The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 5 ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanyarat Hassaro, 2022-05-11 03:58:49

ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง-1

บทที่ 5 ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง-1

Keywords: ทรัพยากร,สารสนเทศ,อ้างอิง

บทที่ 5
ทรพั ยากรสารสนเทศเพอื่ การอา้ งองิ

ความสาคญั ของหนงั สอื อา้ งองิ

หนังสอื อา้ งอิงเปน็ หนังสอื ท่มี กี ารจัดทาข้ึนเปน็ พเิ ศษ ให้ขอ้ เท็จจริงทเี่ ชอ่ื ถือได้ ใช้
หาคาตอบในเรอื่ งใดเร่ืองหน่งึ ไมอ่ นญุ าตใหย้ ืมออกนอกหอ้ งสมดุ เขียนขึน้ โดย
ผ้ทู รงคุณวุฒแิ ละมีความเชย่ี วชาญในสาขาวชิ าน้นั ๆ โดยเฉพาะมีรูปแบบทงี่ า่ ย สะดวกแก่
การใชค้ น้ คว้า มกี ารจัดเรยี งลาดบั เนอ้ื หาตามลาดับอกั ษรตามหวั ข้อวิชา ตามลาดับ
เหตกุ ารณห์ รือเรียงตามสภาพภมู ศิ าสตร์ มีสว่ นชว่ ยอานวยความสะดวกแก่ผใู้ ชค้ อื
อักษรนาเลม่ คานาทางดรรชนรี ิมกระดาษ หนงั สอื อา้ งองิ เป็นเอกสารทส่ี าคญั ทสี่ ุด ท่ีจะ
ชว่ ยใหง้ านเขยี นเป็นทน่ี ่าเชอื่ ถอื และมีประสิทธิภาพสูงค่าอย่างย่ิง

ความหมายหนงั สอื อา้ งองิ

หนังสอื อ้างองิ คือ หนังสอื ที่รวบรวมสารสนเทศหรือขอ้ ความ
สาหรับใช้คน้ คว้าอา้ งอิงเพยี งตอนใดตอนหนง่ึ ในเลม่ เทา่ นั้นไม่ใช่
หนงั สอื ทีอ่ ่านตลอดท้ังเลม่ เพอ่ื ความสะดวกในการคน้ คว้า
หอ้ งสมุดจะจดั แยกหนงั สืออา้ งอิงออกจากหนงั สอื ธรรมดา และไม่
อนุญาตใหย้ มื ออกจากหอ้ งสมุด

หนงั สอื อา้ งองิ แบง่ ตามลกั ษณะรูปเล่มและเนือ้ หา มี 5 ประเดน็ ดงั นี้

1. ลักษณะรปู เล่มของหนังสืออ้างอิงมคี วามหลากหลาย
ขนึ้ อยกู่ บั ประเภทของหนังสอื อ้างองิ เชน่

1.1 ขนาดใหญม่ าก หรือขนาดเล็กมาก
1.2 แต่ละชดุ มีหลายเลม่
1.3 มกี ารจัดทาดว้ ยวัสดุตา่ งๆ หลากหลาย

2. ผู้รับผิดชอบในการจัดทา เปน็ บุคคลหรอื หน่วยงานทีม่ ีความน่าเชอ่ื ถอื ผ้เู ขียนเป็น
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิและเช่ียวชาญในสาขาวชิ านน้ั ๆ โดยเฉพาะ หนังสืออ้างองิ จึงเป็นหนังสอื ท่ีมคี ณุ ภาพสูง
เนือ้ หาเชอ่ื ถอื ได้ และใชเ้ ปน็ หลกั ฐานอ้างอิงได้

3. การเรยี บเรียงเนื้อหา การเรยี งเน้อื หาของหนงั สืออ้างองิ จะมวี ธิ กี ารเรยี งลาดับเน้อื หา
ให้ค้นไดง้ า่ ยและสะดวกรวดเร็ว เชน่

-เรยี งตามลาดับอกั ษรแบบพจนานกุ รม

-เรยี งตามลาดับเหตุการณ์ เช่น หนงั สือเกยี่ วกบั ประวตั ิศาสตร์

-การเรียงตามลาดบั หมวดหมหู่ รือหัวเร่ือง เชน่ หนงั สือบรรณานุกรม

- เรียงตามลักษณะภูมิศาสตร์ เชน่ หนงั สอื อา้ งองิ ทางภมู ศิ าสตร์ ท่ีมีการแบง่
เนอื้ หาออกเปน็ ภมู ิภาคต่าง ๆ และในแตล่ ะภมู ภิ าคจะเรยี งเนอื้ หาตามจังหวัดและอาเภอตามลาดับ

4. มคี าชีแ้ จงการใช้หนังสอื อา้ งองิ แตล่ ะประเภทมักมีการจดั เรียงเนือ้ หาหรือการ
รวบรวมขอ้ มูลต่างกนั ดังนั้นจึงมีการจดั พิมพ์คาแนะนาในการใช้หนังสือไวต้ อนตน้ ของ
หนงั สือแตล่ ะเลม่ เช่น อธิบายวิธีการเรียงลาดบั เน้อื หาภายในเลม่ อกั ษรย่อ
(abbreviations) สัญลกั ษณ์ (symbols) เครอ่ื งหมาย (sings) ทใี่ ชใ้ นเล่ม ขอบเขตของ
เน้อื หา เปน็ ต้น

5. จัดทาเครอ่ื งมอื ชว่ ยในการคน้ ภายในเลม่ หรือในชดุ ไดแ้ ก่ สารบญั คานาทาง ดชั นี
รมิ หน้ากระดาษ อกั ษรนาเลม่ สว่ นโยง และดชั นี เป็นตน้

ประโยชนข์ องหนงั สอื อา้ งองิ

1. เป็นแหลง่ คน้ ควา้ หาข้อเทจ็ จรงิ ท่ีถกู ตอ้ งแน่นอนไดใ้ นทกุ
สาขาวิชา

2. เปน็ แหลง่ สง่ เสรมิ การศึกษาค้นคว้าวจิ ยั ทุกระดบั
3. เปน็ แหลง่ ที่สามารถค้นหาคาตอบได้สะดวกและรวดเรว็

ตารางสรุปประโยชนข์ องหนงั สอื อา้ งองิ

การเรยี บเรยี งหนงั สอื อา้ งองิ มี 5 วธิ ี

1. เรียบเรียงตามลาดับตัวอักษรแบบพจนานกุ รม
2. เรยี บเรยี งตามลาดบั ตัวอกั ษรโดยแยกเปน็ พวกๆ เชน่ ช่ือ ช่อื คน ช่อื หนังสือ ชื่อ
สถานที่ ชื่อวิชา เป็นตน้
3. เรยี บเรยี งตามลาดับเหตุการณเ์ วลา เช่น เรียงต้งั แตว่ ันที่ 1 มกราคม ถงึ วันท่ี 31
ธันวาคมของปี หรือเรียงลาดับช่อื คนที่เกดิ กอ่ นมาจนถึงคนทเ่ี กดิ หลงั สุด เป็นต้น
4. เรียบเรยี งตามลาดบั แผนการจดั หมู่หนังสือหรอื หมวดหมู่วชิ า เชน่ เรยี บเรียงตาม
เลขหม่ขู องดวิ อี้ เปน็ ตน้
5. เรียบเรียงตามลาดับพน้ื ท่ตี ามภูมศิ าสตร์ เช่น เรยี บเรียงสถานทจ่ี ากเหนอื สดุ ของ
ประเทศลงมาจนถงึ ใต้สุด เป็นตน้

ส่วนชว่ ยในการคน้ ควา้ ของหนงั สอื อา้ งองิ

1. อกั ษรนาเลม่ (Volume Guide)
2. ดรรชนีหวั แม่มือ (Thumb Index) หรือเรยี กวา่ ดรรชนีริมหน้ากระดาษ
3. สารบญั (Table of Contents หรือ Contents)
4. คานาทาง (Guide Word)
5. ส่วนโยง (Cross Reference)

5.1 ดทู ี่ (See)
5.2 ดูเพิม่ เติมที่ (See also)
6. ภาคผนวก (Appendix) คอื ส่วนท่อี ธิบายเพม่ิ เตมิ เน้อื หาให้เขา้ ใจไดด้ ยี ิ่งข้นึ อยู่ใน
ส่วนท้ายเลม่
7. ดรรชนี (Index)

ประเภทของหนงั สอื อา้ งอิง

หนงั สืออ้างองิ จดั แยกตามลักษณะเนื้อหาได้ 2 ประเภท คอื
1. หนังสืออ้างอิงท่ีให้สารสนเทศ เปน็ หนังสือท่ีใหส้ ารสนเทศเฉพาะ

เร่อื งเชน่ พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม อักขรานกุ รมชวี ประวัติ หนังสืออ้างองิ
ทางภมู ิศาสตร์ หนังสือคู่มือ และหนงั สือรายปี

2. หนงั สืออา้ งองิ ทบ่ี อกแหล่งสารสนเทศ เปน็ หนังสือทไ่ี ม่ให้
สารสนเทศโดยตรง แตจ่ ะชี้แนะแหลง่ สารสนเทศในทอี่ นื่ ๆ เช่น หนังสือบรรณานกุ รม
และหนังสอื ดชั นวี ารสาร

รายชื่อหนงั สืออา้ งอิง

1. พจนานุกรม (Dictionary)

พจนานุกรม เป็นหนังสอื ที่ให้ความรเู้ กย่ี วกับคา ไดแ้ ก่ ความหมายของคา ชนิดของคา ตวั สะกด
การันต์ การอา่ นออกเสยี ง คาพอ้ ง คาตรงขา้ ม อักษรยอ่ และสัญลักษณ์ท่เี กีย่ วกับคา อาจมีตวั อยา่ ง
ประโยคแสดงการใช้คา เพื่อประกอบคาอธิบายดว้ ย หนังสอื พจนานกุ รมจดั แบ่งตามเน้ือหาได้ 2 ประเภท
คือ

1.1 พจนานุกรมท่ัวไป คอื พจนานุกรมทีใ่ ห้ความรู้เก่ียวกับคา หรือศพั ท์สามัญที่คนทว่ั ไปใชใ้ น
ชวี ติ ประจาวัน ท้งั ภาษาพดู ภาษาเขียน แบง่ ออกเป็น

1) พจนานุกรมฉบับสมบรู ณ์
2) พจนานุกรมฉบับยอ่
3) พจนานกุ รมสองภาษา
4) พจนานุกรมหลายภาษา
1.2 พจนานุกรมเฉพาะวชิ า คอื พจนานุกรมท่รี วบรวมคาศัพทเ์ ฉพาะวชิ ามาไวใ้ นเล่มเดียวกัน ให้
ความหมายของคาศัพท์นน้ั เช่น ศพั ท์ศาสนา ศัพทเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ ศัพท์คอมพวิ เตอร์

2. สารานุกรม (Encyclopedia)

สารานุกรม คือ หนังสือท่ีรวบรวมความรใู้ นแขนงวชิ าต่างๆ โดยผ้ชู านาญในแตล่ ะสาขาวชิ า
จัดเรียงเนอื้ หาตามลาดบั อักษรหรอื แบ่งเปน็ หมวดหมู่วิชา สารานุกรมอาจมเี ล่มเดยี วจบ หรือเปน็
หนังสอื ชดุ หนังสอื สารานกุ รมจัดแบง่ ตามเน้อื หาได้ 2 ประเภทคอื

2.1 สารานกุ รมทว่ั ไป เปน็ สารานกุ รมท่ีใหค้ วามรู้ในวชิ าตา่ งๆ ไมจ่ ากดั สาขาใหค้ วามรกู้ วา้ ง ๆ
พอเป็นพื้นฐานสาหรับผูอ้ า่ นท่ัวไป แบ่งออกเปน็ สารานุกรมสาหรบั เด็กและสารานุกรมสาหรับผู้ใหญ่
เช่น สารานกุ รมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน

2.2 สารานุกรมเฉพาะวิชา เป็นสารานุกรมทใี่ หค้ วามรใู้ นสาขาวชิ าใดวิชาหน่งึ อย่างละเอยี ด
ลึกซ้ึงกว่า สารานุกรมทั่วไป เขียนโดยผทู้ รงคณุ วฒุ เิ ฉพาะสาขาวิชานั้น ๆ เชน่ สารานุกรม
ประวัติศาสตร์ สารานกุ รมของใชพ้ ้ืนบา้ นไทยในอดีต สารานกุ รมชุดร่างกายของเรา

3. นามานุกรม หรอื ทาเนียบนาม (Directory)

นามานุกรม คือ หนงั สอื ทีร่ วบรวมรายช่ือบคุ คล องค์กรต่างๆ พร้อมสถานทต่ี ง้ั และ
หมายเลขโทรศัพท์ จัดเรียงรายการตามลาดบั อักษร หนังสือนามานกุ รมแบ่งตามเนื้อหา
ได้ 5 ประเภทคอื

3.1 นามานุกรมท้องถิ่น
3.2 นามานกุ รมของรฐั
3.3 นามานุกรมสถาบัน
3.4 นามานุกรมสาขาอาชพี
3.5 นามานุกรมการคา้ และธรุ กจิ

4. อกั ขรานุกรมชวี ประวตั ิ (Biographical Dictionary)

อักขรานุกรมชวี ประวัติ คอื หนงั สอื ท่รี วบรวมประวตั ชิ วี ติ ของบคุ คลสาคัญให้
รายละเอยี ดเก่ียวกับ เช้ือชาติ สถานท่ี เกดิ วัน เดอื น ปี เกิด หรือ ตาย ระดบั
การศึกษา ผลงานดเี ดน่ เปน็ ตน้ หนังสอื อกั ขรานกุ รมชวี ประวตั จิ ดั แบ่งตาม
เนอ้ื หาได้ 3 ประเภทคือ

4.1 อักขรานกุ รมชีวประวัติของบคุ คลทัว่ ไป
4.2 อกั ขรานกุ รมชวี ประวตั ิของบคุ คลเฉพาะเชอ้ื ชาติ
4.3 อกั ขรานกุ รมชีวประวตั ิของบคุ คลเฉพาะอาชพี

5. หนงั สอื อา้ งองิ ทางภูมศิ าสตร ์ (Geographical Sources)

หนังสอื อ้างองิ ทางภูมิศาสตร์ เป็นหนงั สือท่ใี หค้ วามรเู้ กยี่ วกับชอ่ื สถานทีท่ าง
ภมู ศิ าสตร์ และสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ เชน่ ภมู ิประเทศ ภมู อิ ากาศ หนังสือ
อ้างอิงทางภมู ศิ าสตร์จัดแบง่ ตามเน้ือหาได้ 3 ประเภทคอื

5.1 อกั ขรานกุ รมภมู ศิ าสตร์
5.2 หนงั สือนาเทีย่ ว
5.3 หนังสอื แผนที่

6. หนงั สอื คูม่ อื (Handbook)

หนงั สอื คมู่ ือ เป็นหนงั สอื ท่ใี หข้ ้อเท็จจรงิ ตวั เลข สถติ ิต่างๆ ตลอดจนเร่ืองราวที่ควรรู้ใน
สาขาวิชาตา่ ง ๆ โดยเสนอข้อเท็จจรงิ อย่างสัน้ เพ่ือใช้เป็นคู่มอื ในการตอบคาถามเฉพาะ
ดา้ นใดด้านหน่งึ อย่างรวดเรว็ หรอื คูม่ ือปฏิบตั ใิ นวิชาใดวชิ าหนง่ึ เชน่ คมู่ ือในวชิ าเคมี เปน็
ตน้ หนงั สือคู่มือจดั แบง่ ตามเนอ้ื หาได้ 2 ประเภทคือ

6.1 หนังสือค่มู อื ทวั่ ไป หนังสือคมู่ อื ทัว่ ไป ใหค้ วามรู้เบ็ดเตลด็ ทว่ั ๆ ไปไม่
จากดั สาขาวชิ า เชน่ คู่มอื ผซู้ ื้อ Guinness Book of World Records เปน็ ต้น

6.2 หนงั สือคู่มือเฉพาะวิชา รวบรวมความรูเ้ ฉพาะสาขาวิชาพร้อม
คาอธิบายอย่างสัน้ ๆ

7. หนงั สอื รายปี (Yearbook)

หนังสือรายปี คอื หนังสอื ที่พิมพ์ออกเป็นรายปี ใหข้ ้อมลู ขา่ วสาร ในรอบปที ี่ผา่ นมา โดย
นาเสนอสารสนเทศแบบพรรณนาอย่างสั้นๆ มตี วั เลข ตาราง สถิตปิ ระกอบ หนงั สอื รายปแี บ่งได้
4 ประเภทคือ

7.1 หนังสอื รายปขี องสารานุกรม จดั ทาข้นึ เพือ่ ปรับปรุงเน้อื หาในสารานุกรมให้
ทันสมัยอยู่เสมอเปน็ ประจาทกุ ปี

7.2 หนังสือสรปุ ผลงานประจาปี เป็นหนังสือรายงานผลงานประจาปีของ
หน่วยงานท้งั ภาครฐั และหนว่ ยงานเอกชน

7.3 หนงั สือรายปเี ฉพาะด้าน จะให้ข้อมูลสงั เขปพรอ้ มตวั เลขสถติ ิเกย่ี วกับความ
เจริญกา้ วหนา้ ทางวิชาการใน สาขาใดสาขาหนง่ึ หรอื เรื่องราวของประเทศใดประเทศหนึ่ง

7.4 สมดุ สถติ ิรายปี จะรวบรวมเฉพาะสถิติตวั เลขทางดา้ นตา่ ง ๆ

8. ปฏทิ นิ เหตกุ ารณร์ ายปี หรอื สมพตั สร (Almanac)

ปฏิทนิ เหตุการณร์ ายปี หรือสมพตั สร เป็นหนงั สือที่รวบรวมขา่ ว เหตุการณส์ าคัญ
สถติ ิ ในรอบปีท่ผี ่านมา รวมท้งั ความร้เู บ็ดเตลด็ ต่าง ๆ โดยนาเสนอสารสนเทศเรยี งตาม
วนั เดือนปี หนังสอื สมพตั สรจดั แบ่งตามเน้อื หาได้ 2 ประเภทคือ

8.1 ปฏทิ นิ เหตุการณ์รายปีทีใ่ ห้เรื่องราวท่วั ๆ ไปทกุ ดา้ น

8.2 ปฏิทนิ เหตุการณ์รายปที ี่ใหเ้ รื่องราวเฉพาะสาขาวิชาใดวชิ าหนึ่งหรอื
เฉพาะดา้ น

9. หนงั สอื สงิ่ พมิ พร์ ฐั บาลจดั แบ่งตามเนือ้ หาได ้ 17 ประเภทคอื

9.1 รายงานการบริหาร 9.8 กฎหมาย รวมบทกฎหมาย 9.13 เรอ่ื งราวและรายละเอยี ด

9.2 รายงานสถิติ และประมวลกฎหมายต่างๆ ต่างๆ ของราชการ

9.3 รายงานของคณะกรรมการ 9.9 คาพิพากษา และความเห็น 9.17 วารสาร

ตา่ งๆ ศาล 9.18 ขา่ วเก่ียวกบั ขอ้ เท็จจรงิ

9.4 รายงานการคน้ ควา้ และ 9.10 ระเบยี บ กฎข้อบงั คบั และ นโยบาย ความคดิ เหน็ และการ

วจิ ัย คูม่ ือตา่ งๆ ดาเนนิ งานตามแผนพัฒนา

9.5 ร่างกฎหมายและมติต่างๆ 9.11 ทาเนียบ และทะเบียน 9.19 แผนท่ี และแผนภมู ิ

9.6 ผลการพจิ ารณา 9.12 บรรณานกุ รม และรายชอ่ื 9.20 ภาพยนตร์ อปุ กรณ์โสต

9.7 วารสารและรายงานการ ตา่ งๆ ทัศนว์ ัสดุ และแบบจาลองตา่ งๆ

ประชุม

10. หนงั สอื ดชั นี (Index)

หนังสอื ดัชนี เป็นหนงั สอื ทรี่ วบรวมรายชอ่ื บทความจากวารสารตา่ งๆ ใหร้ ายละเอยี ดทาง
บรรณานกุ รมของวารสาร ไดแ้ ก่ ช่ือผ้แู ตง่ หรือผู้เขียนบทความ ชือ่ วารสาร ปที ่ีออก ฉบับ
ท่ีออก และเลขหนา้ ท่ีปรากฏบทความ หนงั สือดัชนีบางเลม่ ให้สาระสงั เขปเนอื้ เรอื่ งเพ่อื ให้
ผูค้ ้นควา้ ทราบขอบเขต เน้ือเรื่องในบทความก่อนไปอา่ นบทความฉบบั จรงิ หนงั สอื ดัชนี
จดั แบ่งตามเนอื้ หาได้ 4 ประเภทคอื

10.1 ดรรชนีวารสาร
10.2 ดรรชนีหนังสอื พมิ พ์
10.3 ดรรชนหี นังสอื รวมเรอ่ื ง
10.4 ดรรชนีท่ีห้องสมุดจัดทา

11. หนงั สอื บรรณานุกรม (Bibliography)

หนงั สอื บรรณานุกรม เป็นหนังสอื ทีร่ วบรวมรายช่ือทรัพยากรสารสนเทศตา่ งๆ ให้
รายละเอยี ดทางบรรณานกุ รมของหนังสือ ไดแ้ ก่ ชื่อผู้แต่ง ชอื่ หนังสอื ปีท่ีพิมพ์
สถานทพี่ ิมพ์ เพื่อให้ผคู้ ้นควา้ สามารถตดิ ตามหาหนงั สอื ทต่ี ้องการได้ หนังสือ
บรรณานกุ รมจดั แบง่ ตามเนือ้ หาได้ 5 ประเภทคอื

11.1 บรรณานกุ รมสากล
11.2 บรรณานกุ รมแห่งชาติ
11.3 บรรณานุกรมรา้ นค้า
11.4 บรรณานกุ รมเฉพาะวชิ า
11.5 บรรณานุกรมเลือกสรร

สรปุ

หนงั สอื อ้างอิง เปน็ หนงั สอื ที่จัดทาขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อใชห้ าคาตอบหรอื ข้อเทจ็ จรงิ เกีย่ วกับ
เร่ืองใดเรือ่ งหน่ึง มลี ักษณะแตกตา่ งจากหนังสอื ทั่วไปทั้งลกั ษณะรูปเล่ม การเรียบเรียง รวมทั้งการ
มีเคร่อื งมือชว่ ยคน้ ภายในเล่ม หนังสอื อา้ งอิงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทบอก
แหลง่ สารนิเทศ ได้แก่หนงั สือบรรณานุกรมและหนังสอื ดัชนี และประเภทตอบคาถามไดท้ นั ที ไดแ้ ก่
หนงั สือพจนานกุ รม สารานกุ รม นามานุกรม อักขรานกุ รมชวี ประวตั ิ หนงั สอื อา้ งอิงทางภูมศิ าสตร์
หนังสือคู่มือ และหนังสือรายปี การใชห้ นังสืออา้ งอิง นอกจากจะทาความเข้าใจเกย่ี วกับขอบเขต
เนือ้ หาของหนังสืออ้างองิ แต่ละประเภทแลว้ ผู้ใชย้ ังตอ้ งรจู้ ักใช้เครอ่ื งมอื ชว่ ยคน้ ควา้ ภายในเลม่
เช่น สารบัญ คานาทาง อักษรนาเล่ม ส่วนโยง ดัชนรี ิมกระดาษ และดัชนีคาสาคญั ทา้ ยเล่ม เป็นตน้
รวมทงั้ การอา่ นคาชแี้ จงหรอื วธิ ใี ช้กอ่ นการคน้ คว้า เพ่ือให้ทราบถงึ ลกั ษณะการเรียบเรียงเน้ือหา
เครอ่ื งหมายหรือสัญลกั ษณพ์ เิ ศษทใี่ ช้ในเลม่ เพ่ือให้สามารถเข้าถงึ สารสนเทศทีต่ อ้ งการไดอ้ ย่าง
รวดเร็ว


Click to View FlipBook Version