ
ความรบั ผดิ ชอบต่อเรยี นรู้

3. สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้เป็นเร่ืองสาคัญจาเป็นที่จะทาให้เรามีแรงจูงใจและแรงบันดาลใจ
ไม่ว่าจะเปน็ (1) บคุ คลแวดล้อม (2) ส่ือ อุปกรณ์และเคร่ืองมอื (3) เทคโนโลยี (4) เงนิ ทุน

4. ผลลัพธ์ของการเรียนรู้ ท่ีเราสามารถประเมนิ สมรรถนะและความก้าวหน้าในการเรียนรขู้ องตนเอง
ได้ จนเกดิ เปน็ พฤตนิ สิ ยั ของ “การใฝ่เรียนร”ู้ และ “การดารงตนด้วยคณุ ธรรมจริยธรรม”

สาหรับสาระสาคัญท่ีขอขยายความเพม่ิ เตมิ เปน็ ประเดน็ ของวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรทู้ ้ัง 4 ดา้ น คือ
1. ความรู้ความเข้าใจ (Knowledge) เป็นสิ่งที่เราได้มาจากการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการ

เรียนรู้ จากบุคคลผู้รู้ จากประสบการณ์ที่เราได้รู้เห็นและปฏิบัติ แล้วนามาผ่านกระบวนการคิดหลายลักษณะ
จนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ันหากเราต้องการเป็นวิทยากรและนักกีฬากอล์ฟที่เก่ง
เราตอ้ งแสวงหา ใฝ่ควา้ ตรกึ ตรอง ลองทาและทบทวนอยา่ งต่อเนอื่ งจน รู้ลกึ ร้จู รงิ และรูก้ ระจา่ ง

2. ทักษะ (Skill) เป็น
ความเช่ียวชาญ ชานาญและความ
สามารถท่ีต่อมาจากความรู้ความ
เข้าใจโดยได้ทาการฝึกฝนมาอย่าง
สม่าเสมอ ดังน้ัน การเป็นวิทยากร
และนักกอล์ฟท่ีเก่ง มีเส้นทางเดียวที่
จะทาให้ประสบความสาเรจ็ นั่นกค็ ือ
practice practice and practice

3. ทัศนคติ (Attitude)
เป็นระดับของความรู้สึกนึกคิดที่
เกี่ยวข้องกับภาวะทางจิตใจของ
บุคคลที่มีต่อตนเอง ต่อบุคคลอื่น
และสถานการณ์ท่ีไปเก่ียวข้องด้วย
ซึ่งเป็นไปทั้งในด้านบวกและด้านลบ
ดังน้ันหากเราต้องการเป็นวิทยากร
และนักกอล์ฟที่ดี ก็จะต้องสร้างความรู้สึกนึกคิดให้อยู่ในด้านบวก เรียนรู้และฝึกฝนตนเองให้รับรู้และลงมือทาแต่
สิ่งท่ดี ีสง่ิ ที่ถูกต้อง นน่ั จึงจะช่วยใหเ้ รามที ัศนคตทิ ่ดี ีต่อการเรียนรู้อย่างแนน่ อน

4. พฤติกรรม (Behavior) เป็นการแสดงออกท่ีมีผลมาจาก ความรู้ความเข้าใจ ทักษะและทัศนคติ
ของบุคคล ซ่ึงหากการรับรู้และประสบการณ์ท่ีได้รับเป็นไปในด้านดีด้านบวก นั่นย่อมทาให้พฤติกรรมที่แสดง
ออกมาจะเป็นไปอย่างเหมาะสม ดังนั้นวิทยากรและนักกอล์ฟที่สามารถแสดงออกได้ถึง”ความเก่ง ความดีและมี
ความสุข” ย่อมมีผลมาจากการเรียนรู้ท่ีเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างกระจ่างชัดเจน ฝึกฝนอย่างมีวินัยและอดทน
สร้างทัศนคติเชิงบวกให้กับตนเอง และสามารถใช้กระบวนการคิดอย่างหลากหลายและถูกต้องเพ่ือยกระดับการ
เรียนรู้ไปสเู่ ปา้ หมายทต่ี นเองต้องการ

ส่งท้ายของตอนนี้เป็นประเด็นฝากสาหรับวิทยากรและนักกอล์ฟว่า “หนทางของความสุขและ
ความสาเร็จในงานวิทยากรและการเล่นกอล์ฟนั้น ต้องเร่ิมจากการกลัดกระดุมเม็ดแรกให้ถูก ด้วยการสร้าง
Mindset ให้คดิ บวก คดิ ดี ทาดีและเห็นคณุ คา่ ของตนเองและทกุ สิ่งรอบตัวด้วยความบรสิ ุทธ์ใิ จ”

“วิทยากรกบั การเลน่ กอลฟ์ ” (ตอนสดุ ทา้ ย 20.1)

จากตอนแรกท่ีโพสต์เม่ือวันท่ี 31 ตุลาคม 2563 เรื่อง “การนากอล์ฟมาสร้างคุณค่าและมูลค่าใน
งานวทิ ยากร” และต่อเน่ืองมาอีก 7 เดือน 18 ตอน ได้แก่ การฝึกฝน พฒั นาการ การจัดการอารมณ์ การปรับ mindset
การวางแผน จิตวิทยา การเรียนรู้ตลอดชีวิต มารยาททางสังคม slow life การพัฒนาความคิด การเตรียมตัวเตรียมใจ
passion การเจริญสติ การใช้จินตภาพ การจัดการความผิดพลาด ศาสตร์แห่งความสนุก การขจัดความกลัวและ
วธิ พี ัฒนาการเรียนรู้

งานเขียนท้ังหมดน้ีเป็นการ “ถอดบทเรียน” เพื่อทบทวนตัวเองและพัฒนาต่อยอดความคิดและ
จิตใจ ให้มีความสุขในการเป็นวิทยากรและการเล่นกอล์ฟ นอกจากนั้นยังเป็นการฝาก “สติปัญญาแก่แผ่นดิน”
ในฐานะของการเปน็ อาจารยแ์ ละนกั กฬี ากอลฟ์ ของมหาวิทยาลยั มหดิ ล

สาหรับตอนสุดท้ายนี้ ขอฝากเคล็ดวิชาวิทยากรท่ีมาจากความรู้ภายในตน (Tacit Knowledge)
ท่ีประมวลเป็น “เก้าอย่างเพื่อก้าวย่างสู่วิทยากรมืออาชีพ” ตามสไลด์ภาพประกอบครับ ในส่วนของเคล็ดวิชาการ
เล่นกอลฟ์ คงตอ้ งขอขยายออกไปใน (ตอนสดุ ทา้ ย 20.2) ครับ











“วิทยากรกบั การเล่นกอล์ฟ” (ตอนจบ 20.2)

ตามสัญญาครับกับการนาเสนอบทสรุปของวิทยากรท่ีมีโอกาสใช้การเล่นกอล์ฟเป็นส่วนหน่ึงของงาน
และการใช้ชีวิต ตลอดช่วงเวลาของงานเขียนน้ี ก็ต้องบอกว่าได้ใช้สาระทางวิชาการควบคู่กับสาระจากประสบการณ์
นามาบูรณาการให้เป็นองค์ความรู้ใหม่ ต่อจากนี้ก็จะเป็นช่วงเวลาท่ีผมจะนาองค์ความรู้ทั้งหมดน้ีไปปฏิบัติใน
ภาคสนามเพ่อื ปรับปรงุ และต่อยอดให้เกดิ ความสนกุ สนานเพิ่มขึน้ ตกผลกึ ของกฬี ากอลฟ์ ตอนจบนี้ จะสรุปเรื่องราว
ที่ผมใชส้ ูตรเดียวกับบทสรุปวิทยากรที่วา่ “เก้าอย่างเพ่ือก้าวย่างสู่วิทยากรมืออาชีพ” (ตอนสุดท้าย 20.1) ส่วนการ
เลน่ กอล์ฟก็จะเปน็ “9 สิง่ กบั เร่ืองจริงของกีฬากอลฟ์ ” ประกอบภาพดงั นี้ครับ







บนั ทึกจาก https://www.facebook.com/nugrob.raw


Click to View FlipBook Version