The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NORNINK HAHA, 2019-04-01 03:13:26

โครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน

01



คำนำ

โคร งการ เส ริ มส ร้างร าย ได้ ระห ว่า งเรีย น จั ด ท าขึ้ น เพ่ื อ เป็ น ห นึ่ งกิ จ กรร มท่ี ท าให้ นั กเรีย น
นักศึกษาได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ได้รับประสบการณ์จริงจากการทางาน มีรายได้ระหว่าง
เรียนเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระให้แก่ครอบครัว และยังทาให้เห็นคุณค่าของเงิน โครงการนี้จัดทาข้ึนเพื่อ
สมาชิกในกลุ่มเข้าใจการทากิจกรรมกลุ่มการเรยี นรู้กระบวนการทากิจกรรมโครงการในการปฏบิ ัตงิ าน
จรงิ และรู้จักการใช้ฐานความรู้ในการสร้างสรรคผ์ ลงาน

อน่ึงคณะผจู้ ัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ จะเป็นประโยชน์ต่อ นักเรียน นักศึกษาสมดังเจตนารมณ์
ท่ีตง้ั ไว้ หากมีข้อแนะประการใด คณะผู้จัดทาน้อมรบั ไวด้ ว้ ยความขอบคณุ เป็นอย่างยิ่ง

โครงการเล่มน้ีมีผลการดาเนินงานสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ด้วยดีนน้ั ก็เพราะได้รบั ความร่วมมืออันดี
เป็นอยา่ งยง่ิ จากนักเรียนนักศึกษาสาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ทมี่ ีความสนใจในการรว่ มกจิ กรรม คณะ
ครูอาจารย์ที่ให้ทาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา และคณะผู้จัดทาโครงการ ใคร่ขอขอบคุณทุกท่าน ณ
โอกาสนด้ี ว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา

สารบญั จ

บทคดั ย่อ หนา้
บทคดั ย่อ(ต่อ) ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
คานา ค
สารบญั ง
สารบัญ(ตอ่ ) จ
สารบัญตาราง ฉ
สารบญั ภาพ ช
บทที่ ๑ บทนา ซ

๑.๑ ความเป็นมา ๑
๑.๒ วตั ถุประสงค์ ๑
๑.๓ ขอบเขตของโครงการ ๑
๑.๔ ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ ๒
๑.๕ นิยามศัพทเ์ ฉพาะ ๒

บทที่ ๒ เอกสารและทฤษฎีทเ่ี ก่ียวข้อง ๓
๒.๑ การเสรมิ สรา้ ง ๔
๒.๒ รายได้ ๕
๒.๓ การแบ่งเบาภาระ ๖
๒.๔ การศึกษา ๙
๒.๕ กิจกรรมตลาดนดั
๑๐
บทท่ี ๓ วธิ ีการดาเนนิ โครงการ ๑๐
๓.๑ ข้ันตอนการเตรยี มโครงการ ๑๐
๓.๒ ประชากรและกลมุ่ เปา้ หมาย ๑๑
๓.๓ ข้นั ตอนการดาเนินงาน ๑๒
๓.๔ เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑๒
๓.๕ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โครงการ
๓.๖ สถิติทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู

สารบัญ (ตอ่ ) ฉ

บทท่ี ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู หน้า
๔.๑ ผลการดาเนินงาน ๑๔

บทท่ี ๕ อภิปรายผล สรปุ และขอ้ เสนอแนะ ๒๒
๕.๑ อภิปรายผลการประเมนิ ๒๕
๕.๒ ขอ้ เสนอแนะ ๒๖

บรรณานกุ รม

สารบญั ตาราง ช

ตารางท่ี หน้า
๓-๑ แสดงตารางการปฏบิ ัติงาน ๑๐
๔-๑ แสดงเพศของผูต้ อบแบบสอบถามทไี่ ดเ้ ขา้ ร่วมโครงการ ๑๔
๔-๒ แสดงระดับชน้ั ของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีไดเ้ ข้าร่วมโครงการ ๑๕
๔-๓ แสดงอายุของผ้ตู อบแบบสอบถามทไ่ี ด้เขา้ รว่ มโครงการ ๑๕
๔-๔ แสดงสถานะของผ้ตู อบแบบสอบถามท่ไี ดเ้ ข้ารว่ มโครงการ ๑๖
๔-๕ แสดงระดับความพึงพอใจด้านการดาเนินการของผู้ตอบ ๑๗
แบบสอบถามทีไ่ ด้เข้ารว่ มโครงการ
๔-๖ แสดงระดบั ความพึงพอใจด้านความพงึ พอใจ ๑๘
๔-๗ แสดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นผลสัมฤทธ์ิของผูต้ อบ ๑๙
แบบสอบถามท่ไี ดเ้ ขา้ รว่ มโครงการ
๔-๘ แสดงสรปุ ระดบั ความพึงพอใจของนกั เรียนนักศึกษาทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ ๒๐

สารบัญภาพ ซ

ภาพท่ี หน้า
๔-๑ แผนภูมิแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑๔
๔-๒ แผนภมู ิแสดงระดบั ช้นั ของผ้ตู อบแบบสอบถาม ๑๕
๔-๓ แผนภูมิแสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑๖
๔-๔ แผนภูมิแสดงสถานะของผูต้ อบแบบสอบถาม ๑๖
๔-๕ แผนภมู ิความพงึ พอใจด้านการดาเนนิ การ ๑๗
๔-๖ แผนภูมิความพึงพอใจด้านความพึงพอใจ ๑๘
๔-๗ แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจด้านผลสัมฤทธิ์ ๑๙
๔-๘ แผนภมู แิ สดงสรุประดับความพงึ พอใจของนกั เรียนนักศึกษา ๒๑
ท่เี ขา้ ร่วมโครงการ

บทที่ ๑
บทนำ



บทท่ี ๑
บทนำ

๑.๑ ควำมเปน็ มำของโครงกำร
เน่ืองจากนักเรียน นักศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยองน้ันผู้ปกครอง

ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรและมีฐานะยากจน ซ่ึงนักเรียน นักศึกษามีค่าใช้จ่ายในการศึกษาและการ
ดารงชีวิตค่อนข้างสูง จึงเป็นภาระที่หนักย่ิงของครอบครัว โดยบางรอบครัวไม่สามารถสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายในการศึกษาแก่บุตรหลานของตนเองได้ จากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
คุณภาพชีวิตในทกุ ๆ ดา้ นของนักเรียน นักศกึ ษา

ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาปัญหาที่เกิดข้ึน ทางชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปวช.๓
กลุ่ม ๓ วิทยาลัยเทคนิคระยอง จึงได้จัดทาโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน เพ่ือเป็นการ
แก้ปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง ป้องกันปัญหาของ
นักเรียน นักศึกษาท่ีเกิดจากความขาดแคลน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษาได้รับ
ประสบการณ์จากการทางาน มีโอกาสเตรียมตัวก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน ตลอดจนใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชนแ์ กต่ นเอง ครอบครัว และสงั คม

๑.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงกำร
๑.๒.๑ เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา มีรายได้ระหว่างเรียนเพ่ือแบ่งเบาภาระแก่ผู้

ปกครอง
๑.๒.๒ เพ่อื ใหน้ กั เรยี นนักเรียน นักศกึ ษา รูจ้ ักใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์
๑.๒.๓ เพ่ือให้นกั เรยี นนักเรยี น นกั ศึกษา ได้รบั ประสบการณ์จรงิ จากการทางาน

๑.๓ ขอบเขตของโครงกำร
๑.๓.๑ เชิงปรมิ าณ
๑) นักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

จานวน ๓๕๐ คน
๑.๓.๒ เชงิ คุณภาพ
๑) นักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีรายได้ระหว่างเรียน

เพ่ือแบง่ เบาภาระใหแ้ ก่ผ้ปู กครอง



๑.๔ ผลท่คี ำดว่ำจะไดร้ บั
๑.๔.๑ นักเรียน นักศกึ ษา มรี ายได้ระหว่างเรียนเพ่อื แบ่งเบาภาระผ้ปู กครอง
๑.๔.๒ นักเรยี น นักศึกษา รจู้ ักใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์
๑.๔.๓ นกั เรยี น นักศึกษา ได้รบั ประสบการณจ์ รงิ จากการทางาน

๑.๕ นยิ ำมศัพท์เฉพำะ
๑.๕.๑ ตลาด หมายถึง เป็นการชุมนุมกันทางสังคม แลกเปล่ียนสินค้ากัน ในภาษาท่ัวไป

ตลาดหมายความรวมถึงสถานท่ีท่ีมนุษย์มาชุมนุมกันเพ่ือค้าขาย ในทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดหมายถึง
การแลกเปล่ียนซ้อื ขาย โดยไม่มคี วามหมายของสถานท่ีทางกายภาพ

๑.๕.๒ รายได้ หมายถึง ผลตอบแทนที่กจิ การได้รับจากการขายสินค้าหรอื บริการตามปกติ
ของกิจการรวมท้ัง ผลตอบแทนอ่ืนๆ ที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินงานตามปกติ รายได้แบ่งออกเป็น ๒
ประเภท ดังน้ี

๑) รายได้จากการขาย (Sale revenue) หมายถึง รายได้ท่ีเกิดจากการขายสินค้า
หรอื บรกิ ารอันเป็นรายได้จากการดาเนินงานตาม ปกติ เชน่ กจิ การซ้อื ขายสินคา้ รายได้ของกิจการ คือ
รายได้จากการขายสินค้า ส่วนกจิ การใหบ้ ริการ เชน่ ซ่อมเคร่ืองไฟฟ้า รายได้ของกจิ การ คือ รายไดค้ ่า
ซ่อม

๒) รายได้อ่ืน (Other incomes) หมายถึง รายได้ที่มิได้เกิดจากการดาเนินงาน
ตามปกติของกิจการซง่ึ เป็นรายได้ท่ีไม่ใช้ รายได้จากการขายสินคา้ หรอื บรกิ ารนน่ั เอง

๑.๕.๓ รายจ่าย หมายถึง มูลค่าเงนิ ที่ใช้เป็นค่าบริการหรือสินค้าต้องจ่ายเมื่อทากิจกรรมใดๆ
โดยอาจจา่ ยในรูปแบบเงนิ สดหรือเครดิต

๑.๕.๔ ลงทุน หมายถงึ การใช้สอยทรัพยากรในลักษณะต่าง ๆ โดยหวังจะได้รับผลตอบแทน
กลบั มา มากกวา่ ทลี่ งไปในอตั ราที่พอใจภายใต้ความเส่ียงทเี่ หมาะสม

๑.๕.๕ กาไร หมายถงึ ผลที่ได้เกนิ ต้นทุน
๑.๕.๖ ขาดทุน หมายถึง ได้ไมค่ รบทุน ไดน้ อ้ ยกวา่ ต้นทนุ

บทที่ ๒
เอกสารและทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ ง

บทที่ ๒
เอกสารและทฤษฎีท่เี กยี่ วข้อง

เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทาโครงการคร้ังนี้คณะผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่เก่ียวข้อง
ตา่ งๆดังนี้

๒.๑ การเสริมสรา้ ง
การเสริมสร้าง คือ ส่ิงใดท่ีเห็นว่าดี เป็นประโยชน์แก่สังคม เพื่อเสริมสร้างสังคมให้ดีข้ึน เป็นการ

เพ่ิมพูนให้ดหี รือมั่นคงยงิ่ ขน้ึ ทางดา้ นต่างๆ ซึ่งอาจเป็นกจิ กรรมหรือการเล่นที่มีกฎกตกิ ากาหนด เพื่อความ
สนุกเพลิดเพลินผ่อนคลายความเครียด หรือเสริมสรา้ งร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็นการแข่งขันเพื่อ
ความเปน็ เลศิ เชน่ ฟตุ บอล วา่ ยนา้ หมากรุก ปีนเขา ลา่ สตั ว์

๒.๑.๑ ประเภทของการเสรมิ สร้าง
๒.๑.๑.๑ การเสริมสร้างทางการตลาด เป็นส่วนประสมทางการตลาด ซึ่งองค์กรใช้เพ่ือ

แ จ้ งข่ า ว ส า ร แ ล ะ จู งใจ ต ล า ด เกี่ ย ว กั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ บ ริ ก า ร ข อ งอ ง ค์ ก ร ซึ่ ง ต้ อ งอ า ศั ย ก ร ะ บ ว น ก า ร
ติดต่อส่อื สารขอ้ มูลระหวา่ งผขู้ ายและผซู้ อื้ เพื่อสรา้ งทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมการซ้ือ

๒.๑.๑.๒ การเสริมสร้างทางการขาย เป็นกิจกรรมระยะส้ันท่ีใช้ส่งเสริมการขายท่ี
นอกเหนือจากการโฆษณา การขายโดยใช้พนักงานขายและการประชามสัมพันธ์ซึ่งสามารถกระตุ้นความ
สนใจ การทดลองใช้ หรือการซื้อของลูกค้าข้ันสุดท้ายหรือบุคคลอื่นในช่องทางการจัดจาหน่ายแต่ละ
ระดับ" หรืออาจหมายถึง "กิจกรรมระยะสั้นซ่ึงใช้ช่วยและเสริมการขายโดยใช้พนักงานและการโฆษณา"
การสง่ เสรมิ การขายอาจใชร้ ่วมกบั การโฆษณา หรือการขายโดยพนกั งานขาย

๒.๑.๑.๓ การเสริมสร้างการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เวลาว่างส่วนใหญ่มักจะอยู่ใน
เวลาพักกลางวันหรือตอนเย็น ในเวลาพักกลางวันอาจจะไปติวหนังสือให้เกิดประโยชน์ ไปช่วยครูทางาน
ทาการบ้าน เป็นต้น ส่วนตอนเย็นอาจจะไป เล่นกีฬา น่ังเล่นเกม ถ้าเราเอาเวลาอันมีค่าของเราไปเล่นเกม
มัวแตแ่ กล้งเพอ่ื น เวลาอนั มคี ่าของเราอนั น้นั ก็จะสญู เปลา่ ไปในทันที ทาให้ไม่เกดิ ประโยชน์และยงั เป็นโทษ
ตอ่ ตนเอง

๒.๑.๑.๔ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย เป็นการปรับปรุงสภาวะของร่างกายให้
อวัยวะต่างๆ ของร่างกายมีประสิทธิภาพในการทาหน้าท่ีสูง และมีการประสานงานกันของระบบต่างๆ
ของร่างกายได้เป็นอยา่ งดี

๒.๒ รายได้
๒.๒.๑ ความหมายของรายได้
รายได้ คอื ผลตอบแทนทก่ี ิจการได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการตามปกตขิ องกิจการ

รวมท้ังผลตอบแทนอื่น ๆ ทีไ่ ม่ไดเ้ กิดจากการดาเนนิ งานตามปกติ
๒.๒.๒ ประเภทของรายได้
๒.๒.๒.๑ รายได้จากการขาย หมายถึง รายได้ท่ีเกิดจากการขายสินค้าหรือบริการอัน

เป็นรายได้จากการดาเนนิ งานตามปกติ เช่น กิจการซื้อขายสินคา้ รายได้ของกจิ การ คือรายได้จากการขาย
สินค้า ส่วนกิจการให้บริการ เชน่ ซอ่ มเครอ่ื งไฟฟ้า รายไดข้ องกิจการคอื รายได้ค่าซ่อม

๒.๒.๒.๒ รายได้อ่ืน หมายถึง รายได้ที่มิได้เกิดจากการดาเนินงานตามปกติของกิจการ
ซ่ึงเปน็ รายได้ท่ไี ม่ใช้ รายได้จากการขายสินค้าหรือบรกิ ารนัน่ เอง

๒.๒.๓ วธิ หี ารายได้
๒.๒.๓.๑ รับจ้างทารายงาน พิมพ์งาน สาหรับนักเรียนนักศึกษาท่ีมีความขยัน อดทน

ม่ันใจในทักษะการพิมพ์ของตัวเอง และรู้จักหน้าที่รับผิดชอบงานท่ีได้รับมอบหมาย เราควรหยิบเอา
ช่องวา่ งตรงนี้ มาสร้างเป็นรายได้เสริมระหว่างเรียน

๒.๒.๓.๒ ขายข้าวกล่อง อาหารตามสั่ง หากนักเรียนนักศกึ ษาพอมฝี ีมอื ในการทาอาหาร
ทาขนมต่างๆ การรับออเดอร์จากเพื่อนๆ ในชั้นเรียน หรือรับออเดอร์จากคุณครูหรือผู้ปกครอง ก็เป็นอีก
หนง่ึ ไอเดียทด่ี ี ในการหารายได้พิเศษ

๒.๒.๓.๓ ขายสินค้าออนไลน์ ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งอาชีพเสริมที่น่าสนใจ เพราะเราไม่
จาเป็นต้องนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ไปวางขายหน้าร้านให้วุ่นวาย อีกท้ังเรายังสามารถขายของได้ทุกท่ีทุก
เวลา หากเราเว้นว่างจากการเรียน เราก็สามารถเปิดโทรศัพท์และพูดคุยกับลูกค้าได้ ซ่ึงถือว่าเป็นอีกหน่ึง
อาชพี เสริมระหว่างเรียนท่ีนา่ สนใจ เพราะสามารถพัฒนาตอ่ ยอดธุรกิจให้กลายเป็นอาชพี หลกั ในอนาคตได้
ไม่ยาก

๒.๒.๓.๔ ทางานพาร์ทไทม์ ก็เป็นอีกหนึ่งไอเดียการหาเงินระหว่างเรียน ในปัจจุบันมี
นักเรียนนักศึกษาหลายคน ท่ีหันมาใช้เวลาว่างในช่วงปิดเทอม มาสมัครเป็นพนักงานเสิร์ฟหรือแคชเชียร์
ในโรงภาพยนตร์ ร้านสะดวกซ้ือ ร้านอาหาร ร้านขนม หรือร้านกาแฟ และรวมไปถึงศูนย์อาหารในย่าน
ห้างสรรพสินคา้ ต่างๆ เป็นจานวนมาก

๒.๒.๓.๕ ช่างแต่งหน้า การหารายได้เสริม จากการแต่งหน้าถือว่าเป็นหน่ึงตัวเลือกท่ีดี
มากสาหรับน้องๆ ท่ีมคี วามสามารถในด้านนี้ เป็นอาชีพท่ีรายไดค้ ่อนข้างดี ไม่ตอ้ งทาประจาใช้เวลาไม่มาก
ในการแต่งหน้า แต่ผลตอบแทนบอกได้เลยว่าหลักพันบาทขึ้นต่อคนแน่นอน โดยเฉพาะช่วงรับปริญญา
ช่างแต่งหนา้ เปน็ ทีต่ ้องการมากๆ ของเหล่าบณั ฑติ

๒.๒.๓.๖ เผยแพร่ รูปภาพหรือวีดีโอ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันกาลังเป็นท่ี
นิยมสาหรับการสร้างรายได้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต น้ันก็คือการทาคลิปลง Youtube ให้มีคนให้ความ
สนใจในคลิปท่ีเผยแพร่อีกทั้งผลตอบแทนจากยอดวิว และยอดจากการติดตาม channel ของเรา ก็
สามารถทาเงินใหเ้ ราได้แลว้

๒.๒.๓.๗ เขียน blog หรือ website ของตนเอง การเขียน blog ถือเป็นอีกหนึ่ง
ตัวเลือกสาหรับใครท่ีหารายได้เสริม หรือคนที่ชอบในการเขียนบทความ จดบันทึก ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีจะ
กลายเป็นรายได้ท่ีดีเลยทีเดียว ส่วน blog ที่น่าสนใจ เช่น บล็อกเกี่ยวกับการท่องเท่ียว สถานท่ีที่เคยไป,
บล็อกรีวิวหนัง ไปดูหนังมาก็เอามาเขียนรีวิว, บล็อกภาพถ่าย ชอบถ่ายรูปก็เอามาลง คิดแคปช่ันคมๆ,
บล็อกกีฬา, บล็อกทาขนม อาหาร และอีกมากมายทาในส่ิงท่ีเราถนัด ซึ่งรายได้จากการเขียน blog ก็จะ
มาจาก การตดิ banner ในในเว็บ หาคนมาซือ้ พ้ืนทโี่ ฆษณา ลงโฆษณาบนบล็อก เป็นตน้

๒.๒.๓.๘ รับออกแบบ graphic design สาหรับใครที่มีพรสวรรค์ในด้านศิลปะการ
ออกแบบและมีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ ถือว่าอาชีพนี้เหมาะเป็นอย่างมากกับผลตอบแทนที่คุ้มค่า
อาจจะเร่มิ จากการสง่ ประกวดการออกแบบตามเว็บทีเ่ ปดิ รับเมื่อเรม่ิ มีผลงานแลว้ รบั ออกแบบเองไดเ้ ลย

๒.๒.๓.๙ รับสอนดนตรี สาหรบั ใครทีม่ ีพรสวรรค์ในด้านดนตรี อาจจะเป็นกตี ้าร์ เปียโน
และเครื่องดนตรีอ่ืนๆ ก็สามารถทาได้หมด โดยเร่ิมจากการสอนเด็กๆ เพราะปัจจุบันผู้ปกครองให้ความ
สนใจในด้านน้ีเป็นอย่างมาก ที่จะให้บุตรหลานของตนมีความสามรถพิเศษ และใช้เวลาว่างให้มีประโยชน์
อาจจะเป็นรับสอนเสาร์-อาทิตย์ หรือหลังเลิกเรียนก็ได้ การรับสอนดนตรีจึงเป็นอีกตัวเลือกในการหา
รายไดเ้ สรมิ

๒.๓ การแบ่งเบาภาระ
๒.๓.๑ ความหมายของการแบง่ เบาภาระ
การแบ่งเบาภาระ อาจจะเป็นการช่วยเหลือคนรอบข้าง คนในครอบครัว เป็นการช่วยให้

บคุ คลหรอื องคก์ รนนั้ ๆ ลดหนา้ ท่ใี นการปฏิบตั ติ า่ งๆใหร้ วดเร็วและสะดวกยิง่ ขน้ึ
๒.๓.๒ วิธกี ารแบ่งเบาภาระ
๒.๓.๒.๑ ได้เงินค่าขนมมา เกบ็ ก่อนค่อยใช้เวลาได้เงินมา ความโลภก็ตามมาด้วย อยาก

ได้น่ันน่ีเต็มไปหมด ถ้าเราไม่แบ่งส่วนท่ีเก็บออกมาก่อน เงินก้อนน้ันหายได้ในพริบตาเดียว ดังน้ันได้เงิน
จากคณุ พอ่ คณุ แมม่ าแลว้ ให้แบ่งสว่ นหนึ่งเก็บไวก้ อ่ นเลย ทสี่ าคัญคอื เกบ็ แล้วเกบ็ เลย ไม่แงะไปใช้ทหี ลงั

๒.๓.๒.๒ ลดคา่ ใช้จ่ายอุปกรณ์การเรียนปากกา ดินสอ เคร่ืองเขียนท่ีใช้ ไม่จาเป็นต้องดี
ท่ีสุด แต่ต้องไม่แย่จนเปล่ียนบ่อย เครื่องเขียนแต่ละอย่างมีหลากหลายยี่ห้อ เพียงแต่ภายนอกอาจจะไม่
สวย ถ้าตดั เรอื่ งความสวยงามออกไปกจ็ ะประหยัดตรงนไ้ี ด้เยอะเลย

๒.๓.๒.๓ ไม่พกเงินเยอะมีเยอะก็ใช้เยอะ คาน้ีเป็นจริงแน่นอน ดังนั้นวิธีท่ีทาให้เราตัด
กเิ ลสได้ก็คอื พกเงินแคพ่ อใช้ เผอ่ื ฉุกเฉินไดน้ ดิ หนอ่ ย หมดคอ่ ยหยบิ เพิ่ม ครบอาทิตย์เราจะแปลกใจท่ีมเี งิน
เหลอื เยอะ

๒.๓.๒.๔ งดชีวิตหรูหราอ่านหนังสือไม่จาเป็นต้องไปร้านดัง ไม่จาเป็นต้องไปนั่งร้าน
กาแฟแพงๆ อา่ นทบ่ี ้านกไ็ ด้ ถ้าอยากติวหนงั สอื กับเพอ่ื นไปอ่านบ้านเพ่ือนก็ได้ อยากกินข้าวกับเพอ่ื น ก็ลด
จานวนครงั้ ที่ไปรา้ นแพงๆ ลงก็ชว่ ยให้มเี งนิ เหลอื เก็บได้

๒.๔ การศึกษา
๒.๔.๑ ความหมายของการศึกษา
การศึกษา คือ ตามความหมายที่ถูกต้อง คือความหมายท่ีตรงกับความหมายของคาใน

ภาษาอังกฤษว่า "Education" ในภาษาไทย บางครั้งคนท่ัวไปใช้คาว่าการศึกษาในความหมายท่ีคาด
เคล่ือน คือ นาไปใช้ในความหมายของ คาว่า การเรียนรู้ (Learning) และคาว่า การศึกษาค้นคว้า
(Study) ซ่ึงมีความหมายแตกต่างกัน กล่าวคือ การเรียนรู้ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผล
มาจากประสบการณ์ โดยพฤตกิ รรมที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นอาจเปลี่ยนแปลงไปในทางดีหรือทางไม่ดีก็ได้ แต่
คาว่า "การศึกษา" หมายถึงเฉพาะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีเป็นไปในทางที่ดีและสังคมยอมรับเท่านั้น
ส่วนคาว่า การศึกษาค้นคว้า หมายถึงการเสาะแสวงหรือค้นหาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาใน
อดีตถือว่า การศึกษาเกิดขึ้นได้เฉพาะในสถาบันการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย
เท่าน้ัน การศึกษาเร่ิมต้นเม่ือเข้าโรงเรียนตามอายุท่ีกาหนด และสิ้นสุดการศึกษาเมื่อออกจากโรงเรียน
ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับในช่วงการเข้าเรียนนั้นสามารถนาไปใช้ได้ตลอดชีวิต ผู้ท่ีเรียนหนังสือใน
โรงเรียนเป็นเวลานาน จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีการศึกษาสูง ส่วนคนท่ีเรียนในโรงเรียนในเพียงระยะสั้น
หรือไม่เคยเข้าโรงเรียนเลยก็ได้ชื่อว่าเป็นคนการศึกษาต่าหรือไร้การศึกษา สถานศึกษาจึงกลายเป็น
เคร่ืองมืออันหน่ึง ในการแบ่งแยกชนชั้น ซึ่งความคิดเช่นนี้ ในปัจจุบันไม่อาจใช้ได้ ท้ังน้ีเพราะสภาพสังคม
ปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้คนสามารถรับการศึกษาได้จากหลายทาง ความรู้และ
ประสบการณ์ที่เคยได้รับจากการศึกษาในโรง เรียน สามารถนาไปใช้ได้ในช่วงเวลาหน่ึงเท่านั้น เมื่อเวลา
ผ่านไปความรู้เดิมอาจไม่สามารถใช้ได้ จาเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ส่ิงต่างๆ เพ่ิมอยู่ตลอดเวลา ต่อเน่ืองไป
ตลอดชีวิต ตั้งแต่ก่อนวัยเข้าโรงเรียนหรือผ่านพ้นวัยท่ีจะต้องศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน ก็ยังจาเป็นต้อง
ไดร้ ับการศึกษาอยเู่ สมอ

๒.๔.๒ รปู แบบของการศกึ ษา
๒.๔.๒.๑ การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา

หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาท่ี

แน่นอน ซ่ึงการศึกษารูปแบบนี้จัดในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเรียก
อย่างอ่นื สามารถจัดการศึกษาในชนั้ เรียนหรือเป็นการศึกษาทางไกล

๒.๔.๒.๒ การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่ยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาการศึกษา การวัดและประเมินผลโดยคานึงถึงความเหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละบุคคล เช่น การศึกษานอกโรงเรียน
การฝกึ อบรมหลักสตู รต่างๆ

๒.๔.๒.๓ การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ด้วยตนเองตาม
ความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส สามารถศึกษาได้จากบุคคล สภาพแวดล้อม ส่ือหรือแหล่ง
การเรียนรู้ตา่ งๆ การศกึ ษาแบบนี้มีความยดื หยุ่น เปดิ โอกาสให้ผู้สนใจสามารถเลือกเนื้อหาท่ีสนใจตรงกับ
ความต้องการของตนเองและสามารถศึกษาในเวลาท่ีปลอดจากภารกิจอ่ืนได้ เช่น การฟังบรรยายพิเศษ
การศึกษาจากเอกสาร การเย่ยี มชมการสาธติ การสืบค้นขอ้ มูลจากอินเตอรเ์ นต็ หรือแหล่งเรียนรู้อ่นื ๆ

๒.๔.๒.๔ การศึกษาทางเลือกเป็นการศึกษาท่ีมีความแตกต่างจากการศึกษาในกระแส
หลัก โดยยึดความต้องการของชุมชนในท้องถนิ่ เป็นหลัก ใช้กระบวนการสอนท่ีมีความหลากหลายรูปแบบ
และหยิบยกปรัชญาการศึกษาหลายๆปรัชญาเข้ามาประยุกต์ใช้ โดยการศึกษาในรูปแบบน้ีถือได้ว่าเป็น
การศึกษาท่ีเป็นอุดมคติ และลดบทบาทของการจัดการศึกษาในรูปแบบของโรงเรียนลง สาหรับการจัด
ก ารศึ ก ษ าท างเลื อ ก น้ั น มี ท้ั งรูป แ บ บ ที่ เรีย น ใน โรงเรีย น ก ารศึ ก ษ าท างเลื อ ก โฮ ม ส คู ล
รวมไปถงึ รูปแบบอนั สคูลล่ิง

๒.๔.๓ ระดบั การศกึ ษา
๒.๔.๓.๑ ระดับปฐมวัย เป็นการจัดการศึกษาให้เด็กก่อนวัยที่ต้องศึกษาการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน โดยเป็นการวางรากฐานชีวิตเพ่ือปูพื้นฐานท่ีดีก่อนการเรียนในระดับต่อไป โดยท่ัวไปแล้วผู้ที่เข้า
ศึกษาในระดับน้ีมักมีอายุต้ังแต่ ๔ – ๘ ปี การเรียนการสอนในระดับน้ีจะเน้นการสอนท่ีเกี่ยวข้องกับ
จิตวิทยาพัฒนาการของเด็ก ซ่ึงเน้นในด้านการพัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญาและอารมณ์ของเด็ก
นอกจากนี้ยังเน้นให้เด็กเรียนรู้ทักษะต่างๆผ่านกิจกรรมการเล่นและกิจกรรมเกมส์ เพื่อเสริมสร้าง
ความสัมพันธ์ทางสังคม และเกิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเหล่านี้อีกด้วย ซ่ึงการใช้เกมส์และการเล่น ถือได้
วา่ เป็นวิธีการหลกั สาหรับสอนเด็กในระดับปฐมวัย โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั จะมจี ุดเน้นท้ังส้ิน
๒ ด้านคือ ด้านประสบการณ์สาคัญ ประกอบไปด้วย ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคมและด้าน
สติปัญญา อีกด้านหน่ึงคือสาระท่ีควรเรียนรู้ ประกอบไปด้วย เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก เร่ืองราวเก่ียวกับ
บุคคลและสถานทีร่ อบตัวเด็ก ธรรมชาติรอบตัวและสง่ิ ต่างๆรอบตัวเดก็

๒.๔.๓.๒ ระดับประถมศึกษา เป็นการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยทั่วไป
แล้วการศึกษาในระดับประถมศึกษาจะมีระยะเวลาในการเรยี นประมาณ ๕ – ๘ ปี ขึ้นอยู่กับการวางแผน

จัดการศึกษาของแต่ละประเทศ สาหรับประเทศไทยมีจัดการเรียนการสอนในระดับช้ันประถมศึกษา ๖ ปี
ต้งั แต่ในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงประถมศึกษาปที ี่ ๖ โดยผเู้ ข้าศกึ ษาในระดับประถมศึกษามกั จะมีอายุ
ประมาณ ๖ - ๗ ปี

๒.๔.๓.๓ ระดับมัธยมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัด
การศึกษาให้กับนักเรียนท่ีจบในระดับประถมศึกษามาแล้ว สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษามักจะมี
อายุประมาณ ๑๑ – ๑๘ ปี สาหรับการจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามีจุดประสงค์เพ่ือเสริมสร้าง
ความรู้และทักษะกระบวนการเฉพาะด้าน เพ่ือนาไปใช้ในการศึกษาระดับสูงต่อไป สาหรับประเทศโดย
ส่วนใหญ่แล้วการศึกษาในระดับช้ันมัธยมศึกษาถือได้ว่าเป็นการศึกษาภาคบังคับ สาหรับประเทศไทย
นักเรยี นจะต้องจบการศกึ ษาในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น จึงจะถอื ว่าจบการศึกษาภาคบังคับ อย่างไรก็
ตามหลังจากจบระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นแล้ว นักเรียนสามารถเลือกที่จะหยุดเรียนแล้วออกไป
ประกอบอาชพี หรอื เรียนตอ่ ก็ได้ ในกรณที ่เี รียนต่อจะมี ๒ ระบบให้เลือกเรียน ระหว่างสายสามัญ ซึง่ เป็น
การเรียนต่อในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีการจัดการเรียนการสอนท่ีเป็นพ้ืนฐานสาหรับการ
เรียนต่อในระดับอุดมศึกษา และสายอาชีพ ซ่ึงจะสอนเกี่ยวกับอาชีพทางด้านต่างๆ เช่น งานช่าง และ
เกษตรกรรม เป็นต้น โดยทั้งหมดน้ีรัฐบาลไทยจะเป็นผู้ดาเนินการทางด้านค่าใช้จ่ายทั่วไปจนจบระดับช้ัน
มธั ยมศึกษา

๒.๔.๓.๔ ระดับอาชีวศึกษา เป็นการศึกษาเพื่อเตรียมคนสาหรับการประกอบอาชีพใน
อนาคต ทั้งในด้านของงานช่างฝีมือ งานธุรกิจ งานวิศวกรรม และงานบัญชี โดยเป็นการศึกษาเพ่ือให้
ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานได้จริงๆ ซ่ึงแตกต่างจากการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เน้นให้มี
ความร้พู ้ืนฐานมากเพียงพอสาหรบั ศึกษาตอ่ ในระดบั มหาวทิ ยาลัย การศึกษาในระดับอาชวี ศึกษาจะเน้นให้
มกี ารฝึกงาน เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากยิ่งขึ้น สาหรับประเทศไทยเริ่มมีการจดั การเรียน
การสอนในสายอาชีพต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ โดยในสมัยนั้นเน้นจัดการเรียนการสอนทางด้าน แพทย์ ผดุง
ครรภ์ ภาษาองั กฤษ พาณชิ ยการ และครู

๒.๔.๓.๕ การศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นการศึกษาทไี่ ม่ได้บงั คับว่าต้องจบการศึกษา
ในระดับน้ี การศึกษาในระดับน้ีเป็นการศึกษาที่สูงข้ึนมาจากการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา การศึกษาใน
ระดับอุดมศกึ ษาน้ันแบ่งได้ออกเป็น ๒ ระดับคือระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับการ
จดั การศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษาเป็นหนา้ ที่ของมหาวิทยาลัยและวทิ ยาลยั เปน็ ผู้ดาเนินการ หากผู้เข้าศึกษา
ในระดับอุดมศึกษาเรยี นจบแล้วจะได้รับปรญิ ญาบตั รเปน็ สัญลกั ษณบ์ ง่ บอกถงึ การผ่านหลกั สูตรน้ันๆ

การที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้นั้นจาเป็นต้องผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อก่อน
ส่งผลให้วิธีการนี้ทาให้มีท้ังผู้ที่ได้สิทธ์ิศึกษาต่อและผู้ท่ีไม่ได้สิทธิ์ศึกษาต่อ สาหรับการศึกษาใน

ระดับอุดมศึกษามีความสาคัญมากในการสมัครงาน เพราะมักมีการกาหนดวุฒิการศึกษาขั้นต่าในระดับ
ปริญญาตรี นอกจากน้ียังมคี วามสาคญั ในการพัฒนากาลงั คนในการพฒั นาประเทศชาติอีกด้วย

๒.๔.๓.๖ การศึกษาพิเศษเป็นการจัดการศึกษาสาหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ ดังน้ัน
รัฐบาลจาเป็นต้องสนับสนุนงบประมาณและสาธารณูปโภคต่างๆเพ่ือสนบั สนุนการศึกษาในรูปแบบนี้ โดย
กลุ่มที่มีความต้องการพิเศษแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ เด็กที่มีปัญญาเลิศ ซึ่งจะเน้นการพัฒนา
ความสามารถและความถนัดเฉพาะของบุคคล อีกประเภทหนึ่งคือเด็กท่ีมีความบกพร่องทางด้านร่างกาย
หรือสติปัญญา โดยการจัดการศึกษาจะเน้นการเรียนการสอนรายบุคคล ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ใน
ห้องเรยี นปกติ รวมไปถึงพัฒนาทักษะการดารงชีวติ ให้กับผู้ท่ีมีความต้องการพิเศษให้สามารถดารงชีวิตใน
สงั คมได้

๒.๕ กจิ กรรมตลาดนัด
ตลาดนัด หมายถึง สถานท่ีซ้ือขายแลกเปล่ียนสินค้าที่ไม่ประจา พัฒนาการของตลาดนัดใน

สงั คมไทยนัน้ มมี าแต่โบราณ เป็นกจิ กรรมการซือ้ ขายแลกเปลี่ยนสินคาของผู้คนในแตล่ ะชุมชนซงึ่ ไมประจา
แต่กาหนดให้จัดข้ึนในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ไมมีกฎเกณฑท์ ่ีแนน่ อนตลาดนัดนอกจากจะมีบทบาทในฐานะ
ของแหล่งหรือสถานที่ท่ีใช้ในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการแลว ยังเป็นสถานที่ลงทุนสาหรับผู้สนใจใน
หลากหลายรูปแบบเป็นแหล่งฝึกอาชีพการค้าขาย การลงทุน การทางานตลาดและ ยังเป็นสถานท่ีท่ีรวม
ความสัมพันธ์และสรา้ งเครอื ขา่ ยทางสังคมไดอยา่ งหลากหลาย

กิจกรรมตลาดนัด หมายถึง กิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพื่อให้นักเรียนทุกคนในแผนกได้มีส่วนร่วมในการ
พัฒนาและจัดหาสินค้าท้ังท่ีจัดหามาหรือผลิตข้ึนได้ด้วยตัวเองมาจัดจาหน่ายในงานวันตลาดนัด เพื่อเป็น
การสง่ เสรมิ สินค้าของตนเองและหารายได้เพื่อนามาใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

บทท่ี ๓
วิธีการดาเนินโครงการ

บทท่ี ๓
วิธีการดาเนินโครงการ

โครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน มีวตั ถุประสงค์ (๑) เพอ่ื ส่งเสริมให้นักเรียน นกั ศึกษา
มีรายได้ระหว่างเรียนเพ่ือแบ่งเบาภาระแก่ผู้ปกครอง (๒) เพ่ือให้นักเรียนนักเรียน นักศึกษา รู้จักใช้
เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และ (๓) เพื่อให้นักเรียนนักเรียน นักศึกษา ได้รับประสบการณ์จริง
จากการทางาน

๓.๑ ข้นั ตอนการเตรยี มโครงการ
๓.๑.๑ ปรึกษาอาจารยเ์ พอ่ื จดั ทาโครงการ และสรปุ หัวขอ้ โครงการในขนั้ ต้น
๓.๑.๒ เสนอโครงการ
๓.๑.๓ วางแผนและแบง่ หนา้ ที่ของแต่ละบคุ คลภายในกลุ่ม เพอื่ การดาเนินงานทสี่ ะดวกและ

รวดเรว็
๓.๑.๔ จัดประชุมเพอ่ื ปรกึ ษาหารอื กนั เกยี่ วกบั การดาเนนิ โครงการ
๓.๑.๕ มกี ารตรวจสอบโครงการอย่างตอ่ เนอื่ งและประเมินผลโครงการ
๓.๑.๖ สรุปผลรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน

๓.๒ ประชากรและกล่มุ เป้าหมาย
ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับช้ัน ปวช.๒ – ปวส.๒ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน

๓๕๐ คน

๓.๓ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน

ดาเนินการจดั โครงการตามระยะเวลาที่กาหนด

การดาเนินการ ต.ค ระยะเวลาดาเนนิ การ ก.พ
รายงาน ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ย ธ.ค ม.ค

เสนอโครงการ

ขออนมุ ตั ิ

ดาเนนิ การ

ประเมนิ ผล

ตารางที่ ๓-๑ แสดงตารางการปฏบิ ตั งิ าน

๓.๔ เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
๓.๔.๑ เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเคร่ืองมือเชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถามที่

ผู้จัดทาโครงการสร้างขึ้นจานวน ๑ ฉบับ โดยยึดตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดในการวิจัยแบ่ง
ออกเป็น ๓ ตอน คอื

ตอนท่ี ๑ เป็นแบบสอบถามปัจจัยบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ
ระดับชน้ั

ตอนท่ี ๒ เป็นแบบสอบถาม การจัดทาโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน มี
ลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า แบ่งเป็น ๕ ระดับ โดยค่าแต่ละระดับมี
ความหมาย ดังน้ี

๕ หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมากท่สี ุด

๔ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมาก

๓ หมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง

๒ หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย

๑ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อยที่สดุ

ตอนท่ี ๓ เป็นแบบสอบถามข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงการเสริมสร้างรายได้
ระหวา่ งเรียน

๓.๔.๒ การสร้างเคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล ดงั น้ี
การสร้างเครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดทาโครงการเสริมสร้างรายได้

ระหว่างเรยี น ผู้จดั ทาโครงการไดส้ รา้ งขึ้นเอง ตามขน้ั ตอน ดงั น้ี
๓.๔.๒.๑ กาหนดโครงสร้างและขอบข่ายเน้ือหาสาระของแบบสอบถามโดยกาหนด

เนื้อหาสาระที่นามาสร้างแบบสอบถาม ให้เห็นขอบเขตของคาถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ
ครอบคลุมเร่อื งทจี่ ะศกึ ษา โดยคาแนะนาจากครูท่ปี รึกษาโครงการ

๓.๔.๒.๒ ศึกษาแนวทางทฤษฎีหลักการสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร ตารา
บทความทางวิชาการ

๓.๔.๒.๓ ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (สร้างแบบสอบถาม
ฉบับร่าง โดยเขียนข้อความให้สอดคล้องกับตัวแปรที่ศึกษาให้ครบถ้วนตามโครงสร้าง) ๕ ระดับ คือ
ระดับดมี าก ดี ปานกลาง น้อยและปรบั ปรุง

๓.๔.๒.๔ ดาเนินการสร้างแบบสอบถามขึ้นมา ให้ครอบคลุมกับการจัดทาโครงการ
ประหยัดและอดออม

๓.๔.๒.๕ ตรวจสอบคณุ ภาพแบบสอบถามเบ้อื งต้น โดยใหอ้ าจารย์ทป่ี รึกษาโครงการ
และผูเ้ ช่ียวชาญตรวจสอบพิจารณา เพ่อื ความเที่ยงตรงของเนื้อหา และความถูกตอ้ งในสานวนภาษาท่ี

ใช้ เพื่อให้คาถามครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ แล้วปรับปรุงแก้ไขตาม
คาแนะนาของครทู ปี่ รึกษา

๓.๔.๒.๖ จัดทาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ ตามคาแนะนาของครูที่ปรึกษา นามา
จัดทาแบบสอบถามฉบบั สมบรู ณ์เพ่อื นาไปใชต้ ่อไป

๓.๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูลโครงการ
๓.๕.๑ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการจัดทาโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน ซ่ึงมี

ขอ้ มูล ดงั น้ี
๓.๕.๑.๑ วิเคราะห์ข้อมูลตอนท่ี ๑ ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามโดย

แจกแจงความถี่ และการหาคา่ รอ้ ยละ
๓.๕.๑.๒ วิเคราะห์ข้อมูลตอนท่ี ๒ โดยหาค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

แลว้ นามาเทียบเกณฑ์ ต่อไปนี้
ค่ารอ้ ยละ ๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถึง ความคิดเหน็ อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด
ค่าร้อยละ ๓.๕๐ – ๔.๔๙ หมายถงึ ความคดิ เห็นอยใู่ นระดบั มาก
คา่ รอ้ ยละ ๒.๕๐ – ๑.๔๙ หมายถงึ ความคดิ เหน็ อยู่ในระดับปานกลาง
คา่ รอ้ ยละ ๑.๕๐ – ๒.๔๙ หมายถึง ความคิดเหน็ อยู่ในระดบั น้อย
คา่ รอ้ ยละ ๑.๐๐ – ๑.๔๙ หมายถงึ ความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ
๓.๕.๑.๓ วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ ๓ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อเสนอแนะของนักเรียน

เกี่ยวกับโครงการประหยัดและอดออม สรุปหาข้อมูลนามาสังเคราะห์และสรุปตามข้อเสนอแนะเพ่ือ
เปน็ แนวทางในการพฒั นาปรับปรุงและแก้ไขใหด้ ยี ่งิ ข้ึนใหก้ ับคณะผจู้ ดั ทาโครงการในคร้ังตอ่ ไป

๓.๖ สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ในการจัดทาโครงการเสริมสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออก

ได้ ดังน้ี
การหาค่าสถติ ิพื้นฐาน คอื ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานท่ีได้ โดยใชส้ ูตร ดังน้ี
๓.๖.๑ ค่าสถิตริ ้อยละ

fx100

สูตร P = n
เมื่อ P แทน คา่ รอ้ ยละ

F แทน จานวนหรือความถี่ที่ตอ้ งการหาค่าร้อยละ
N แทน จานวนข้อมูลท้ังหมด

๓.๖.๒ การหาคา่ เฉลยี่ (X)

x

สูตร N
เมื่อ X แทน คะแนนตัวกลางเลขคณิต

 แทน ผลรวมทง้ั หมดของคะแนน
N แทน จานวนคะแนนในขอ้ มูลนนั้

๓.๖.๓ การหาคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน
การวิเคราะห์ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

สตู ร S.D. = N

(Xi  X)2

i 1

N 1

S.D. แทน คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตวั อยา่ ง

 แทน ผลรวม

N แทน จานวนคนในกลมุ่ ตัวอย่าง

X แทน คา่ เฉลี่ยของกลุ่มตวั อย่าง

Xi แทน คะแนนแต่ละคา่

บทที่ ๔
การวิเคราะหข์ อ้ มลู

บทที่ ๔
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

๔.๑ ผลการดาเนินการ
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปจากการติดตามประเมินผลโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน

ผปู้ ระเมนิ ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายตามลาดับ ดังนี้ ตอนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป ตอนท่ี ๒
ความพงึ พอใจด้านตา่ งๆ ของโครงการ ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ ผู้ตอบแบบประเมิน จานวน ๕๐ คน

ตอนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป
ตารางที่ ๔-๑ การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการ
เสริมสร้างรายได้ระหวา่ งเรียน

ลาดบั ท่ี เพศ จานวน (คน) ร้อยละ

๑. ชาย ๑๓ ๒๖.๐๐

๒. หญิง ๓๗ ๗๔.๐๐
รวมท้ังสิ้น ๕๐ ๑๐๐

จากตารางที่ ๔-๑ พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ คิดเป็น
ร้อยละของผู้ท่ีเข้าร่วมโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียนดังนี้ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ ๒๖ ของ
จานวนประชากรทัง้ หมด และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ ๗๔ ของจานวนประชากรทง้ั หมด

แผนภมู แิ สดงระดบั เพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

๒๖ % ชาย
๗๔% หญิง

ภาพท่ี ๔-๑ แผนภมู แิ สดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ ๔-๒ การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงระดับช้ันของผู้ตอบแบบสอบถามที่ได้เข้าร่วมโครงการ
เสริมสรา้ งรายได้ระหวา่ งเรยี น

ลาดบั ท่ี ระดบั ชัน้ จานวน (คน) รอ้ ยละ

๑. ปวช. ๓๓ ๖๖.๐๐

๒. ปวส. ๑๗ ๓๔.๐๐

๓. ปริญญาตรี ๐ ๐

รวมทั้งสนิ้ ๕๐ ๑๐๐

จากตารางที่ ๔-๒ พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามระดับช้ัน
คิดเป็นร้อยละของผู้ท่ีเข้าร่วมโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียนดังน้ี ระดับปวช. คิดเป็นร้อยละ
๖๖ ของจานวนประชากรทั้งหมด และระดบั ปวส. คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๔ ของจานวนประชากรทงั้ หมด

แผนภูมแิ สดงระดบั ชนั้ ของผตู้ อบแบบสอบถาม

๓๔% ปวช.
๖๖% ปวส.

ภาพที่ ๔-๒ แผนภมู ิแสดงระดบั ชั้นของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางท่ี ๔-๓ การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีได้เข้าร่วมโครงการ
เสริมสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น

ลาดบั ท่ี อายุ จานวน (คน) รอ้ ยละ

๑. ๑๕-๒๐ ปี ๔๖ ๙๒.๐๐

๒. ๒๑-๒๕ ปี ๔ ๘.๐๐

รวมทั้งสน้ิ ๕๐ ๑๐๐

จากตารางท่ี ๔-๓ พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามอายุ คิดเป็น
ร้อยละของผู้ท่ีเข้าร่วมโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียนดังนี้ อายุ ๑๕-๒๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๙๒
ของจานวนประชากรทัง้ หมด และอายุ ๒๑-๒๕ ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘ ของจานวนประชากรทง้ั หมด

แผนภมู แิ สดงอายขุ องผู้ตอบแบบสอบถาม

๘% อายุ ๑๕-๒๐
๙๒% อายุ ๒๑-๒๕

ภาพท่ี ๔-๓ แผนภมู แิ สดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ ๔-๔ การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงสถานะของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีได้เข้าร่วมโครงการ
เสริมสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรียน

ลาดับที่ สถานะ จานวน (คน) รอ้ ยละ

๑. นักเรียน-นกั ศึกษา ๕๐ ๑๐๐

๒. คร-ู อาจารย์ ๐ ๐

รวมท้ังสิน้ ๕๐ ๑๐๐

จากตารางที่ ๔-๔ พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามสถานะ คิด
เป็นร้อยละของผู้ที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียนดังนี้ นักเรียน-นักศึกษา คิดเป็น
ร้อยละ ๑๐๐ ของจานวนประชากรทงั้ หมด

แผนภูมิแสดงระดบั สถานะของผตู้ อบแบบสอบถาม

๑๐๐%
นักเรียน-นักศกึ ษา

ภาพท่ี ๔-๓ แผนภมู ิแสดงสถานะของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ ของโครงการ
ตารางท่ี ๔-๕ การวเิ คราะห์ข้อมูลการแสดงระดบั ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถามท่ีได้เข้าร่วม
โครงการเสรมิ สรา้ งรายได้ระหวา่ งเรยี นดา้ นการดาเนินการ

ดา้ นการดาเนินการ

เรอ่ื งการประเมิน x S.D. ระดับความพึงพอใจ

๑.๑ สถานทีก่ ารดาเนนิ โครงการมีความเหมาะสม ๔.๗๖ ๐.๔๒ มากท่ีสดุ
มาก
๑.๒ การประชาสมั พันธ์โครงการล่วงหนา้ และทั่วถึง ๔.๓๒ ๐.๔๗ มาก
มาก
๑.๓ เวลาในการดาเนนิ โครงการมคี วามเหมาะสม ๔.๒๔ ๐.๓๔

ค่าเฉลยี่ รวม ๔.๔๔ ๐.๔๑

จากตารางที่ ๔-๕ พบว่า ระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้าง
รายไดร้ ะหวา่ งเรียน ด้านการดาเนินการในภาพรวมความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากจานวน ๓ ข้อ (x = ๔.๔๔)
ได้แก่ สถานที่การดาเนินโครงการมีความเหมาะสม (x = ๔.๗๖) การประชาสัมพันธ์โครงการล่วงหน้าและ
ท่ัวถงึ (x = ๔.๓๒) และเวลาในการดาเนินโครงการมคี วามเหมาะสม (x = ๔.๒๔)

แผนภูมิความพึงพอใจดา้ นการดาเนินการ

5.0 ๔.๗๖ ๔.๓๒ ๔.๒๔

4.0

3.0 ค่าเฉลี่ย
สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2.0

1.0 ๐.๔๒ ๐.๔๗ ๐.๓๔

0.0 ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓
ภาพท่ี ๔-๕ แผนภมู คิ วามพึงพอใจดา้ นการดาเนนิ การ

ตารางท่ี ๔-๖ การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงระดบั ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถามท่ีไดเ้ ข้ารว่ ม
โครงการเสรมิ สรา้ งรายได้ระหว่างเรยี นด้านความพงึ พอใจ

ด้านความพงึ พอใจ

เรอ่ื งการประเมิน x S.D. ระดบั ความพึงพอใจ

๒.๑ ความพร้อมของการจดั โครงการ ๓.๙๐ ๐.๖๕ มาก
มาก
๒.๒ ความนา่ สนใจในการเขา้ ร่วมโครงการ ๓.๙๔ ๐.๕๔ มาก
๒.๓ การจัดโครงการมีความราบรนื่ ๓.๙๒ ๐.๕๘ มาก

คา่ เฉลยี่ รวม ๓.๙๒ ๐.๕๙

จากตารางที่ ๔-๖ พบว่า ระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
เสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน ด้านความพึงพอใจในภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
จานวน ๓ ข้อ (x =๓.๙๒) ได้แก่ ความพร้อมของการจัดโครงการ (x =๓.๙๐) ความน่าสนใจในการ
เขา้ รว่ มโครงการ (x =๓.๙๔) และการจัดโครงการมีความราบร่ืน (x =๓.๙๒)

– 4.0 แผนภูมคิ วามพงึ พอใจดา้ นความพึงพอใจ

3.0 ๓.๙๐ ๓.๙๔ ๓.๙๒
2.0
ค่าเฉลย่ี
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

1.0 ๐.๖๕ ๐.๕๔ ๐.๕๘

0.0 ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓
ภาพท่ี ๔-๖ แผนภูมิความพึงพอใจด้านความพงึ พอใจ

ตารางที่ ๔-๗ การวเิ คราะห์ข้อมลู แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรยี นนักศกึ ษาทเี่ ข้ารว่ มโครงการ
เสริมสร้างรายได้ระหว่างเรยี นด้านผลสัมฤทธิ์

ด้านผลสมั ฤทธ์ิ

เรือ่ งการประเมิน x S.D. ระดับความพึงพอใจ
๐.๖๔ มาก
๓.๑ มรี ายได้ระหว่างเรยี นเพื่อแบ่งเบาภาระผู้ ๔.๑๐
ปกครอง ๐.๖๓ มาก
๓.๘๒ ๐.๕๗ มาก
๓.๒ ร้จู ักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๓.๖๒ ๐.๖๑ มาก
๓.๓ ไดร้ บั ประสบการณ์จริงจากการทางาน

ค่าเฉล่ยี รวม ๓.๘๔

จากตารางท่ี ๔-๗ พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
เสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิ ในภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
(x = ๓.๘๔) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า ด้านผลสัมฤทธิ์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จานวน ๑
ข้อ ได้แก่ ทาให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนเพ่ือแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง (x = ๔.๑๐) มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับปานกลางจานวน ๒ ข้อ ได้แก่ รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ (x = ๓.๘๒) และ
ไดร้ บั ประสบการณ์จริงจากการทางาน (x = ๓.๖๒)

แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านผลสัมฤทธิ์

5

4 ๔.๑๐ ๓.๘๒ ๓.๖๒

3 ค่าเฉลยี่
2 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

1 ๐.๖๔ ๐.๖๓ ๐.๕๗

0 ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓
ภาพท่ี ๔-๗ แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจด้านผลสมั ฤทธิ์

ตารางที่ ๔-๘ แสดงสรุประดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาท่ีเข้าร่วม โครงการเสริมสร้าง

รายได้ระหว่างเรยี น

เรอ่ื งประเมิน N Mean Std. ระดบั
Deviation ประเมิน

๑. ด้านดาเนินการโครงการ

๑.๑ สถานที่การดาเนินโครงการมีความเหมาะสม ๕๐ ๔.๗๖ ๐.๔๒ มากทสี่ ุด

๑.๒ การประชาสัมพนั ธ์โครงการล่วงหน้าและทว่ั ถงึ ๕๐ ๔.๓๒ ๐.๔๗ มาก

๑.๓ เวลาในการดาเนินโครงการมคี วามเหมาะสม ๕๐ ๔.๒๔ ๐.๓๔ มาก

คา่ เฉลยี่ รวม ๕๐ ๔.๔๔ ๐.๔๑ มาก

๒. ด้านความพงึ พอใจต่อโครงการ

๒.๑ ความพรอ้ มของการจัดโครงการ ๕๐ ๓.๙๐ ๐.๕๙ มาก

๒.๒ ความน่าสนใจในการเขา้ ร่วมโครงการ ๕๐ ๓.๙๔ ๐.๗๒ มาก

๒.๓ การจดั โครงการมคี วามราบร่ืน ๕๐ ๓.๙๒ ๐.๖๒ มาก

ค่าเฉลีย่ รวม ๕๐ ๓.๙๒ ๐.๕๔ มาก

๓. ดา้ นผลสัมฤทธิข์ องโครงการ

๓.๑ มรี ายไดร้ ะหวา่ งเรยี นเพ่อื แบง่ เบาภาระ ๕๐ ๔.๑๐ ๐.๖๔ มาก

ผปู้ กครอง

๓.๒ รจู้ ักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ๕๐ ๓.๘๒ ๐.๖๓ มาก

๓.๓ ไดร้ บั ประสบการณจ์ รงิ จากการทางาน ๕๐ ๓.๖๒ ๐.๕๗ มาก

คา่ เฉลี่ยรวม ๕๐ ๓.๘๔ ๐.๖๑ มาก

ค่าเฉลีย่ รวม ๕๐ ๔.๐๖ ๐.๕๒ มาก

จากตารางที่ ๔-๘ พบว่าการสรุประดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้าร่วม
โครงการเสริมสร้างรายไดร้ ะหว่างเรียน ภาพรวมความพงึ พอใจอย่ใู นระดับมาก (x = ๔.๐๖)

แผนภูมแิ สดงสรปุ ระดับความพงึ พอใจของนกั เรยี นนกั ษาที่
เขา้ รว่ มโครงการเสริมสรา้ งรายไดร้ ะหว่างเรยี น

5 ๔.๗๖

4.5 ๔.๓๒ ๔.๒๔ ๓.๙๔ ๓.๙๒ ๔.๑๐
4 ๓.๙๐
๓.๘๒ ๓.๖๒

3.5

3

2.5

2

1.5

1 ๐.๔๒ ๐.๗๔ ๐.๖๕ ๐.๕๔ ๐.๕๘ ๐.๖๔ ๐.๖๓ ๐.๕๗
0.5 ๐.๓๔

0 ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓

คา่ เฉลีย่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ภาพท่ี ๔-๘ แผนภูมแิ สดงสรปุ ระดบั ความพึงพอใจของนักเรยี นนักศึกษาท่เี ขา้ รว่ ม
โครงการเสริมสร้างรายได้ระหวา่ งเรยี น

บทที่ ๕
การอภปิ รายผล สรุปผล

และข้อเสนอแนะ

บทท่ี ๕
สรุปผล การอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

๕.๑ สรปุ ผลการดาเนนิ โครงการ
๕.๑.๑ วัตถุประสงค์
๕.๑.๑.๑ เพ่ือส่งเสริมใหน้ ักเรียน นักศึกษา มีรายได้ระหว่างเรียนเพื่อแบ่งเบาภาระ
แกผ่ ูป้ กครอง
๕.๑.๑.๒ เพอื่ ใหน้ กั เรียนนักเรยี น นักศกึ ษา รู้จักใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์
๕.๑.๑.๓ เพอ่ื ให้นกั เรียนนกั เรยี น นกั ศึกษา ไดร้ ับประสบการณจ์ รงิ จากการทางาน
๕.๑.๑.๔ เพื่อใหน้ ักเรยี นนกั ศึกษาสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

๕.๑.๒ ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
๕.๑.๒.๑ นกั เรยี น นักศึกษา มีรายไดร้ ะหว่างเรยี นเพื่อแบง่ เบาภาระผปู้ กครอง
๕.๑.๒.๒ นกั เรยี น นกั ศึกษา รู้จักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์
๕.๑.๒.๓ นักเรียน นักศกึ ษา ไดร้ ับประสบการณจ์ รงิ จากการทางาน
๕.๑.๒.๔ นกั เรียนนักศกึ ษาไดน้ าไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

๕.๑.๓ กลมุ่ เป้าหมาย
๕.๑.๓.๑ เชิงปริมาณ
นักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

จานวน ๓๕๐ คน
๕.๑.๓.๒ เชิงคุณภาพ
นักเรยี น นักศกึ ษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีรายได้ระหว่างเรยี นเพื่อ

แบ่งเบาภาระใหแ้ กผ่ ู้ปกครอง

๕.๑.๔ เครอ่ื งมอื ใชใ้ นการสรา้ งความพงึ พอใจ
จัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน โดย

แบบสอบถามประกอบดว้ ย ๓ ส่วน
๕.๑.๔.๑ ส่วนที่เป็นข้อมูลเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นคาถามเก่ียวกับข้อมูล

ส่วนตัว ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานะและระดับชน้ั มีจานวน ๔ ขอ้

๕.๑.๔.๒ ส่วนท่ีเป็นข้อมูลเก่ียวกับศักยภาพที่ต้องการให้ผู้กรอกแบบสอบถาม

ประเมินความพึงพอใจ ซึ่งประกอบด้วย ๓ ด้าน คือ ด้านการดาเนินการ ด้านความพึงพอใจและด้าน

ผลสัมฤทธ์ิ โดยให้ผกู้ รอกแบบสอบถามเลือกเพียงคาตอบเดียวในแต่ละคาถามจาก มากที่สุด ถึง น้อย

ทส่ี ดุ ซึง่ เกณฑ์การใหค้ ะแนนเปน็ ดังนี้

มากทส่ี ดุ ๕ คะแนน

มาก ๔ คะแนน

ปานกลาง ๓ คะแนน

น้อย ๒ คะแนน

นอ้ ยทสี่ ุด ๑ คะแนน

๕.๑.๔.๓ ส่วนท่ีเป็นข้อมูลเสนอแนะทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามมีลักษณะเป็น

คาถามปลายเปิด

๕.๑.๕ การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การดาเนินโครงการคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างนิสัยการสร้างอาชีพหารายได้

เสริมให้กับนักเรียนและให้นักเรียน ซึ่งให้นาหลักการน้ีไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันของนักเรียน
ระดบั ชัน้ สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ รวมทง้ั สิน้ จานวน ๓๕๐ คน

ในการประเมินครั้งน้ีได้กลุ่มประเมินจากการเข้าร่วมโครงการ เสริมสร้างรายได้
ระหว่างเรียนและให้กลุ่มประเมินทาแบบประเมิน การจัดดาเนินโครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่าง

เรยี นและนาแบบประเมนิ ท่ีไดไ้ ปหาประสทิ ธิภาพโดยใชก้ ารหาค่าเฉลย่ี (x) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.)

๕.๑.๖ อภปิ รายผลการประเมิน
จากการประเมินความพึงพอใจ โครงการเสรมิ สรา้ งรายได้ระหวา่ งเรยี น สามารถสรุป

ผลไดด้ งั น้ี
๕.๑.๖.๑ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าเป็นเพศหญิง จานวน ๓๗ คน

คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗๔ เพศชาย จานวน ๑๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๖ ของจานวนนกั เรยี นทง้ั หมด ระดบั ชัน้
ปวช. จานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๖ ของจานวนนักเรียนทั้งหมด และระดับช้ันปวส.
จานวน ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๔ ของจานวนนักเรียนทั้งหมด มีอายุ ๑๕ – ๒๐ ปี จานวน ๔๖ คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๒ ของจานวนนักเรยี นทงั้ หมด และมอี ายุ ๒๑ – ๒๕ ปี จานวน ๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
๘ ของจานวนนักเรียนท้ังหมด มีสถานะเป็นนักเรียน-นักศึกษา ท้ังสิ้น ๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
ของจานวนนักเรียนท้งั หมด

๕.๑.๖.๒ ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการดาเนินโครงการเสริมสร้างรายได้
ระหว่างเรียน ซงึ่ ประกอบไปด้วย ๓ ด้าน คอื ด้านการดาเนินโครงการ ด้านความพึงพอใจตอ่ โครงการ

และด้านผลสมั ฤทธขิ์ องโครงการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก (x= ๔.๐๖) และเมอ่ื พิจารณาเป็นราย
ดา้ นปรากฏผลดงั น้ี

(๑) ด้านการดาเนินงาน ระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาท่ีเข้าร่วม
โครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน ด้านการดาเนินการในภาพรวมอยู่ในระดับมากจานวน ๓ ข้อ
(x = ๔.๔๔) ได้แก่ สถานที่การดาเนินโครงการมีความเหมาะสม (x = ๔.๗๖) การประชาสัมพันธ์โครงการ
ล่วงหนา้ และทวั่ ถึง (x = ๔.๓๒) เวลาในการดาเนินโครงการมีความเหมาะสม (x = ๔.๒๔)

(๒) ด้านความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้า
รว่ มโครงการเสริมสรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรียน ดา้ นความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลางจานวน
๓ ข้อ (x =๓.๙๒) ได้แก่ ความพร้อมของการจัดโครงการ (x =๓.๙๐) ความน่าสนใจในการเข้าร่วม
โครงการ (x =๓.๙๔) การจัดโครงการมีความราบรน่ื (x =๓.๙๒)

(๓) ด้านผลสัมฤทธ์ิ ระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาท่ีเข้าร่วม
โครงการเสริมสร้างรายได้ระหว่างเรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ ในภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง (x = ๓.๘๔)
เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ด้านผลสัมฤทธิ์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จานวน ๑ ข้อได้แก่ ทาให้
นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนเพื่อแบ่งเบาภาระผู้ปกครอง (x = ๔.๑๐) และมีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับปานกลางจานวน ๒ ข้อไดแ้ ก่ รจู้ ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ (x = ๓.๘๒) ได้รับประสบการณ์
จริงจากการทางาน (x = ๓.๖๒)

๕.๑.๗ สรุปผลการอภิปราย
๕.๑.๗.๑ ในการศึกษาข้อมูลท่ัวไปพบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีตอบแบบสอบถาม ส่วน

ใหญ่ พบว่าเป็นเพศหญิง จานวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๔ และเพศชาย จานวน ๑๓ คน คิดเป็น
ร้อยละ ๒๖ ของจานวนนักเรียนทั้งหมด ระดับชั้น ปวช. จานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๖ และ
ระดับช้ัน ปวส. จานวน ๑๗ คน คิดป็นร้อยละ ๓๔ ของจานวนนักเรียนท้ังหมด มีอายุ ๑๕ – ๒๐ ปี
จานวน ๔๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒ และมีอายุ ๒๑ – ๒๕ ปี จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘ ของ
จานวนนักเรียนทั้งหมด มีสถานะเป็นนักเรียนนักศึกษาทั้งส้ิน ๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของ
จานวนนักเรียนทงั้ หมด

๕.๑.๗.๒ จากการศึกษาข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการ ในด้านการ
บริหารโครงการ การจัดทาโครงการและประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการรว่ มโครงการ รวม ๓ ดา้ น โดยรวม
นักศกึ ษามคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก

๕.๒ ขอ้ เสนอแนะ
๕.๒.๑ ด้านการดาเนินการโครงการ ควรมกี ารประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเป็นทางการและ

มกี ารประสานงานให้ดีย่ิงขน้ึ
๕.๒.๒ ด้านความพึงพอใจต่อโครงการ อยากให้มีการประชาสัมพันธ์ท่ีทาให้น่าสนใจย่ิงขึ้น

และควรมีเวลาใหฝ้ ากเงนิ มากกวา่ น้ี
๕.๒.๓ ด้านผลสัมฤทธขิ์ องโครงการ ควรจะมีการอธบิ ายเรื่องหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ให้มากขนึ้



๒๖

บรรณานุกรม

สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ วนั ที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/sukhsuksam วันที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สบื คน้ จาก https://www.apple.com/th/education/ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

สบื คน้ จาก http://www.moe.go.th/hp-vichai/ex-prb05-3.htm วันที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สืบค้นจาก https://www.im2market.com/2015/11/28/2103 วันที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สืบค้นจาก http://marketeer.co.th/archives/60168 วนั ท่ี ๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สืบค้นจาก https://www.ibm.com/support/knowledgecenter วนั ท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/344761 วนั ที่ ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สบื คน้ จาก http://www.shawpat.or.th/index.php?option=com วันท่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

ภาคผนวก ก
ประวตั ิผจู้ ัดทา

ประวตั ิผู้จัดทำ

ประวตั ิส่วนตวั
ช่ือ-นามสกลุ : นางสาวสทุ ธิษา นายงค์ ชอื่ เลน่ : นงิ้
วนั /เดอื น/ปเี กดิ : วันจันทร์ ท่ี ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๐ อายุ : ๒๑ ปี
ท่อี ยู่ปัจจบุ นั : ๑/๑๓๔ ต.ปากนา้ อ.เมอื ง จ.ระยอง ๒๑๐๐๐
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๖๒-๓๔๖-๔๐๖๔
E-mail : [email protected]

ประวัตกิ ำรศกึ ษำ : วิทยาลัยเทคนิคระยอง (ก้าลังศึกษาอย่)ู
ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) : โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ
ระดับมธั ยมศึกษา

ประวัติส่วนตวั
ชื่อ-นามสกุล : นางสาวฉนั ทกิ า ชลศิริ ช่ือเล่น : แคท
วนั /เดอื น/ปีเกิด : วันอาทิตย์ ที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๔ อายุ : ๑๗ ปี
ทอี่ ยูป่ ัจจุบนั : ๑๐๘ หมู่ ๗ ต.เพ อ.เมอื ง จ.ระยอง ๒๑๑๖๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๙๙-๐๙๔๘๖๒
E-mail : [email protected]

ประวตั กิ ำรศกึ ษำ : วิทยาลยั เทคนิคระยอง (ก้าลังศกึ ษาอย่)ู
ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) : โรงเรียนวดั ในไร่
ระดบั มธั ยมศึกษา

ประวัติส่วนตวั
ช่ือ-นามสกลุ : นางสาวปณฐั ศญา เพ็งฤทธิ์ ชือ่ เล่น : นา้ หวาน
วนั /เดอื น/ปีเกดิ : วนั เสาร์ ที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ ๒๕๔๓ อายุ : ๑๘ ปี
ทอ่ี ยปู่ ัจจบุ นั : ๘๙/๗๓ วนารมย์ วลิ เลจ ซ.ราษฎร์นยิ ม ถ.โขดหิน-เขาไผ่ ต.เนินพระ
อ.เมือง จ.ระยอง ๒๑๐๐๐
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๖๑-๖๘๖-๓๑๓๗
E-mail : -

ประวัติกำรศกึ ษำ : วิทยาลัยเทคนิคระยอง (ก้าลังศกึ ษาอย่)ู
ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) : โรงเรยี นบ้านค่าย
ระดับมัธยมศึกษา

ประวัติส่วนตัว
ชอ่ื -นามสกุล : นายธวุ วชิ นามงาม ชอื่ เลน่ : เกมส์
วัน/เดือน/ปเี กดิ : วนั องั คาร ท่ี ๒๗ มนี าคม พ.ศ.๒๕๔๔ อายุ : ๑๘ ปี
ที่อยปู่ จั จุบัน : ๘๑ ต.ตะพง อ.เมือง จ.ระยอง ๒๑๐๐๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๙๖-๔๔๐-๗๑๙๕
E-mail : [email protected]

ประวตั กิ ำรศึกษำ : วิทยาลัยเทคนิคระยอง (กา้ ลังศกึ ษาอย่)ู
ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) : โรงเรียนวัดตะพงนอก
ระดบั มัธยมศึกษา

ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-นามสกลุ : นายพธุ สวรรค์ กล่องพนก ช่ือเล่น : พธุ
วนั /เดอื น/ปีเกิด : วนั จันทร์ ท่ี ๑๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ : ๑๘ ปี
ท่ีอย่ปู จั จบุ ัน : ๓๓/๖ ต.กะเฉด อ.เมือง จ.ระยอง ๒๑๑๐๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๙๗-๒๔๗๐๔๗๗
E-mail : [email protected]

ประวตั กิ ำรศึกษำ : วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง (ก้าลังศกึ ษาอยู่)
ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) : โรงเรียนวัดแกลงบน
ระดบั มัธยมศึกษา

ประวตั สิ ่วนตวั
ช่ือ-นามสกลุ : นายหนุ่ม ไห่ทอง ชือ่ เลน่ : เตอร์
วัน/เดอื น/ปีเกดิ : วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ : ๑๘ ปี
ที่อย่ปู จั จบุ นั : ๔/๑๐๐ หมบู่ า้ นดวงฤทัย ต.เนนิ พระ อ.เมือง จ.ระยอง ๒๑๑๕๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๙๖-๘๔๙-๒๙๑๒
E-mail : [email protected]

ประวัตกิ ำรศึกษำ : วิทยาลยั เทคนิคระยอง (กา้ ลังศกึ ษาอย่)ู
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) : โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พิทยาคาร
ระดบั มัธยมศึกษา

ประวัติส่วนตวั
ชือ่ -นามสกุล : นายธีรพงษ์ เขตรมั ย์ ชื่อเล่น : น็อต
วัน/เดอื น/ปเี กดิ : วนั อาทติ ย์ ที่ ๒๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ : ๑๘ ปี
ที่อยูป่ ัจจบุ ัน : ๔/๑๐๐ หมูบ่ า้ นดวงฤทยั ต.เนินพระ อ.เมอื ง จ.ระยอง ๒๑๑๕๐
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙๕-๒๔๙-๕๐๙๔
E-mail : [email protected]

ประวตั กิ ำรศึกษำ : วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง (ก้าลงั ศกึ ษาอย่)ู
ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) : โรงเรยี นวดั ปา่ ประดู่
ระดบั มัธยมศึกษา

ประวัติส่วนตวั
ชื่อ-นามสกุล : นายศิรสิทธิ์ จวงจอง ชอ่ื เลน่ : เค
วัน/เดอื น/ปีเกดิ : วนั องั คาร ท่ี ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๙ อายุ : ๒๒ ปี
ทอี่ ยูป่ ัจจุบัน : ๑๐๙ ถ.รมิ น้า ต.เชงิ เนิน อ.เมือง จ.ระยอง ๒๑๐๐๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๖๔-๑๑๓-๒๙๘๙
E-mail : [email protected]

ประวตั กิ ำรศกึ ษำ : วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง (กา้ ลงั ศึกษาอย่)ู
ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) : โรงเรยี นระยองวิทยาคมปากน้า
ระดบั มัธยมศึกษา

ประวัตสิ ่วนตัว
ช่อื -นามสกุล : นายธนาวธุ วารีย์ ชือ่ เล่น : ปอ
วนั /เดอื น/ปเี กิด : วันอาทิตย์ ที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๒ อายุ : ๑๙ ปี
ทอ่ี ยูป่ ัจจบุ นั : ๑๖๑/๕ หมู่ ๕ ต.ชากพง อ.แกลง จ.ระยอง
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘๐-๔๗๑-๗๖๘๙
E-mail : [email protected]

ประวตั กิ ำรศกึ ษำ : วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง (ก้าลังศึกษาอย่)ู
ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) : โรงเรยี นเพรกั ษามาตาวิยา
ระดับมธั ยมศึกษา

ประวตั สิ ่วนตวั
ชื่อ-นามสกลุ : นางสาวอภิชญา แจม่ ศรี ชื่อเล่น : แกม้
วัน/เดือน/ปีเกดิ : วันอาทิตย์ ท่ี ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๓ อายุ : ๑๘ ปี
ที่อย่ปู ัจจุบนั : ๔๒/๑ ม.๑ ต.หนองไร่ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง ๒๑๑๔๐
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๘๐-๔๗๑-๗๖๘๙
E-mail : [email protected]

ประวัตกิ ำรศึกษำ : วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง (ก้าลังศกึ ษาอย่)ู
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) : โรงเรียนบา้ นคา่ ย
ระดบั มัธยมศึกษา

ประวัติส่วนตัว
ชอ่ื -นามสกลุ : พสิ ฐิ พงศ์ พสิ ฐิ แก้วเพชร ชื่อเล่น : โฟรโ์ มสต์
วนั /เดือน/ปเี กดิ : วนั ท่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๔ อายุ : ๑๘ ปี
ทีอ่ ยูป่ ัจจุบัน : ๖๑ ถ.หลงั วัดปา่ ประดู่ ต.ทา่ ประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๘๙-๒๕๐-๐๗๐๗
E-mail : [email protected]

ประวัติกำรศึกษำ : วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง (ก้าลงั ศกึ ษาอยู่)
ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) : ระยองวิทยาคม
ระดบั มัธยมศึกษา


Click to View FlipBook Version