ความร้เู บอื้ งต้นในการอ่านหนงั สอื
1. ประเภทของหนงั สอื
การแบง่ ประเภทหนงั สอื ต่าง ๆ มกั จะแบ่งออกเปน็ หลายวธิ ีดว้ ยกนั คอื
1.1 แบ่งตามขนาดรูปเล่ม
1.1.1 ขนาดใหญ่ทส่ี ดุ เป็นกระดาษแผ่นใหญ่พับคร้ังเดยี ว คือ ขนาดหนงั สือพิมพ์
รายวัน (2 หน้ายก)
1.1.2 ขนาดครงึ่ หนงึ่ ของหนังสอื พมิ พร์ ายวัน (4 หนา้ ยก) มขี นาดเท่ากับนิตยสาร
สกุลไทย
1.1.3 ขนาด 8 หน้ายก คือเล็กกว่า นิตยสารสกลุ ไทย มีขนาดเท่ากับนิตยสาร
ขวญั เรอื น กุลสตรี
1.1.4 ขนาด 16 หนา้ ยก หรือฉบับกระเป๋า (Pocket book) เลก็ เป็นครึ่งหนึ่งของ
หนังสือ 8 หน้ายก
1.2 แบง่ ตามแนวเน้ือหา มักจะแบง่ เปน็ 3 ประเภทกว้างๆ คอื
1.2.1 บันเทิงคดี (Fiction) มเี นอ้ื หามุ่งใหค้ วามบันเทงิ ความเพลิดเพลนิ เปน็ หลัก
ไดแ้ ก่ นิทาน นิยาย นวนิยาย เรอื่ งสั้นตา่ ง ๆ
1.2.2 สารคดี (Non - fiction) มีเน้ือหามุ่งใหค้ วามรเู้ ปน็ หลัก แตก่ ็ใหผ้ ้อู ่านได้รบั
ความเพลดิ เพลินไปดว้ ยในขณะเดยี วกัน
1.2.3 วชิ าการ เนื้อหามุ่งในทางความรูเ้ ปน็ หลักอย่างเดยี ว
การแบ่งหนังสือท้ัง 3 ประเภท ดังกลา่ ว บางครง้ั กพ็ บปัญหา เนื่องจากมหี นงั สือจานวนมากทผ่ี เู้ ขียน
เขยี นก้าก่งึ กนั ระหว่างสารคดีและวชิ าการ ดงั น้ัน จึงอาจพิจารณาเนือ้ หา รายละเอียด แบง่ ประเภทจาเพาะ
เจาะจงลงไป แบบการแบ่งหมู่หนังสอื ของห้องสมดุ คือ การจัดหมูห่ นงั สอื แบบดิวอี้(Dewey) ซึง่ ห้องสมดุ สว่ น
ใหญ่ในประเทศไทยนยิ มใชก้ นั โดยแบ่งหมหู่ นังสอื ออกเป็น 10 หมู่วชิ า ดงั น้ี
000 ปฏณิ กะ , เบ็ดเตลด็ 100 ปรชั ญา
200 ศาสนา 300 สังคมสงเคราะห์
400 ภาษา 500 วิทยาศาสตร์
600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 700 ศิลปะ
800 วรรณคดี 900 ประวตั ิศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์
1.3 แบ่งตามรูปแบบของขอ้ เขยี น นยิ มแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
1.3.1 ร้อยแก้ว เปน็ ขอ้ เขยี นแบบความเรียงธรรมดาทัว่ ๆ ไป ไม่มีกฎบังคบั พิเศษใด ๆ
1.3.2 รอ้ ยกรอง คือ คาประพนั ธท์ ม่ี ีฉันทลักษณ์กาหนดไว้แน่นอนหรือกาหนดขึน้ เอง ร้อย
กรองของไทยมี รา่ ย โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน และปัจจบุ ันมีผูน้ ยิ มเขียนกลอนเปลา่ ไม่มสี ัมผสั ใชป้ ระโยต
ส้ันๆ ในแต่ละบรรทดั โยงความคิดต่อเนื่องกัน
1.3.3 บทละคร อาจมีท้ังเขียนเป็นรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง บทละครของไทยเรามีละครรอ้ ง
ละครรา ละครพดู ละครพดู สลบั รา(คือ มบี ทพดู และมเี พลงรอ้ งประกอบ)
บทละครมวี ธิ เี ขยี นต่างจากขอ้ เขยี นแบบอน่ื คอื ต้องแบ่งเป็นฉาก เปน็ องก์ มตี ัวละคร เพ่ือเปน็ แนวทางให้
นาไปแสดงบนเวทีได้จรงิ เช่น บทละครตา่ ง ๆ ของรัชกาลที่ 6 เป็นต้น
1.4 แบง่ ตามวาระการพิมพ์จาหน่าย แบ่งออกเป็น
1.4.1 หนังสือรายวนั
1.4.2 หนงั สอื รายสัปดาห์
1.4.3 หนังสอื รายทศ (10 วัน)
1.4.4 หนงั สือรายปักษ์ (15 วนั )
1.4.5 หนงั สือรายเดือน
1.4.6 หนงั สอื รายคาบ (ออกระยะ 2 เดือน , 3 เดอื น)
1.4.7 หนงั สือรายปี คอื ออกปีละเลม่
1.4.8 หนงั สือรายสะดวก คือ ไม่มีกาหนดออกท่ีแน่นอนพร้อมเมื่อไรก็ออก
1.5 แบง่ ตามสภาพผผู้ ลิตหรอื เจา้ ของ (ผจู้ ัดการพิมพ์) แบง่ เป็น
1.5.1 เป็นของราชการหรือก่ึงราชการ หรือรัฐวสิ าหกจิ
1.5.2 เป็นของบริษัทการค้าของเอกชน
1.5.3 เป็นของผ้ผู ลิตเองเปน็ การส่วนตัว (ไปจ้างพมิ พ์)
1.6 แบง่ ตามท่ีมาของข้อเขยี นนัน้ ๆ แบง่ ไดด้ ังน้ี
1.6.1 ผู้เขยี นคดิ เองทัง้ หมด
1.6.2 ประเภทคน้ คว้ารวบรวมมาจากที่อ่นื ต่าง ๆ กัน
1.6.3 ประเภทเรียบเรยี ง คือ เพิ่มเติมขอ้ คดิ เห็นของตนเองลงไปหลงั จากคน้ คว้า
รวบรวม มีลักษณะเป็นของตัวเองมากกวา่ ข้อ 1.6.2
1.6.4 ประเภทนาของเดมิ มาเล่าใหม่ มอี ธิบายประกอบหาภาพมาประกอบ มีข้อ
สันนิษฐานหรอื เล่าตานาน สาธก ยกตวั อย่าง แล้วแต่กลวธิ ีท่จี ะทาใหน้ ่าสนใจ เชน่ สามกก๊ ฉบบั วณิ ิพก ,
ฉบับนายทุน , โจโฉนายกตลอดกาล , อินไซดส์ ามก๊ก เปน็ ต้น
1.7 แบง่ ตามหลกั สากล ซงึ่ ไดจ้ ัดหนังสือออกเปน็ ประเภทใหญๆ่ 3 ประเภท คือ
วรรณคดี สารคดี และสาระบันเทงิ คดี ทั้ง 3 ประเภทน้ี หากจะแบ่งเปน็ ประเภทย่อย ๆ จะไดเ้ ปน็ 7
ประเภท ดงั น้ี
1.7.1 วรรณคดี 1.7.2 สารคดี
1.7.3 นวนยิ ายและเร่อื งส้นั 1.7.4 นติ ยสารและหนงั สอื พิมพ์
1.7.5 บทความ 1.7.6 บทรอ้ ยกรอง
1.7.7 บทละคร
ตอบคาถามท้ายเร่ือง
จงเตมิ คาตอบให้ถกู ตอ้ ง
1. ใหน้ ักเรียนหาหนงั สอื ท่ีแบ่งตามแนวเนือ้ หา วา่ อยู่ในประเภทใด
1)
2)
3)
4)
5)
2. ใหน้ ักเรยี นหาหนงั สอื ท่จี ัดหมวดหม่หู นงั สือตามแบบดิวอี้(Dewey)ว่าอยู่ในหมวดหมูเ่ ท่าใด
1)
2)
3)
4)
5)