The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนบทที่ ๓ ป่านี้มีคุณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการสอนบทที่ ๓ ป่านี้มีคุณ

แผนการสอนบทที่ ๓ ป่านี้มีคุณ

ภาษาพาที ช้นั ป.๓

๕ เกณฑ์การประเมิน ( Rubric ) สร้างกฎของการประเมิน ครูจัดทำ

๖ แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม ประเมินผลงานรายกลมุ่ ครจู ดั ทำ

๗ แบบประเมินการสังเกต บนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม และ ครูจดั ทำ

พฤติกรรม และแบบ บนั ทึกผลงานรายบุคคล

ประเมนิ ผลงานรายบุคคล

วดั ผลประเมนิ ผล

กจิ กรรมทปี่ ระเมิน เครื่องมือทใี่ ช้ใน วธิ กี ารประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน
การประเมนิ
๑. สงั เกตพฤติกรรมด้าน สังเกตรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
คณุ ลักษณะอันพึง แบบประเมินการสงั เกต ๖ – ๗ = ดี
ประสงค์ พฤติกรรม และแบบ ๕ = พอใช้
ประเมินผลงาน ตำ่ กวา่ ๕ = ปรับปรุง

๒. การเขียนตามคำบอก แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดมี าก
พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
๓. นักเรียนทำใบงาน ประเมนิ ผลงาน
ชุดที่ ๑๐ ๕ = พอใช้
แบบประเมนิ การสังเกต
๔. นักเรยี นทำใบงาน พฤติกรรม และแบบ ต่ำกวา่ ๕ = ปรับปรุง
ชุดท่ี ๑๑ ประเมินผลงาน
ตรวจงานรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
๕. นักเรยี นทำใบงาน แบบประเมินการสงั เกต ๖ – ๗ = ดี
ชุดท่ี ๑๒ พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้

แบบประเมนิ การสงั เกต ตำ่ กว่า ๕ = ปรับปรุง
พฤติกรรม และแบบ
ประเมนิ ผลงาน ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๖ – ๗ = ดี

๕ = พอใช้

ตำ่ กวา่ ๕ = ปรับปรุง

ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
๖ – ๗ = ดี

๕ = พอใช้

ตำ่ กว่า ๕ = ปรับปรุง

การประเมิน ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารให้ระดบั คะแนน

ทกั ษะการ สรุป ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ (๐)
เนือ้ หา
สรุปเนื้อหาได้กระชับ สรุปเนื้อหาได้กระชบั สรุปเนอ้ื หาได้ไม่กระชบั
การรายงานหนา้ ช้ัน
ใจความครบถ้วน ใจความเกือบครบถ้วน ใจความและไม่ครบถ้วน
การปฏบิ ตั ิงานตาม
ข้ันตอน สามารถส่ือใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ สามารถสอ่ื ให้ผู้อน่ื เข้าใจ สามารถสอ่ื ใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจ
ความคิดสรา้ งสรรค์
ความเป็นระเบียบ ไดง้ า่ ย ได้ ได้นอ้ ย
เรียบรอ้ ยของการทำ
ใบงาน สามารถพดู รายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานได้ดี สามารถพดู รายงานไดด้ ี
พูดเสยี งดังฟังชัด ได้สาระ พดู นำ้ เสยี งชดั เจน พูดน้ำเสยี งไม่ชัดเจน ไม่
ชัดเจน วางบุคลกิ ในการ สอดคล้องกบั เนื้อหาท่ี คอ่ ยสอดคล้องกับเน้ือหา
พูดได้ดีมาก พดู วางบคุ ลิกในการพดู ท่ีพดู วางบคุ ลกิ ในการ
ไดด้ ี พูดไม่ค่อยดี

มีทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน มีการปฏบิ ตั ิงานตาม ยงั ไมส่ ามารถปฏิบัติงาน
ตามขัน้ ตอน ได้อย่าง ขน้ั ตอนได้ตามลำดับ ตามข้นั ตอนได้
ถูกต้องและเหมาะสม

มีความคดิ สร้างสรรค์ดี พอมีความคิดท่ี ยงั ขาดความคิดท่ี
สร้างสรรค์อยู่บ้าง สรา้ งสรรค์

มีทักษะสามารถสรา้ งงาน สามารถสร้างงานที่สวน ไม่มีความสวยงาม และ
ทส่ี วยงาม และมีความ งามพอใชไ้ ด้ และมี ไม่ประณีต
ประณตี ดี ความประณตี ในบางส่วน

การประเมนิ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การใหร้ ะดบั คะแนน
ซื่อสัตย์สจุ ริต
มวี ินัย ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ (๐)

ใฝเ่ รียนรู้ ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง
อยู่อยา่ งพอเพยี ง
มีจิตสาธารณะ ตรงไปตรงมา ยอมรับ ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่

ในขอ้ ผิดพลาดและ ยอมรับในขอ้ ผดิ พลาด ยอมรับในขอ้ ผดิ พลาด

บกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง และบกพรอ่ งของตนเอง

พอใจในสง่ิ ทต่ี นมี พอใจในสิ่งที่ตนมี ไมค่ ่อยพอใจในสิง่ ทีต่ นมี

รูจ้ กั ควบคมุ อารมณ์ รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ บ้าง ไม่ร้จู กั ควบคุมอารมณ์

ปฏบิ ัตติ นอย่ใู นระเบยี บ ปฏบิ ัติตนอยู่ในระเบยี บ ปฏิบัตติ นอยู่ในระเบยี บ

วินัย แตง่ กายถูกต้อง วินยั การแตง่ กายไม่ วินยั นอ้ ย ไม่ค่อยแต่ง

ตามระเบยี บของ ค่อยถูกต้องตามระเบยี บ กายถูกตอ้ งตามระเบียบ

โรงเรียนตลอดเวลา ของโรงเรยี น ของโรงเรยี น

มีความมานะมุ่งมัน่ ใน มีความมานะมุง่ มั่นใน ไมม่ ีความมานะมงุ่ มัน่ ใน
การทำงานที่ไดร้ ับ การทำงานทไี่ ด้รบั การทำงานท่ไี ด้รับ
มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ไมค่ ่อย
คน้ คว้าดว้ ยตนเอง ค้นควา้ ดว้ ยตนเองเปน็ ศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง
ทำงานเสร็จทันเวลาและ บางครงั้ ทำงานเสร็จ ทำงานเสร็จไม่ทนั เวลา
ถกู ต้อง ทันเวลาเป็นบางคร้งั

ใช้วสั ดอุ ุปกรณ์การเรยี น ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์การเรยี น ใชว้ ัสดอุ ปุ กรณก์ ารเรยี น
ทีร่ าคาถูกและใช้อยา่ ง ที่ราคาค่อนขา้ งแพงและ ท่รี าคาค่อนข้างแพงและ
คุม้ คา่ ใชจ้ นหมดแล้ว ใชอ้ ยา่ งคุ้มค่าใชจ้ นหมด ใชอ้ ยา่ งคุ้มค่าใช้ไม่
ค่อยซ้ือใหม่ หมดแล้วซ้อื ใหม่

มีความเสียสละเพื่อ มีความเสียสละเพ่ือ ไม่ค่อยเสียสละเพอื่
สว่ นรวม ไม่เอาเปรียบ ส่วนรวมเป็นบางครั้ง สว่ นรวม ชอบเอาเปรยี บ
ไม่เหน็ แก่ตัวช่วยเหลอื ไมเ่ อาเปรียบไม่เห็นแก่ คนอื่น ค่อนขา้ งเหน็ แก่
หมู่คณะได้เปน็ อย่างดี ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือหมู่ ตวั ไม่ค่อยช่วยเหลอื หมู่
คณะ คณะ

ใบความรู้

เรอ่ื ง มาตราตัวสะกด แม่ เกอว

มาตรา เกอว หรือทเี่ รียกวา่ แม่ เกอว คือมาตราทมี่ ีพยัญชนะ ว เปน็ ตวั สะกด และจะออกเสยี ง
เป็น ตัว “ว”คำทม่ี ี ว เปน็ ตวั สะกด เปน็ คำในมาตรา เกอว หรือ แม่ เกอว
ประโยคที่มคี ำในแม่ เกอว

• โต้งชอบกินไข่เจยี ว
• เด็ก ๆ ใชก้ าวติดกระดาษ
• น้องทำแก้วแตก
• หนูนิดทำการบา้ นเสร็จแลว้
• คุณพ่อพาลกู ๆ ไปเทย่ี วชายทะเล
คำที่มี ว สะกดเป็นคำในมาตราแม่ เกอว

กาว อ่านวา่ กอ –อา – วอ – กาว
ขาว อา่ นว่า ขอ –อา – วอ – ขาว
หวิ อา่ นวา่ หอ – อิ – วอ – หิว
สวิ อา่ นวา่ สอ – อิ – วอ – สงิ
เรว็ อ่านว่า รอ –เอ – วอ – เรว็
แถว อา่ นว่า ถอ –แอ – วอ – แถว
เดียว อา่ นวา่ ดอ –เอยี – วอ – เดียว

มาตราตวั สะกด แม่ เกย
มาตราเกย หรือท่เี รยี กว่า แมเ่ กย คอื คำหรือพยางค์ ทม่ี ี ย เปน็ ตวั สะกด เช่น สาย

เนย กล้วย ฯลฯ ยกเว้น คำ หรือพยางค์ท่ีเขยี นดว้ ย สระ เ -ี ย ไม่ใช่คำหรือพยางคท์ ี่มีตัวสะกดในแม่
เกย เชน่ เสีย เปยี ก เรียก

ตัวอย่างคำท่สี ะกดด้วยแม่ เกย
สวย ชาย เลย หอย ภยั เลอื่ ย
ด้าย โดย หนว่ ย ทุย ฯลฯ

ตัวอย่างประโยคท่ีมีตัวสะกดแม่ เกย
- ยายขายใบเตย
- ควายกินหญ้า
- เด็กชายหลายคนวา่ ยนำ้

เรอ่ื ง มาตราตวั สะกด แม่ กม

ตวั สะกดในมาตรา แม่ กม คือคำในภาษาไทย
ทสี่ ะกดดว้ ยตัว ม เพยี งตัวเดียว เป็นตวั สะกดท่ตี รงตามมาตราเพราะไม่สามารถเอาพยัญชนะ
ตวั อ่ืนมาเปน็ ตวั สะกดแทนได้ คำที่มี ม เป็นตวั สะกดหรือคำในมาตรา แม่ กม เชน่

ตวั อยา่ ง ประโยคทม่ี คี ำในแม่ กม
• ดอกลน่ั ทมมกี ล่ินหอม และมีสีสวยงาม
• คณุ แม่ทำขนมให้คุณพ่อลองชิม
• ลมพัดแรงจนตน้ ไมห้ ักโคน่
• เขาปลูกกระท่อมทรี่ ิมแมน่ ้ำ
• คณุ ตาชอบด่ืมน้ำชาหลังจากรับประทานอาหาร

คำทีม่ ี ม สะกด เปน็ ตวั สะกดในมาตราแม่ กม ออกเสียงเหมือน ม
จม อา่ นว่า จอ –โอะ –มะ – จม
ขม อ่านวา่ ขอ –โอะ –มอ – ขม
ตาม อ่านวา่ ตอ –อา –มอ –ตาม
จาม อ่านวา่ จอ –อา –มอ –จาม
มมุ อ่านว่า มอ –อุ –มอ –มุม
โสม อา่ นว่า สอ –โอ –มอ –โสม
แบบฝกึ อา่ นมาตราแม่ กม
มีดคม จมนำ้ ตรอมตรม
สามสี มะยม ขนมหวาน
สนาม แมงมุม รม่ สวย
ซ่อมแซม เสียงคม กลมกล่อม

ใบงาน ชุดที่ ๑๐

คำชแ้ี จง บัตรคำถกู แบ่งเป็น ๒ ชน้ิ ใหน้ กั เรยี นจับคู่เช่ือมบตั รคำเขา้
ดว้ ยกนั ดว้ ยการโยงเสน้

ชื่อ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

ใบงาน ชุดท่ี ๑๑ คำ

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นหาคำตอบของข้อความตอ่ ไปน้ี และต้อง
เปน็ คำในมตี วั สะกดใน แม่ เกอว

ที่ ความหมาย
๑ สีที่ตรงข้ามกับสีดำ
๒ การยนื รอโดยเรยี งลำดับมาก่อนมาหลัง
๓ นกชนิดหนึง่ สามารถพดู ภาษาคนได้
๔ ผลไม้ชนิดหนงึ่ ผิวเกลย้ี ง ลูกกลม รสเปรี้ยว
๕ อวยั วะสว่ นทต่ี อ่ จากมือ ใชห้ ยบิ จบั
๖ ภาชนะท่ีใชใ้ ส่เครอ่ื งดื่ม ทำจากทรายแตกหักง่าย
๗ สตั วช์ นดิ หนง่ึ คล้ายนก เวลานอนหอ้ ยศรี ษะลงดิน
๘ สตั วส์ ี่เท้า ชอบกินปลา มสี ีข่ า คนเลีย้ งไวด้ ูเลน่
๙ ผลไมช้ นิดหนงึ่ คนนิยมนำมาทำเปน็ กะทิ
๑๐ ข้าวที่คนในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื สว่ นใหญร่ ับประทาน

ชื่อ.................................................................เลขที่ ..................... ช้ัน...............

ใบงาน ชุดท่ี ๑๒

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนหาคำที่มีตัวสะกดแม่ เกย ในตน้ ไม้แลว้ ระบายสี
แต่งเติมใหส้ วยงาม

ช่ือ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

๑. สขี าว เฉลยใบงาน ชุดท่ี ๑๑
๓. นกแก้ว
๕. นิว้ ๒. เขา้ คิว
๗. คา้ งคาว ๔. มะนาว
๙. มะพร้าว ๖. แกว้
๘. แมว
๑๐. ข้าวเหนียว

เฉลยใบงาน ชุดที่ ๑๒

แบบบันทกึ ผลการประเมนิ การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓
ชุดภาษาพาที บทท่ี ๓ ปา่ น้ีมีคณุ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๖ มาตราตวั สะกด แม่เกอว แมก่ ม

แมเ่ กย

เลข ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านผลงาน
ท่ี
รักความเป็นไทย
ชื่อ – สกลุ ใฝ่เรียนรู้
ีม ิจตสาธารณะ
ีม ิวนัย
อยู่อย่างพอเ ีพยง
รวมคะแนน ้ดานคุณ ัลกษณะ ฯ
การทำใบงาน ุชด ่ีท ๑๐ – ๑๑
การทำใบงาน ุชด ่ีท ๑๒

รวม
่ผาน / ไ ่ม ่ผาน

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๒๐ ๑๐ ๔๐

๑ ๓ หมายถงึ ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๓๕ – ๔๐ = ๓








๑๐
ความหมายระดับคณุ ภาพ

๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๔ = ๒

๑ หมายถึง ปรบั ปรุง ๑๐ – ๒๔ = ๑

เกณฑ์การผ่าน ไดค้ ะแนน ๑ ขนึ้ ไป

ลงช่ือ...........................................ผปู้ ระเมนิ

( .............................................. )

แผนการจดั การเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนท่ี ๗

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
บทที่ ๓ ป่ านมี้ ีคุณ เวลา ๙ ช่ัวโมง
หัวข้อเรื่อง มาตรตัวสะกด แม่กก และแม่กด เวลา ๑ ช่ัวโมง
วันที่ ....................................... ผ้ใู ช้แผน ......................

สาระท่ี ๔ หลกั ภาษา
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ

พลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของ
ชาติ
๑. สาระสำคญั
๑.๑ ความคดิ รวบยอด
มาตราตวั สะกดมาตราแม่ กก ได้แก่คำทม่ี ตี ัว ก สะกด ซ่ึงเรียกวา่ เป็นตัวสะกดตรงตาม
มาตรา และมีพยญั ชนะอนื่ ทอ่ี อกเสียงเหมือน ก สะกด ซ่งึ เรียนว่าตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
แม่ กด คอื พยางคท์ ี่ออกเสียงเหมือนมีตวั “ ด” สะกด มีตวั สะกดที่ไมต่ รงมาตราทั้งหมด ๑๖
ตวั คือ จ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส

๑.๒ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

๒. ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๓ / ๑ เขยี นสะกดคำและบอกความหมายของคำ

๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๓.๑ บอกพยญั ชนะท่ีใชเ้ ปน็ ตวั สะกดในมาตรา แม่กก และ แม่กด ได้
๓.๒ บอกคำทมี่ ตี วั สะกดในมาตรา แม่กก และ แมก่ ด ได้
๓.๓ บอกส่วนประกอบคำในมาตรา แมก่ ก และ แมก่ ด ได้

๔. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๔.๑ รกั ความเปน็ ไทย
๔.๒ ใฝเ่ รียนรู้
๔.๓ มีจติ สาธารณะ
๔.๔ มีวินยั
๔.๕ อยอู่ ยา่ งพอเพียง

๕. สาระการเรยี นรู้
๕.๑ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
๏ มาตราตวั สะกดทตี่ รงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา
๕.๒ สาระการเรียนรูย้ อ่ ย
๏ ตัวสะกดมาตรา แม่กก และ แมก่ ด

๖. ชน้ิ งาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การำใบงาน
๖.๒ แบบบันทกึ ผลการประเมนิ

๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๗.๑ ทบทวนเนอื้ หาท่ีเรียนในช่ัวโมงที่แลว้ ด้วยการให้นักเรียนนำใบงานชุดที่ ๖ – ๗

มารว่ มกนั ตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง
๗.๒ นักเรียนรับใบความรู้ เรื่อง“มาตราตัวสะกด แม่กก และ แม่กด” ( ทา้ ยแผน ) จากครู

จากนนั้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ หาคำทมี่ ีตัวสะกดในมาตรา แม่กก และ แม่กด จากบทท่ี ๓ “ ป่านี้มีคุณ” ให้
ได้มากที่สุดเขยี นลงในแผน่ กระดาษ สง่ ตัวแทนกล่มุ อ่านคำในมาตรา แม่กก และ แม่กด ท่ีช่วยกนั หามา
ทีห่ นา้ ชั้นเรียน

๗.๓ นักเรยี นฟังครูอา่ นคำในมาตรา แมก่ ก และ แมก่ ด อย่างละ ๑๐ คำ และให้นกั เรียน
แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนคร้ังละ ๑ คน ออกไปแข่งขันการเขียนตามคำบอก ที่กระดานดำ

๗.๔ นักเรียนทกุ คนคดั ลอกคำท่กี ลุม่ ตนเองชว่ ยกนั หาลงในสมุด (เนน้ คัดสวยงาม) ครสู รปุ
เนือ้ หาสาระการเรยี นร้ทู ง้ั หมดอีกคร้งั หนงึ่

๗.๕ นักเรียนทำใบงานที่ ๑๓ ( ท้ายแผน ) ชดุ ประสมคำจากพยัญชนะ สระ ตวั สะกด และ
วรรณยุกต์ ให้มีความหมาย จากน้ันนำส่งครู ครเู ฉลยและนักเรยี นแลกเปลย่ี นกันตรวจสอบความถูก
ต้อง

๗.๖ นกั เรยี นทำใบงานที่ ๑๔ ( ทา้ ยแผน )ชดุ หาคำที่มีตวั สะกดในมาตรา แม่กด
จากตารางที่กำหนดให้ เสรจ็ แล้วครเู ฉลยและตรวจสอบความถกู ต้อง

สอื่ / แหล่งเรยี นรู้ / บุคคล

ลำดับท่ี รายการสือ่ กจิ กรรมท่ีใช้ แหล่งทไ่ี ดม้ า

ใบความรูเ้ รอื่ ง มาตราตวั สะกด ครูใชป้ ระกอบคำอธบิ าย ครจู ดั เตรียม
๒ แมก่ ก และ แม่กด
๓ ใบงาน ชดุ ท่ี ๑๓ – ๑๔ นักเรียนทำใบงาน ครจู ดั ทำ
๔ นกั เรียนฝกึ ทักษะการอา่ น ครจู ัดทำ
บตั รคำ นักเรียนอา่ นเรื่อง ครูจัดทำ

หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน
ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพือ่ ชวี ิต
ภาษาพาที ชนั้ ป.๓

๕ เกณฑ์การประเมนิ ( Rubric ) สร้างกฎของการประเมิน ครจู ดั ทำ

๖ แบบประเมนิ ผลงานรายกลมุ่ ประเมนิ ผลงานรายกลมุ่ ครูจดั ทำ

๗ แบบประเมินการสงั เกต บนั ทกึ การสังเกตพฤติกรรม และ ครูจดั ทำ

พฤติกรรม และแบบ บนั ทึกผลงานรายบุคคล

ประเมินผลงานรายบุคคล

วัดผลประเมินผล เครอ่ื งมอื ที่ใช้ใน วธิ ีการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ
การประเมนิ
กจิ กรรมทปี่ ระเมนิ สงั เกตรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๑. สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบประเมินการสงั เกต ๖ – ๗ = ดี
พฤติกรรม และแบบ ๕ = พอใช้
คุณลักษณะอันพงึ ประเมินผลงาน ตำ่ กวา่ ๕ = ปรับปรงุ
ประสงค์
แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายกลมุ่ ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๒. การเขียนตามคำบอก พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน
๓. นกั เรยี นทำใบงาน ๕ = พอใช้
ชดุ ท่ี ๑๓ แบบประเมินการสงั เกต
พฤติกรรม และแบบ ต่ำกวา่ ๕ = ปรับปรุง
๔. นักเรยี นทำใบงาน ประเมนิ ผลงาน
ชดุ ที่ ๑๔ ตรวจงานรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
แบบประเมนิ การสังเกต ๖ – ๗ = ดี
พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้

ตำ่ กว่า ๕ = ปรบั ปรงุ

ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
๖ – ๗ = ดี

๕ = พอใช้

ตำ่ กวา่ ๕ = ปรับปรุง

การประเมิน ด้านทักษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมิน เกณฑ์การใหร้ ะดับคะแนน

ทกั ษะการ สรุป ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ (๐)
เนอ้ื หา
สรุปเน้ือหาได้กระชับ สรุปเน้อื หาได้กระชับ สรุปเน้อื หาได้ไม่กระชับ
การรายงานหน้าชั้น
ใจความครบถ้วน ใจความเกือบครบถว้ น ใจความและไม่ครบถว้ น
การปฏิบัตงิ านตาม
ขน้ั ตอน สามารถสอื่ ใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจ สามารถสือ่ ให้ผู้อ่นื เข้าใจ สามารถสอื่ ให้ผู้อนื่ เข้าใจ
ความคิดสร้างสรรค์
ความเปน็ ระเบียบ ไดง้ า่ ย ได้ ได้นอ้ ย
เรยี บรอ้ ยของการทำ
ใบงาน สามารถพดู รายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานไดด้ ี สามารถพดู รายงานไดด้ ี
พูดเสยี งดงั ฟังชดั ไดส้ าระ พูดน้ำเสียงชดั เจน พดู น้ำเสียงไมช่ ัดเจน ไม่
ชดั เจน วางบุคลิกในการ สอดคลอ้ งกับเน้ือหาท่ี คอ่ ยสอดคลอ้ งกับเน้ือหา
พดู ได้ดีมาก พูด วางบคุ ลกิ ในการพูด ทพี่ ูด วางบุคลกิ ในการ
ไดด้ ี พดู ไม่ค่อยดี

มีทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน มกี ารปฏบิ ตั งิ านตาม ยงั ไม่สามารถปฏบิ ัติงาน
ตามขั้นตอน ได้อยา่ ง ขัน้ ตอนได้ตามลำดับ ตามข้นั ตอนได้
ถูกต้องและเหมาะสม

มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ดี พอมีความคิดท่ี ยังขาดความคดิ ที่
สรา้ งสรรคอ์ ยู่บา้ ง สรา้ งสรรค์

มที กั ษะสามารถสรา้ งงาน สามารถสร้างงานทส่ี วน ไม่มีความสวยงาม และ
ที่สวยงาม และมีความ งามพอใชไ้ ด้ และมี ไม่ประณีต
ประณตี ดี ความประณตี ในบางสว่ น

การประเมิน ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การใหร้ ะดบั คะแนน

ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรบั ปรงุ (๐)

ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง

ตรงไปตรงมา ยอมรับ ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่

ซ่ือสัตย์สจุ รติ ในข้อผิดพลาดและ ยอมรับในข้อผิดพลาด ยอมรบั ในขอ้ ผดิ พลาด

บกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง และบกพร่องของตนเอง

พอใจในส่งิ ท่ตี นมี พอใจในส่ิงทต่ี นมี ไม่ค่อยพอใจในส่งิ ทต่ี นมี

รจู้ ักควบคมุ อารมณ์ รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ บ้าง ไม่รจู้ กั ควบคมุ อารมณ์

ปฏบิ ตั ติ นอยูใ่ นระเบยี บ ปฏิบัตติ นอยู่ในระเบยี บ ปฏบิ ตั ิตนอยใู่ นระเบยี บ

มีวินยั วนิ ยั แต่งกายถกู ต้อง วนิ ยั การแต่งกายไม่ วนิ ัยนอ้ ย ไม่ค่อยแต่ง

ตามระเบยี บของ ค่อยถูกต้องตามระเบยี บ กายถูกต้องตามระเบียบ

โรงเรยี นตลอดเวลา ของโรงเรียน ของโรงเรยี น

ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามมานะม่งุ มน่ั ใน มคี วามมานะมุ่งมั่นใน ไม่มีความมานะมุง่ มั่นใน
การทำงานท่ีไดร้ ับ การทำงานท่ีไดร้ บั การทำงานท่ีไดร้ ับ

มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ไม่ค่อย

คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ค้นคว้าด้วยตนเองเป็น ศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง

ทำงานเสรจ็ ทนั เวลาและ บางคร้งั ทำงานเสรจ็ ทำงานเสร็จไม่ทันเวลา

ถูกต้อง ทนั เวลาเปน็ บางครงั้

อยู่อยา่ งพอเพียง ใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์การเรียน ใชว้ ัสดุอุปกรณ์การเรยี น ใชว้ สั ดุอปุ กรณ์การเรียน
มีจิตสาธารณะ ทรี่ าคาถูกและใช้อยา่ ง ทีร่ าคาค่อนข้างแพงและ ท่รี าคาค่อนข้างแพงและ
คมุ้ คา่ ใชจ้ นหมดแลว้ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้อย่างคุ้มคา่ ใช้ไม่
คอ่ ยซ้ือใหม่ หมดแล้วซ้อื ใหม่

มีความเสยี สละเพอื่ มีความเสียสละเพอ่ื ไม่ค่อยเสยี สละเพอ่ื
สว่ นรวม ไม่เอาเปรียบ ส่วนรวมเปน็ บางคร้งั ส่วนรวม ชอบเอาเปรียบ
ไมเ่ ห็นแกต่ วั ช่วยเหลอื ไม่เอาเปรยี บไมเ่ หน็ แก่ คนอื่น ค่อนข้างเห็นแก่
หมู่คณะได้เปน็ อยา่ งดี ตวั ไมค่ อ่ ยช่วยเหลอื หมู่ ตวั ไมค่ อ่ ยช่วยเหลอื หมู่
คณะ คณะ

ใบความรู้

มาตราตวั สะกด แม่ กก

มาตราตวั สะกดมาตราแม่ กก ไดแ้ ก่คำที่มีตวั ก สะกด ซึ่งเรียกวา่ เป็นตวั สะกดตรงตามมาตรา
และมีพยญั ชนะอนื่ ท่ีออกเสยี งเหมอื น ก สะกดซ่ึงเรียนว่าตัวสะกดไมต่ รงตามมาตรา ตวั สะกด ใน
มาตราแม่ กก มีอยู่ ๔ ตัวคอื

ก เป็นตัวสะกด เชน่ นก เลอื ก รกั ลอก
ข เปน็ ตวั สะกด เช่น สขุ เลข สนุ ขั
ค เป็นตัวสะกด เชน่ โรค ภาค วรรค ยุค
ฆ เปน็ ตัวสะกด เช่น เมฆ มฆั วาน
นอกจากน้ียงั มีพยญั ชนะ ๒ ตัวเรียงกนั เป็นตัวสะกด
แตอ่ อกเสียงเหมือน ก สะกด คอื กร , คร เชน่ ในคำว่า จักร
สมคั ร เป็นตน้

ตวั อย่าง การอ่านแจกลูกสะกดคำในมาตราแม่ กก

ผกั อ่านว่า ผอ – อะ – กอ – ผัก
ปาก อ่านวา่ ปอ – อา – กอ – ปาก
หมวก อา่ นวา่ หอ – มอ – อัว – กอ – หมวก
ครก อา่ นว่า คอ – รอ – โอะ – กอ – ครก

ท่มี า : วโิ รจน์ มังคละมณี , หลักภาษาไทย . ฉะเชิงเทรา : ประสานมติ ร , ๒๕๔๕

มาตราตวั สะกด แม่ กด

แม่ กด คือ พยางค์ท่ีออกเสียงเหมือนมีตัว “ ด” สะกด
มีตวั สะกดท่ีไมต่ รงมาตราทง้ั หมด ๑๖ ตวั คือ จ ช ซ ฌ ฎ
ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส มคี ำทส่ี ะกดดว้ ยมาตราแม่ กด ดงั น้ี
ต เป็นตัวสะกด เชน่ มด จัด เผ็ด
จ เป็นตวั สะกด เชน่ สำเร็จ ปิศาจ ตำรวจ
ช เปน็ ตวั สะกด เชน่ บวช ราชการ คชสาร นชุ

ซ เปน็ ตัวสะกด เช่น ก๊าซ
ฎ เปน็ ตัวสะกด เชน่ กฎหมาย
ฏ เปน็ ตวั สะกด เช่น ปรากฏ นาฏศลิ ป์
ฐ เป็นตัวสะกด เชน่ อิฐ รฐั บาล ประเสริฐ อูฐ
ฑ เปน็ ตัวสะกด เชน่ ครฑุ
ฒ เป็นตัวสะกด เชน่ วฒั นธรรม พฒั นา อัฒจนั ทร์
ต เป็นตวั สะกด เชน่ สุภาษติ อนาคต เพชฌฆาต
ถ เปน็ ตวั สะกด เชน่ สามารถ ปรารถนา อิรยิ าบถ
ท เปน็ ตวั สะกด เช่น บทบาท ฤทธ์ิ โจทย์
ธ เปน็ ตวั สะกด เช่น โกรธ พธุ อาวุธ อาพาธ
ศ เป็นตัวสะกด เชน่ ทศิ เลศิ อากาศ
ษ เป็นตวั สะกด เชน่ เศษผง กระดาษ พิษ
ส เป็นตัวสะกด เชน่ โอกาส รส พสั ดุ ทาส

ใบงาน ชุดที่ ๑๓

คำชแี้ จง ให้นักเรียนประสมคำจากพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์ ใหม้ ี
ความหมาย แล้วเขียนลงในกรอบสีเ่ หล่ียม โดยเลือกคำตอบจากกรอบสเ่ี หลี่ยม

ตัวอยา่ งก คึ ก คั = คกึ คัก

ปอกเปลือก ลาบาก กระรอก ยักยอก ผลดิ อก
บริจาค ทุกข์ยาก ฉลาก ลกู มาก ปักหลกั

๑. ก ยั อ ก ย =
๒. ก า ล ำ บ =
๓. ม ก ลู า ก =
๔. ล ก ฉ า =
๕. ก ทุ ย า ข์ ก =
๖. ล ป ป เ อ ลื ก อ ก =
๗. ด ผ อ ลิ ก =
๘. ร ร ก อ ก ะ =
๙. ปั ลั ก ก ห =
๑๐. จ บ า ค ริ =

ชื่อ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

ใบงาน ชุดท่ี ๑๔

คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นคำทส่ี ะกดด้วยแม่ กด ทั้งตามแนวนอนและแนวขวาง เมื่อพบแลว้ ให้
ระบายดว้ ยสที ช่ี อบ

ปล อดพดอ ร ส ร นยบล ส ท ม ฝ า
ฟ ห ก ด พิ ษ ด า ด อ ท ม ส ว า ป ผ อ ม
เ ห ฟ ห สู ห ก ษ ด โ ม า ด ร ด อ ท ม ฝ
ลื งุ พ ห จ ธ า ฎ ป อ ท ม ฝ ง ล ณ ฎ ฏ ฤ
อ ด า พู น์ ป แ ร บ ท บ า ท ธ ฑ ณ ญ ฐ ล
ดหกดพดฟษศสซวอง อ า จศก
ฟ งิ ห ก ด มั ด ส ผุ ด ผ า ด ส ว ง บ ล อ
ผดฦา เ ง อปผพฑรนยบ ล ดกอ
ผ ป ฉ อ ฮ คุ พ ท ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ ก พ
ผ ป อ ห พ ด ท ม ใ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท อ พ ร
ฟ ผ พิ เ ศ ษ ป ป ป ร า ส า ท อ พ ร น ย
ปผกดฌส าม า ร ถพรนย บ ล ง ม

ชื่อ.................................................................เลขที่ ..................... ช้ัน...............

เฉลยใบงาน ชุดที่ ๑๔

ปล อดพดอ ร ส ร นยบล ส ท ม ฝ า
ฟ ห ก ด พิ ษ ด า ด อ ท ม ส ว า ป ผ อ ม
เ ห ฟ ห สู ห ก ษ ด โ ม า ด ร ด อ ท ม ฝ
ลื งุ พ ห จ ธ า ฎ ป อ ท ม ฝ ง ล ณ ฎ ฏ ฤ
อ ด า พู น์ ป แ ร บ ท บ า ท ธ ฑ ณ ญ ฐ ล
ดหกดพดฟษศสซวอง อ า จศก
ฟ งิ ห ก ด มั ด ส ผุ ด ผ า ด ส ว ง บ ล อ
ผดฦา เ ง อปผพฑรนยบ ล ดกอ
ผ ป ฉ อ ฮ คุ พ ท ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ ก พ
ผ ป อ ห พ ด ท ม ใ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท อ พ ร
ฟ ผ พิ เ ศ ษ ป ป ป ร า ส า ท อ พ ร น ย
ปผกดฌส าม า ร ถพรนย บ ล ง ม

แบบบันทกึ ผลการประเมินการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ชดุ ภาษาพาที บทที่ ๓ ป่านม้ี คี ณุ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๗ มาตราตวั สะกด แมเ่ กก และ แม่

กด

เลข ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดา้ นผลงาน

ที่

ชือ่ – สกลุ รักความเป็นไทย
ใฝ่เรียนรู้
ีม ิจตสาธารณะ
ีม ิวนัย
อยู่อย่างพอเพียง
รวมคะแนนด้านคุณ ัลกษณะ ฯ
การทำใบงาน ุชด ่ีท ๑๓
การทำใบงาน ุชด ี่ท ๑๔

รวม
ผ่าน / ไ ่มผ่าน

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐

๑ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดบั คะแนน ๓๕ – ๔๐ = ๓








๑๐
ความหมายระดับคณุ ภาพ

๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๔ = ๒

๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๒๔ = ๑

เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน ๑ ขนึ้ ไป

ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน

( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนท่ี ๘

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓
บทท่ี ๓ ป่ านมี้ ีคณุ เวลา ๙ ช่ัวโมง
หัวข้อเร่ือง คาทไี่ ม่มีตวั สะกด ( แม่ ก กา ) และแม่กบ เวลา ๑ ช่ัวโมง
วนั ที่ ....................................... ผู้ใช้แผน ......................

สาระท่ี ๔ หลกั ภาษา
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ

พลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของ
ชาติ
๑. สาระสำคัญ
๑.๑ ความคิดรวบยอด
คำที่ไมม่ ีตัวสะกด มีเฉพาะพยัญชนะ สระ และเสียงวรรณยกุ ต์ เรียกวา่ คำใน
แม่ ก กา ส่วน แม่ กบ คือ พยางค์ทีอ่ อกเสยี งเหมอื นมตี วั “ บ” สะกด มีตัวสะกดท่ีไมต่ รงมาตรา
ทง้ั หมด ๔ ตัว คอื ป พ ฟ ภ

๑.๒ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
- ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

๒. ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๓ / ๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ บอกพยัญชนะท่ีใชเ้ ป็นตัวสะกดในมาตรา แม่กบ และคำในแม่ ก กา ได้
๓.๒ บอกคำที่มีตัวสะกดในมาตรา แม่กบ และคำในแม่ ก กา ได้
๓.๓ บอกส่วนประกอบคำในมาตรา แม่กบ และคำในแม่ ก กา ได้

๔. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๔.๑ รกั ความเปน็ ไทย
๔.๒ ใฝ่เรียนรู้
๔.๓ มีจติ สาธารณะ
๔.๔ มวี นิ ัย
๔.๕ อยู่อย่างพอเพียง

๕. สาระการเรยี นรู้
๕.๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
๏ มาตราตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย
๏ ตัวสะกดมาตรา แมก่ บ และคำในแม่ ก กา

๖. ชน้ิ งาน / หลกั ฐานรอ่ งรอยแสดงความรู้
๖.๑ การำใบงาน
๖.๒ แบบบันทึกผลการประเมนิ

๗. กจิ กรรมการเรียนรู้
๗.๑ ทบทวนเนอื้ หาท่เี รยี นในช่วั โมงทีแ่ ล้วด้วยการใหน้ ักเรยี นนำใบงานชุดท่ี ๑๓ – ๑๔

มารว่ มกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง
๗.๒ นักเรียนรับใบความรู้ เรอ่ื ง“มาตราตัวสะกด แม่กบ และคำในแม่ ก กา ” ( ทา้ ยแผน )

จากครูจากน้ันให้แตล่ ะกลมุ่ หาคำทมี่ ีตวั สะกดในมาตรา แม่กบ และคำในแม่ ก กา จากบทที่ ๓ “ ป่านี้
มคี ณุ ” ใหไ้ ด้มากท่สี ุดเขยี นลงในแผ่นกระดาษ สง่ ตัวแทนกลุ่มอา่ นคำในมาตรา แมก่ ก และ แม่กด ที่
ช่วยกนั หามาทีห่ น้าชัน้ เรยี น

๗.๓ นักเรียนฟังครอู า่ นคำในมาตรา แม่กบ และคำในแม่ ก กา อย่างละ ๑๐ คำ และให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนครงั้ ละ ๑ คน ออกไปแข่งขันการเขยี นตามคำบอก ท่ีกระดานดำ

๗.๔ นกั เรยี นทุกคนคัดลอกคำท่ีกลมุ่ ตนเองชว่ ยกนั หาลงในสมดุ (เน้นคดั สวยงาม) ครสู รปุ
เน้ือหาสาระการเรยี นรทู้ ้ังหมดอีกครงั้ หนึ่ง

๗.๕ นกั เรยี นทำใบงานท่ี ๑๕ ( ท้ายแผน ) ชุด เติมพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยกุ ต์
ใหเ้ ป็นคำมีความหมาย จากนนั้ นำส่งครู ครเู ฉลยและนักเรียนแลกเปล่ียนกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

๗.๖ นักเรยี นทำใบงานท่ี ๑๖ ( ทา้ ยแผน )ชุด หาคำทมี่ ีตวั สะกดในมาตรา แม่กบ
ทีต่ รงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา เสร็จแลว้ นำสง่ ครูตรวจสอบความถูกต้อง

๗.๖ นักเรยี นทำใบงานที่ ๑๗ ( ทา้ ยแผน )ชดุ เขียนคำท่มี ตี ัวสะกดในมาตรา แมก่ บ ให้ตรง
กบั ความหมายทกี่ ำหนดให้ เสร็จแลว้ ครูเฉลย นักเรียนแลกเปลย่ี นกนั ตรวจสอบความถูกต้อง

สื่อ / แหล่งเรยี นรู้ / บุคคล

ลำดับที่ รายการสื่อ กจิ กรรมทใ่ี ช้ แหล่งท่ไี ด้มา

ใบความร้เู ร่อื ง มาตราตัวสะกด ครใู ชป้ ระกอบคำอธบิ าย ครจู ดั เตรยี ม
๒ แม่ ก กา และ แม่กบ
๓ ใบงาน ชุดท่ี ๑๕ – ๑๗ นักเรยี นทำใบงาน ครูจัดทำ
๔ นกั เรียนฝึกทักษะการอ่าน ครูจัดทำ
บตั รคำ นักเรียนอา่ นเรื่อง ครูจัดทำ

หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน
ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชีวติ
ภาษาพาที ช้นั ป.๓

๕ เกณฑ์การประเมิน ( Rubric ) สร้างกฎของการประเมิน ครูจดั ทำ

๖ แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม ประเมินผลงานรายกล่มุ ครจู ดั ทำ

๗ แบบประเมินการสังเกต บนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม และ ครจู ดั ทำ

พฤติกรรม และแบบ บันทึกผลงานรายบคุ คล

ประเมินผลงานรายบุคคล

วดั ผลประเมนิ ผล

กิจกรรมท่ีประเมิน เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ใน วิธกี ารประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน
การประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมด้าน สังเกตรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
คุณลักษณะอันพงึ แบบประเมินการสังเกต ๖ – ๗ = ดี
ประสงค์ พฤติกรรม และแบบ ๕ = พอใช้
ประเมนิ ผลงาน ตำ่ กวา่ ๕ = ปรบั ปรงุ

๒. การเขียนตามคำบอก แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายกลมุ่ ๘ - ๑๐ = ดีมาก
พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
๓. นกั เรยี นทำใบงาน ประเมินผลงาน
ชุดที่ ๑๕ ๕ = พอใช้
แบบประเมินการสังเกต
๔. นกั เรียนทำใบงาน พฤติกรรม และแบบ ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรงุ
ชุดท่ี ๑๖ ประเมนิ ผลงาน
ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๕. นกั เรียนทำใบงาน แบบประเมนิ การสังเกต ๖ – ๗ = ดี
ชุดที่ ๑๗ พฤติกรรม และแบบ
ประเมนิ ผลงาน ๕ = พอใช้

แบบประเมินการสังเกต ตำ่ กว่า ๕ = ปรับปรุง
พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน ตรวจงานรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
๖ – ๗ = ดี

๕ = พอใช้

ตำ่ กวา่ ๕ = ปรับปรงุ

ตรวจงานรายบุคคล ๘ - ๑๐ = ดมี าก
๖ – ๗ = ดี

๕ = พอใช้

ตำ่ กว่า ๕ = ปรบั ปรุง

การประเมิน ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารให้ระดบั คะแนน

ทกั ษะการ สรุป ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ (๐)
เนือ้ หา
สรุปเนื้อหาได้กระชบั สรุปเนื้อหาได้กระชบั สรุปเนอ้ื หาได้ไม่กระชบั
การรายงานหนา้ ช้ัน
ใจความครบถ้วน ใจความเกือบครบถ้วน ใจความและไม่ครบถ้วน
การปฏบิ ตั ิงานตาม
ข้ันตอน สามารถสอื่ ใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ สามารถสอ่ื ให้ผู้อน่ื เข้าใจ สามารถสอ่ื ใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจ
ความคิดสรา้ งสรรค์
ความเป็นระเบียบ ไดง้ า่ ย ได้ ได้นอ้ ย
เรียบรอ้ ยของการทำ
ใบงาน สามารถพดู รายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานได้ดี สามารถพดู รายงานไดด้ ี
พูดเสยี งดังฟังชัด ได้สาระ พดู นำ้ เสยี งชดั เจน พูดน้ำเสยี งไม่ชัดเจน ไม่
ชัดเจน วางบุคลกิ ในการ สอดคล้องกบั เนื้อหาท่ี คอ่ ยสอดคล้องกับเน้ือหา
พูดได้ดีมาก พดู วางบคุ ลิกในการพดู ท่ีพดู วางบคุ ลกิ ในการ
ไดด้ ี พูดไม่ค่อยดี

มีทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน มีการปฏบิ ตั ิงานตาม ยงั ไมส่ ามารถปฏิบัติงาน
ตามขัน้ ตอน ได้อย่าง ขน้ั ตอนได้ตามลำดับ ตามข้นั ตอนได้
ถูกต้องและเหมาะสม

มีความคดิ สร้างสรรค์ดี พอมีความคิดท่ี ยงั ขาดความคิดท่ี
สร้างสรรค์อยู่บ้าง สรา้ งสรรค์

มีทักษะสามารถสรา้ งงาน สามารถสร้างงานที่สวน ไม่มีความสวยงาม และ
ทส่ี วยงาม และมีความ งามพอใชไ้ ด้ และมี ไม่ประณีต
ประณตี ดี ความประณตี ในบางส่วน

การประเมิน ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การใหร้ ะดับคะแนน

ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐)

ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง

ตรงไปตรงมา ยอมรบั ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่

ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต ในขอ้ ผดิ พลาดและ ยอมรบั ในขอ้ ผดิ พลาด ยอมรับในขอ้ ผิดพลาด

บกพร่องของตนเอง และบกพรอ่ งของตนเอง และบกพร่องของตนเอง

พอใจในส่ิงทต่ี นมี พอใจในสงิ่ ที่ตนมี ไม่ค่อยพอใจในส่ิงทตี่ นมี

ร้จู กั ควบคุมอารมณ์ รจู้ กั ควบคมุ อารมณ์ บ้าง ไม่รู้จักควบคมุ อารมณ์

ปฏบิ ัติตนอยู่ในระเบียบ ปฏิบตั ติ นอยใู่ นระเบยี บ ปฏิบตั ติ นอยู่ในระเบียบ

มวี นิ ยั วินัย แต่งกายถกู ต้อง วินยั การแตง่ กายไม่ วนิ ัยน้อย ไม่ค่อยแตง่

ตามระเบยี บของ คอ่ ยถูกต้องตามระเบียบ กายถกู ต้องตามระเบียบ

โรงเรยี นตลอดเวลา ของโรงเรยี น ของโรงเรยี น

ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามมานะมุ่งมนั่ ใน มีความมานะมงุ่ มั่นใน ไม่มีความมานะมงุ่ มน่ั ใน
การทำงานที่ได้รับ การทำงานทีไ่ ด้รับ การทำงานที่ได้รับ
มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ไมค่ ่อย
คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ค้นควา้ ด้วยตนเองเป็น ศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง
ทำงานเสร็จทนั เวลาและ บางครั้ง ทำงานเสร็จ ทำงานเสรจ็ ไม่ทนั เวลา
ถูกต้อง ทนั เวลาเปน็ บางคร้ัง

อยู่อย่างพอเพียง ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์การเรียน ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์การเรียน ใชว้ ัสดุอุปกรณก์ ารเรยี น
ทีร่ าคาถูกและใช้อยา่ ง ท่รี าคาค่อนข้างแพงและ ทร่ี าคาค่อนข้างแพงและ
คุ้มค่าใชจ้ นหมดแลว้ ใชอ้ ย่างคุ้มคา่ ใช้จนหมด ใช้อยา่ งคุ้มคา่ ใช้ไม่
คอ่ ยซ้ือใหม่ หมดแล้วซอื้ ใหม่

มจี ิตสาธารณะ มคี วามเสียสละเพอ่ื มคี วามเสียสละเพื่อ ไมค่ ่อยเสียสละเพือ่
ส่วนรวม ไมเ่ อาเปรยี บ ส่วนรวมเปน็ บางครั้ง ส่วนรวม ชอบเอาเปรียบ
ไมเ่ หน็ แก่ตวั ช่วยเหลอื ไมเ่ อาเปรยี บไมเ่ หน็ แก่ คนอน่ื ค่อนขา้ งเหน็ แก่
หมู่คณะไดเ้ ปน็ อย่างดี ตัว ไมค่ ่อยช่วยเหลอื หมู่ ตวั ไม่ค่อยช่วยเหลือหมู่
คณะ คณะ

ใบความรู้

มาตราตัวสะกด แม่ กบ

แม่ กบ คือ พยางค์ทอ่ี อกเสียงเหมอื นมีตวั “ บ” สะกด มีตวั สะกดท่ีไมต่ รงมาตรา
ทง้ั หมด ๔ ตวั คอื ป พ ฟ ภ เช่น กราบไหว้ รปู ร่าง เคารพ ยีราฟ โชคลาภ เปน็ ต้น

คำทม่ี ี บ เปน็ ตัวสะกด เชน่ กรอบ จับ คับแคบ เจ็บแสบ
คำทม่ี ี ป เปน็ ตวั สะกด เช่น ธูป บาป สาป อีสป
คำทมี่ ี พ เปน็ ตัวสะกด เช่น ภาพ ทพั ภพ ศพ
คำที่มี ฟ เปน็ ตวั สะกด เชน่ กราฟ ยีราฟ
คำที่มี ภ เปน็ ตัวสะกด เช่น โลภ ลาภ ปรารภ

( คดั จากหนงั สือหลักและการใช้ภาษาของประสิทธ์ิ กาพย์กลอนและคณะ สำนกั พิมพ์
วฒั นาพานิช พ.ศ. ๒๕๒๓ )

ใบงาน ชุดที่ ๑๕

คำช้แี จง ใหน้ ักเรียนเติมพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ใน ตารางของ
แตล่ ะข้อให้เปน็ คำใน มาตราแม่ ก กา

๑ จป

๒ าท จา
๓ พร

๔แ น

๕ภ า

๖ใ ห า
๗เ ว า

๘บ นาพ

๙ เห าย

๑๐ เ า า

ช่ือ.................................................................เลขที่ ..................... ช้ัน...............

ใบงาน ชุดที่ ๑๖

คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นเขยี นคำท่มี ีตวั สะกดตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนดให้

คาในมาตรา แม่ กบ

คาท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา คาทีม่ ีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา

ช่ือ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

ใบงาน ชุดที่ ๑๗ คำ

คำชี้แจง นักเรียนเขียนคำที่มตี วั สะกดในมาตรา แม่กบ เขยี นลงในตาราง
ตรงกบั ขอ้ ความในแต่ละข้อ

ท่ี ข้อความ
๑ สัตวค์ รง่ึ บกครงึ่ นำ้ ชนดิ หนึ่ง มีสี่ขายาวกระโดดเรว็
๒ สงิ่ ที่ใชจ้ ุดบูชาพระคกู่ ับเทียนและดอกไม้
๓ แมลงชนดิ หนงึ่ มกี ลน่ิ เหมน็ เป็นทรี่ ังเกยี จของคน
๔ แหลง่ นำ้ จืดขนาดใหญ่
๕ ร่างกายของคนท่ีตายแล้ว
๖ พฤติกรรมของคนท่ีไมร่ ้จู กั พอมอี ยแู่ ลว้ ยงั อยากไดอ้ ีก
๗ การแสดงอาการทีต่ สี ่ิงใดส่งิ หนึ่งให้ละเอยี ด
๘ คนท่ีไม่มใี ครดแู ลอปุ การะเลีย้ งดู
๙ อาการของความทุกข์ทรมาน
๑๐ อุปกรณ์ทีใ่ ช้ขดุ ดนิ มีด้ามทที่ ำดว้ ยไม้ยาว

เฉลยใบงาน ชุดที่ ๑๕

๑. เจา้ ป่า ๒. พาที
๓. พระเจา้ ๔. แมน่ ำ้
๕. ภูเขา ๖. ใบหนา
๗. เทวดา ๘. บอ่ น้ำพุ
๙. เหลา้ ยา ๑๐. เจ้าฟ้า

เฉลยใบงาน ชุดท่ี ๑๖

๑. กบ ๒. ธปู
๓. แมลงสาป ๔. ทะเลสาบ
๕. ศพ ๖. โลภ
๗. ทุบ ๘. อาภพั
๙. เจบ็ ปวด ๑๐. จอบ

ชื่อ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓

ชุดภาษาพาที บทที่ ๓ ปา่ นีม้ คี ุณ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๘ คำใน แม่ ก กา และแมก่ บ

เลข ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านผลงาน

ที่

ช่อื – สกลุ รักความเป็นไทย
ใฝ่เรียนรู้
ีม ิจตสาธารณะ
ีม ิวนัย
อยู่อย่างพอเ ีพยง
รวมคะแนน ้ดานคุณ ัลกษณะ ฯ
การทำใบงาน ุชด ี่ท ๑๕ – ๑๖
การทำใบงาน ุชด ี่ท ๑๗

รวม
ผ่าน / ไ ่ม ่ผาน

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๒๐ ๑๐ ๔๐

๑ ๓ หมายถงึ ดี เกณฑ์ระดบั คะแนน ๓๕ – ๔๐ = ๓








๑๐
ความหมายระดับคุณภาพ

๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๔ = ๒

๑ หมายถึง ปรบั ปรุง ๑๐ – ๒๔ = ๑

เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนน ๑ ขึ้นไป

ลงช่ือ...........................................ผูป้ ระเมิน

( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนท่ี ๙

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
บทที่ ๓ ป่ านมี้ คี ณุ เวลา ๙ ชั่วโมง
หัวข้อเรื่อง คาทมี่ คี วามหมายเหมือนกนั และตรงข้ามกนั เวลา ๑ ช่ัวโมง
วนั ที่ ....................................... ผู้ใช้แผน ......................

สาระท่ี ๔ หลักภาษา

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ อง
ชาติ

๑. สาระสำคญั
๑.๑ ความคดิ รวบยอด
คำหลายคำในภาษาไทยอาจมกี ารนำมาใช้ในความหมายเดียวกัน ทั้งน้ีเพราะภาษาไทยเรามี

การนำเอาภาษาอ่ืนเข้ามาใชป้ ะปนดว้ ยเพ่ือให้เกิดความหลากหลาย และมีความเหมาะสมในแตล่ ะบรบิ ท
๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

๒. ตวั ชวี้ ัด
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๓ / ๑ เขยี นสะกดคำและบอกความหมายของคำ

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๓.๑ บอกความหมายของคำได้
๓.๒ บอกคำท่ีใช้ในความหมายเดียวกนั ได้
๓.๓ ใชค้ ำได้เหมาะสมกบั บรบิ ท

๔. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๔.๑ รกั ความเป็นไทย
๔.๒ ใฝ่เรียนรู้
๔.๓ มีจติ สาธารณะ
๔.๔ มวี ินยั
๔.๕ อยู่อยา่ งพอเพยี ง

๕. สาระการเรยี นรู้
๕.๑ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
๏ มาตราตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
๕.๒ สาระการเรยี นร้ยู อ่ ย
๏ คำที่มีความหมายเดียวกนั

๖. ชน้ิ งาน / หลกั ฐานร่องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การำใบงาน
๖.๒ แบบทดสอบหลงั เรียน
๖.๒ แบบบนั ทึกผลการประเมนิ

๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๗.๑ ทบทวนเนือ้ หาที่เรียนในชัว่ โมงท่ีแลว้ ด้วยการใหน้ ักเรียนนำใบงานชุดที่ ๑๕ – ๑๗

มารว่ มกนั ตรวจสอบและเฉลยอกี ครั้ง
๗.๒ ครอู ธิบายให้นักเรียนฟงั ว่า คำในภาษาไทยมีหลายคำทม่ี ีความหมายเดยี วกันทง้ั นเี้ พื่อให้

มีคำใชอ้ ย่างหลากหลาย โดยไดน้ ำเอาคำท่ีมาจากภาษาอื่นเขา้ มาใชป้ ะปนเช่น คำวา่ “ ตะวนั ” มคี ำ
ใดบ้างทห่ี มายถงึ ตะวนั ( คำตอบก็คอื ดวงอาทิตย์ , สรุ ิยา , สูรย์สรุ ยิ ัน เป็นต้น ) นอกจากนยี้ ังมคี ำท่ี
มคี วามหมายตรงขา้ มกนั ครูกำหนดคำใหน้ ักเรียนแขง่ ขนั กนั หาคำตรงข้าม

๗.๓ นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ ๔ – ๕ คน จากน้นั ให้แต่ละกลุม่ หาคำทม่ี ีความหมายเดยี วดัน
มา กลุม่ ละ ๑๐ คู่ เขยี นใส่แผ่นกระดาษนำสง่ ครูตรวจสอบ

๗.๔ นกั เรียนทกุ คนคดั ลอกคำที่กลมุ่ ตนเองชว่ ยกันหาลงในสมุด (เน้นคดั สวยงาม) ครสู รปุ
เน้อื หาสาระการเรยี นรูท้ ้งั หมดอกี คร้ังหนง่ึ

๗.๕ นักเรยี นทำใบงานที่ ๑๗ ( ท้ายแผน ) ชดุ จับคู่คำทีม่ คี วามหมายเหมือนกัน จากนน้ั
นำสง่ ครู ครเู ฉลยและนักเรยี นแลกเปลย่ี นกันตรวจสอบความถูกต้อง

๗.๖ นกั เรียนทำใบงานท่ี ๑๘ ( ท้ายแผน )ชุด จบั คคู่ ำที่มคี วามหมายตรงข้ามกนั
จากนนั้ นำส่งครู ครูเฉลยและนักเรยี นแลกเปลย่ี นกันตรวจสอบความถูกต้อง

๗.๖ นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนบทท่ี ๓ ป่านม้ี ีคุณ ( ท้ายแผน ) จำนวน ๑๕ ขอ้
เสรจ็ แล้วครเู ฉลย นกั เรียนแลกเปลย่ี นกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

ส่ือ / แหล่งเรียนรู้ / บคุ คล

ลำดับท่ี รายการส่ือ กิจกรรมที่ใช้ แหลง่ ทีไ่ ด้มา

๒ รปู ภาพ ครใู ช้ประกอบคำอธบิ าย ครจู ัดเตรยี ม
๓ นกั เรยี นทำใบงาน ครูจดั ทำ
๔ ใบงาน ชดุ ท่ี ๑๗ – ๑๘ นกั เรียนฝกึ ทักษะการอ่าน ครจู ัดทำ
นักเรียนอ่านเร่ือง ครจู ัดทำ
๕ บัตรคำ
๖ นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ครูจัดทำ
๗ หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน สรา้ งกฎของการประเมิน ครูจัดทำ
๘ ภาษาไทย ชุดภาษาเพอื่ ชวี ิต ประเมนิ ผลงานรายกลุม่ ครจู ดั ทำ
ภาษาพาที ช้ัน ป.๓ บันทึกการสังเกตพฤติกรรม และ ครจู ดั ทำ
แบบทดสอบหลังเรียน บนั ทึกผลงานรายบคุ คล
เกณฑ์การประเมนิ ( Rubric )
แบบประเมนิ ผลงานรายกลมุ่
แบบประเมินการสังเกต
พฤติกรรม และแบบ

วัดผลประเมนิ ผล เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ใน วิธกี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ
การประเมิน
กจิ กรรมที่ประเมนิ สงั เกตรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๑. สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบประเมินการสงั เกต ๖ – ๗ = ดี
พฤติกรรม และแบบ ๕ = พอใช้
คุณลักษณะอนั พงึ ประเมินผลงาน ตำ่ กว่า ๕ = ปรับปรงุ
ประสงค์

๒. การเขยี นตามคำบอก แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายกล่มุ ๘ - ๑๐ = ดีมาก
พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมนิ ผลงาน
๕ = พอใช้

ต่ำกว่า ๕ = ปรบั ปรุง

๓. นกั เรยี นทำใบงาน แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชดุ ท่ี ๑๗ พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมนิ ผลงาน
๕ = พอใช้

ต่ำกวา่ ๕ = ปรบั ปรุง

๔. นกั เรียนทำใบงาน แบบประเมนิ การสังเกต ตรวจงานรายบคุ คล ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑๘ พฤติกรรม และแบบ ๖ – ๗ = ดี
ประเมนิ ผลงาน
๕ = พอใช้

ตำ่ กว่า ๕ = ปรบั ปรงุ

๕. นกั เรยี นทำแบบทดสอบ แบบประเมินการสงั เกต ตรวจงานรายบุคคล ๑๓ - ๑๕ = ดมี าก
หลงั เรียน พฤติกรรม และแบบ ๑๑ – ๑๒ = ดี
ประเมนิ ผลงาน
๙ – ๑๐ = พอใช้

ต่ำกว่า ๙ = ปรับปรุง

การประเมนิ ด้านทักษะ / กระบวนการ

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารใหร้ ะดบั คะแนน
ทกั ษะการ สรุป
เนือ้ หา ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ (๐)

การรายงานหน้าชนั้ สรปุ เนอ้ื หาได้กระชบั สรปุ เนอ้ื หาได้กระชบั สรปุ เนอ้ื หาได้ไม่กระชบั

ใจความครบถ้วน ใจความเกือบครบถว้ น ใจความและไม่ครบถ้วน

สามารถสื่อใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจ สามารถสือ่ ใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจ สามารถสอ่ื ให้ผู้อน่ื เขา้ ใจ

ไดง้ า่ ย ได้ ไดน้ อ้ ย

สามารถพดู รายงานได้ดี สามารถพดู รายงานไดด้ ี สามารถพูดรายงานไดด้ ี

พูดเสียงดังฟังชัด ไดส้ าระ พูดนำ้ เสยี งชัดเจน พดู น้ำเสียงไม่ชัดเจน ไม่

ชดั เจน วางบุคลิกในการ สอดคล้องกบั เนื้อหาที่ คอ่ ยสอดคล้องกับเนื้อหา

พดู ได้ดีมาก พดู วางบคุ ลกิ ในการพดู ท่ีพูด วางบคุ ลิกในการ

ได้ดี พูดไมค่ ่อยดี

การปฏบิ ัติงานตาม มที ักษะการปฏบิ ัติงาน มกี ารปฏิบัตงิ านตาม ยังไม่สามารถปฏิบัติงาน
ขั้นตอน ตามขนั้ ตอน ได้อยา่ ง ข้นั ตอนได้ตามลำดบั ตามขน้ั ตอนได้
ถูกต้องและเหมาะสม
ความคิดสร้างสรรค์ พอมคี วามคิดท่ี ยังขาดความคดิ ที่
มคี วามคดิ สร้างสรรค์ดี
ความเปน็ ระเบียบ สรา้ งสรรค์อยบู่ ้าง สรา้ งสรรค์
เรยี บร้อยของการทำ มีทกั ษะสามารถสร้างงาน
ใบงาน ท่สี วยงาม และมีความ สามารถสร้างงานทส่ี วน ไม่มีความสวยงาม และ
ประณีตดี งามพอใช้ได้ และมี ไม่ประณีต
ความประณีตในบางส่วน

การประเมิน ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

ประเด็นการประเมนิ เกณฑ์การให้ระดบั คะแนน

ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรบั ปรุง (๐)

ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง

ตรงไปตรงมา ยอมรบั ตรงไปตรงมา ไม่ ตรงไปตรงมา ไม่

ซื่อสตั ยส์ จุ ริต ในขอ้ ผิดพลาดและ ยอมรับในขอ้ ผิดพลาด ยอมรับในข้อผิดพลาด

บกพร่องของตนเอง และบกพรอ่ งของตนเอง และบกพรอ่ งของตนเอง

พอใจในส่ิงที่ตนมี พอใจในสิ่งท่ตี นมี ไม่ค่อยพอใจในสิ่งทต่ี นมี

ร้จู ักควบคมุ อารมณ์ ร้จู ักควบคมุ อารมณ์ บา้ ง ไมร่ ู้จักควบคมุ อารมณ์

ปฏิบัติตนอยูใ่ นระเบยี บ ปฏิบัติตนอยใู่ นระเบียบ ปฏิบัตติ นอยใู่ นระเบียบ

มีวินยั วนิ ยั แต่งกายถูกต้อง วนิ ยั การแตง่ กายไม่ วินัยนอ้ ย ไมค่ ่อยแตง่

ตามระเบียบของ คอ่ ยถูกต้องตามระเบียบ กายถกู ตอ้ งตามระเบียบ

โรงเรยี นตลอดเวลา ของโรงเรียน ของโรงเรียน

ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามมานะมุ่งม่นั ใน มคี วามมานะมุ่งม่ันใน ไมม่ ีความมานะมงุ่ มัน่ ใน
การทำงานทีไ่ ดร้ บั การทำงานที่ไดร้ ับ การทำงานทไี่ ดร้ บั
มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ศึกษา มอบหมาย ไมค่ ่อย
ค้นควา้ ด้วยตนเอง ค้นคว้าดว้ ยตนเองเป็น ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ทำงานเสร็จทนั เวลาและ บางครั้ง ทำงานเสร็จ ทำงานเสรจ็ ไม่ทันเวลา
ถกู ต้อง ทันเวลาเปน็ บางครั้ง

อยู่อย่างพอเพยี ง ใช้วัสดุอปุ กรณก์ ารเรยี น ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์การเรียน ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน
ทร่ี าคาถูกและใชอ้ ยา่ ง ท่รี าคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
คมุ้ คา่ ใช้จนหมดแล้ว ใชอ้ ยา่ งคุ้มค่าใช้จนหมด ใชอ้ ย่างคุ้มค่าใช้ไม่
ค่อยซ้ือใหม่ หมดแลว้ ซ้อื ใหม่

มจี ติ สาธารณะ มคี วามเสียสละเพ่ือ มคี วามเสยี สละเพอ่ื ไม่ค่อยเสยี สละเพื่อ
ส่วนรวม ไม่เอาเปรยี บ ส่วนรวมเปน็ บางครงั้ สว่ นรวม ชอบเอาเปรียบ
ไมเ่ ห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ ไมเ่ อาเปรียบไม่เห็นแก่ คนอน่ื ค่อนข้างเหน็ แก่
หมู่คณะได้เปน็ อย่างดี ตัว ไมค่ ่อยช่วยเหลือหมู่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือหมู่
คณะ คณะ

ใบงาน ชุดที่ ๑๗

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นจับคูค่ ำท่ีมีความหมายเดยี วกัน ด้วยการโยงเสน้

๑. ป่า ก. ธารา
๒. ผู้หญงิ ข. รบั ประทาน
๓. ดวงจันทร์ ค. อกั ษร
๔. น้ำ ง. ศึกษา
๕. แผน่ ดนิ จ. ไพร
๖. ตัวหนังสอื ฉ. โสม
๗. ใหญ่ ช. นารี
๘. เล่าเรียน ซ. ปรดี า
๙. ยินดี ฌ. มหมึ า
๑๐. กิน ญ. ธรณี

ชื่อ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

ใบงาน ชุดท่ี ๑๘

คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นจบั คูค่ ำทมี่ ีความหมายตรงขา้ มกัน ด้วยการโยงเส้น

๑. กว้าง ก. คบั แคบ
๒. อนุรักษ์ ข. แข็งแรง
๓. ประโยชน์ ค. แคบ
๔. กวา้ งใหญ่ ง. ซ่อื สตั ย์
๕. ของเสีย จ. อจิ ฉา
๖. อ่อนแอ ฉ. หิว
๗. คดโกง ช. ทำลาย
๘. อม่ิ ซ. นำ้ เค็ม
๙. ยนิ ดี ฌ. โทษ
๑๐. น้ำจดื ญ. ของดี

ช่ือ.................................................................เลขท่ี ..................... ช้ัน...............

แบบบนั ทึกผลการประเมนิ การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓

ชดุ ภาษาพาที บทท่ี ๓ ปา่ นม้ี คี ณุ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๙ คำท่มี ีความหมายเหมือนกนั

เลข ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ด้านผลงาน

ที่ รักความเป็นไทย
ใฝ่เรียนรู้
ช่อื – สกลุ ีม ิจตสาธารณะ
ีม ิวนัย
อยู่อย่างพอเพียง
รวมคะแนน ้ดานคุณ ัลกษณะ ฯ
การทำใบงาน ุชด ่ีท ๑๘ – ๑๙
การทำแบบทดสอบห ัลงเรียน

รวม
่ผาน / ไ ่ม ่ผาน

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๒๐ ๑๕ ๔๕

๑ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๓๕ – ๔๐ = ๓








๑๐
ความหมายระดับคณุ ภาพ

๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๔ = ๒

๑ หมายถงึ ปรบั ปรุง ๑๐ – ๒๔ = ๑

เกณฑก์ ารผา่ น ได้คะแนน ๑ ขน้ึ ไป

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมนิ

( .............................................. )


Click to View FlipBook Version