The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติการก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มช.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tanasak Chaiya, 2020-07-02 23:04:36

ประวัติการก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มช.

ประวัติการก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มช.

Keywords: vet-

ประวตั แิ รกตงั้ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
จดั ท�ำโดย คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

พิมพค์ รง้ั แรก กุมภาพันธ์ 2557

ข้อมูลทางบรรณานกุ รมของสำ� นักหอสมุดแหง่ ชาติ

มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. คณะสัตวแพทยศาสตร์.
ประวัติแรกตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / คณะสัตว

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ เชียงใหม:่ มหาวิทยาลัย, 2557.
46 หน้า: ภาพประกอบ
ISBN 978-974-672-862-1
1. มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ คณะสตั วแพทยศาสตร์ - - ประวตั .ิ 2. มหาวทิ ยาลยั

เชยี งใหม.่ คณะสตั วแพทยศาสตร์ - - การบรหิ าร. 3. มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ คณะสตั ว
แพทยศาสตร์ - - อาคาร. I. ชื่อเร่อื ง.
378.5936
LG 395

สารบัญ หนา้
1
ประวตั แิ รกตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ 21
ภาคผนวก 22
23
ความหมายอาคาร 24
ความหมายรปู ปั้นนูนต่�ำตดิ ผนงั 26
ความหมายภาพเขยี นฝาผนัง 27
ภาพประกอบ 37
การกอ่ สร้างอาคารคณะสัตวแพทยศาสตร์ 39
พธิ ีเปิดอาคาร 42
การก่อสรา้ งอาคารโรงพยาบาลสัตวเ์ ล็ก 43
พธิ ีเปิดโรงพยาบาลสัตวเ์ ล็ก 44
อาคารโรงพยาบาลสัตว์ใหญ่ 45
หน่วยชนั สูตรโรคสัตว์ 46
โรงพยาบาลสตั วท์ ้องถ่ิน 47
พิธเี ปดิ โรงพยาบาลสัตวท์ อ้ งถนิ่ 48
ศูนยฝ์ กึ อบรมทางสัตวแพทย์ 50
ศูนย์ฝึกสัตวแพทย์และฟาร์มทดลอง 52
บัณฑติ รนุ่ แรกๆ ของคณะ 55
พระราชกฤษฎกี าจัดตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
3
ทบวงมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2537
คำ� สงั่ แต่งตงั้ คณะท�ำงานจัดท�ำหนังสอื ทรี่ ะลึก

คำ�นำ�

นบั ตง้ั แตม่ พี ระราชกฤษฎกี าจดั ตงั้ คณะสตั วแพทยศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ในราชกจิ
จานุเบกษา เมอื่ วนั ท่ี 2 สิงหาคม 2537 ปัจจบุ นั เป็นเวลาเกือบ 20 ปี แล้ว สมาชิกผมู้ ีคุณปู การ
รุ่นแรกก่อตั้งคณะฯ ทะยอยเกษียณอายุไปตามกาลเวลา จึงเห็นสมควรให้มีการจัดท�ำหนังสือ
ประวตั แิ รกตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหมเ่ พอื่ รวบรวมประวตั คิ วามเปน็ มากอ่ น
ระหวา่ ง และหลงั การกอ่ ตงั้ คณะฯ ขนึ้ ใหม่ เพอ่ื เปน็ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ วใ้ หอ้ นชุ นรนุ่ หลงั
ได้ศึกษาและทราบถึงประวัติการก่อตั้งคณะฯการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้คณะท�ำงานจัดท�ำหนังสือฯ
ไดร้ วบรวมขอ้ มลู โดยการสมั ภาษณค์ ณะกรรมการจดั ตง้ั คณะฯทกุ ทา่ น ทงั้ มกี ารบนั ทกึ วดี ทิ ศั นเ์ พอ่ื
เก็บไว้เป็นประวัติจากค�ำบอกเล่า (oral history) จัดเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์และหอประวัติคณะฯ
อีกด้วยซึ่งคณะฯ ขอขอบพระคุณท่านผู้มีพระคุณทุกท่านเป็นอย่างมากท่ีกรุณาให้ข้อมูลท�ำให้
หนังสือประวัติแรกก่อต้ังคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่มน้ีมีความครบถ้วน
สมบรู ณ์
ขอขอบคุณทุกท่านในคณะท�ำงานจัดท�ำหนังสือฯ ภายใต้การน�ำของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
พนั โท นายสตั วแพทย์ ชำ� นาญ ตรณี รงค์ และอาจารยน์ วลลออ จลุ พป์ุ สาสน์ ทช่ี ว่ ยทำ� งานรวบรวม
สมบัติท่ีมีค่ายิ่งช้ินนี้ไว้ เพราะการอ่านประวัติย่อมมีเร่ืองราวท่ีสะท้อนความส�ำเร็จ ความทุ่มเท
และความเสยี สละของบคุ คลตา่ งๆ ไวใ้ หไ้ ด้รับรู้ในระหว่างบรรทัดดว้ ย โดยการรำ� ลึกถึงคณุ ปู การ
ของคนรนุ่ กอ่ นยอ่ มจะโนม้ นำ� มงคลและความสขุ สวสั ดมี ายงั คนรนุ่ ตอ่ ๆไปในองคก์ รอนั เปน็ ทร่ี กั ยง่ิ
ของพวกเราชาวสตั วแพทยด์ อยคำ� แห่งน้ี

(รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.เลิศรกั ศรีกจิ การ)
คณบดคี ณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่
27 กมุ ภาพันธ์ 2557

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประวตั ิแรกตัง้
ยงยุทธ สัจจวาณิชย์ คณะสัตวแพทยศาสตร์
รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
ดร. ดำ� รง พฤกษราช
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยอธิการบดี ศาสตราจารย์ นายแพทย์
เรือโท ยงยทุ ธ สัจจวาณิชย์ (ดำ� รงต�ำแหนง่ วนั ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2518
ถึง 21 มกราคม พ.ศ. 2520) ไดม้ ีดำ� ริทจ่ี ะมคี ณะสตั วแพทยศาสตร์ขน้ึ ใน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค อธิการบดีได้ไป
ติดต่อพูดคุยกับสัตวแพทย์หลายท่านเพ่ือให้มาช่วยก่อตั้งคณะ
สตั วแพทยศาสตร์ เชน่ ตดิ ตอ่ กบั รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.ดำ� รง
พฤกษราช แหง่ ภาควชิ าจลุ ชวี วทิ ยาทางสตั วแพทย์ คณะสตั วแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยขณะนัน้ ได้มกี ารพบปะพดู คุยกัน เรือ่ งรา่ ง
หลักสูตรบ้าง แต่ระหว่างที่ด�ำเนินการอาจติดขัดเร่ืองงบประมาณ
การดำ� เนินการจึงยังไม่สำ� เรจ็
ต่อมาในสมยั อธิการบดี ศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก นายแพทย์
ตะวนั กงั วานพงศ์ (ดำ� รงตำ� แหนง่ สมยั ท่ี 2 วนั ท่ี 21 มกราคม พ.ศ. 2522
ถึง 20 มกราคม พ.ศ. 2524) มีการสนับสนุนให้มีการก่อต้ังคณะ
สัตวแพทยศาสตร์อีกคร้ัง แต่ก็ยังประสบปัญหาเร่ืองงบประมาณ จึงยังไม่
สามารถเริ่มด�ำเนนิ การได้

1

ความพยายามในการก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก
เชียงใหม่ท�ำได้เกือบส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2529 เกิดจากด�ำริของทางฝ่าย นายแพทย์ ตะวนั กงั วานพงศ์
การเมือง โดยมี นายปรดี า พัฒนถาบุตร ซึง่ เปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฏร
จังหวัดเชียงใหม่ และเป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ได้ให้กอง นายปรดี า พัฒนถาบตุ ร
แผนงาน ส�ำนักปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ท�ำโครงการจัดตั้งคณะ
สัตวแพทยศาสตร์ เสนอให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมีศาสตราจารย์
นายแพทยอ์ าวธุ ศรีสุกรี เป็นอธิการบดี (ด�ำรงต�ำแหน่งวนั ท่ี 21 มกราคม
พ.ศ. 2528 ถึง 20 มกราคม พ.ศ. 2532) บรรจุโครงการจัดต้ังคณะ
สัตวแพทยศาสตร์ เข้าไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ ระยะที่ 6 (พ.ศ. 2530 ถึง 2534) เป็นแผนระยะ 5 ปี
ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และนายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ยงยุทธ สัจจวาณิชย์ (ด�ำรงต�ำแหน่งวันท่ี 8
พฤศจิกายน พ.ศ. 2527 ถงึ 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2529) ไดร้ บั ค�ำแนะนำ�
จากรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย (นายปรีดา พัฒนถาบุตร) ให้เชิญ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. ด�ำรง พฤกษราช อาจารย์ประจ�ำ
ภาควิชาจุลชีววิทยาทางสัตวแพทย์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ มาชว่ ยดำ� เนนิ การจดั ทำ� รายละเอยี ดรา่ งโครงการจดั ตงั้ คณะ
สัตวแพทยศาสตร์ข้ึนที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แต่ด้วยข้อจ�ำกัดด้าน
งบประมาณ รวมทั้งบุคลากรท่ีจะมาเป็นผู้ด�ำเนินการ ประกอบกับมีการ
เปลย่ี นแปลงทางการเมอื ง มกี ารเปลย่ี นรฐั บาล และนายปรดี า พฒั นถาบตุ ร
ไมไ่ ดเ้ ปน็ รฐั มนตรวี า่ การทบวงมหาวทิ ยาลยั จงึ ทำ� ใหก้ ารผลกั ดนั การจดั ตง้ั
คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ยงั ไม่ประสบผลส�ำเร็จ
ในปี พ.ศ. 2534 ความพยายามดำ� เนนิ การกอ่ ตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ทำ� ได้สำ� เรจ็ ในสมยั ศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ กษม
วฒั นชยั อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (ดำ� รงตำ� แหนง่ วนั ท่ี 21 มกราคม
พ.ศ. 2532 ถงึ 20 มกราคม พ.ศ. 2535)

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อาวุธ ศรสี ุกรี

2

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ เกษม วัฒนชยั เร่ิมจากการแต่งต้ังคณะกรรมการรับผิดชอบในการจัดตั้งคณะ
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ โชติ ธตี รานนท์ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยแต่งตั้ง ศาสตราจารย์
นายแพทย์โชติ ธีตรานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและพัฒนา
เป็นประธานคณะกรรมการรับผิดชอบในการจัดต้ังคณะสัตวแพทยศาสตร์
รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.นวิ ตั น์ มณกี าญจน์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
นายสตั วแพทย์ พทิ ยศักดิ์ ไวทยการ และอาจารย์ สัตวแพทยห์ ญิง ทศั นยี ์
ไหลมา รว่ มเปน็ กรรมการ
และในขณะเดียวกันให้มีการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการร่างหลักสูตร
สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ข้ึนอีกชุดหนึ่ง โดยมี
รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.นวิ ตั น์ มณกี าญจน์ เปน็ ประธานคณะ
อนุกรรมการ มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ พิทยศกั ด์ิ ไวทยการ
เป็นอนุกรรมการ และอาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ทัศนีย์ ไหลมา
เปน็ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร นอกจากนน้ั ฝา่ ยผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ไดแ้ ก่ ปศสุ ตั ว์
จังหวัดเชียงใหม่ และตัวแทนบริษัทเอกชน ได้แก่ บริษัท กิตติวัฒน์
ฟดี สเปเชยี ลลสิ ต์ จำ� กดั มารว่ มเปน็ กรรมการรา่ งหลกั สตู รดว้ ย รวมทงั้ เชญิ
อาจารยจ์ ากภาควชิ าตา่ ง ๆ จากคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
ซ่ึงจะช่วยสอนกระบวนวิชาต่าง ๆ ในระดับวิชาเตรียมสัตวแพทย์ร่วมให้
ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะดว้ ย

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์
ดร. นิวตั น์ มณกี าญจน์

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ อาจารย์ สัตวแพทย์หญงิ ทัศนยี ์ ไหลมา
ดร. เทอด เทศประทีป พิทยศักด์ิ ไวทยการ
3

คณะกรรมการทง้ั 2 ชดุ คอื คณะกรรมการจดั ตงั้ คณะสตั วแพทยศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. สงา่ สรรพศรี
และคณะอนกุ รรมการรา่ งหลกั สตู รฯ ไดม้ กี ารประชมุ กนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์
มคี วามกา้ วหนา้ เปน็ อยา่ งดี ทางมหาวทิ ยาลยั ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการจดั ขอ
งบประมาณแผ่นดินมาเร่ิมด�ำเนินการ ได้มีการพิจารณาสถานท่ีท่ีจะใช้ใน ดร. เทอด เทศประทีป
การกอ่ สร้างคณะสตั วแพทยศาสตรไ์ ว้ 3 แหง่ คือ

1. สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ ต�ำบลแม่เหียะ
อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหม่

2. พื้นท่ีของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีต�ำบลศรีบัวบาน อ�ำเภอเมือง
จงั หวดั ลำ� พูน

3. พ้ืนท่ีบริเวณหลังศูนย์วิจัยชาวเขา ในบริเวณมหาวิทยาลัย
เชียงใหม่

จากการพจิ ารณาของคณะกรรมการกอ่ ตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตร์ รว่ ม
กบั ทบวงมหาวทิ ยาลยั ไดข้ อ้ สรปุ ใหใ้ ชพ้ นื้ ทใ่ี นสถานวี จิ ยั และศนู ยฝ์ กึ อบรม
การเกษตรที่ต�ำบลแม่เหียะ เนื่องจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จ�ำเป็น
ที่จะต้องใช้พื้นท่ีมากในการสร้างอาคารเรียน โรงพยาบาลสัตว์ใหญ่
โรงพยาบาลสัตว์เล็ก การสร้างศูนย์ฝึกอบรม และอื่นๆ ซึ่งจะต้องใช้พื้นที่
ไมน่ อ้ ยกวา่ 50 – 60 ไร่ และจะตอ้ งไมห่ า่ งไกลจากทต่ี ง้ั หลกั ของมหาวทิ ยาลยั
มากจนเกนิ ไป และโรงพยาบาลสตั วเ์ ลก็ กจ็ ะตอ้ งอยใู่ กลช้ มุ ชนเมอื ง
ในส่วนของคณะอนกุ รรมการรา่ งหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต
ได้ประชุมร่างหลักสูตรและน�ำเสนอต่อคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ของ
มหาวทิ ยาลยั มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข จนกระทงั่ หลกั สตู รไดร้ บั ความเหน็ ชอบ
จากสภามหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ในคราวประชมุ วันท่ี 14 เดอื นพฤศจิกายน
พ.ศ.2535 โดยในขณะนัน้ ศาสตราจารย์ ดร.สงา่ สรรพศรี เปน็ นายกสภา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ด�ำรงต�ำแหน่งสมัยที่ 3-4 วันที่ 20 กรกฎาคม
พ.ศ. 2533 ถึง 19 มกราคม พ.ศ. 2536) ส่ิงหน่ึงทีค่ ณะอนกุ รรมการรา่ ง
หลักสูตรได้ร่วมกันคิดเพื่อท่ีจะให้การจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นไปอย่างดี และมีความเข้มแข็งทางวิชาการที่
สามารถเทียบเคียงได้กับคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งอ่ืนๆ ที่มีอยู่ก่อนแล้ว
จึงจ�ำเป็นที่จะต้องหาบุคคลที่จะมาด�ำเนินการอย่างเต็มตัว (Full time)
คณะอนกุ รรมการไดม้ คี วามเหน็ รว่ มกนั วา่ รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์
ดร. เทอด เทศประทีป ซ่ึงขณะนั้นเป็นรองคณบดีฝ่ายวิชาการของคณะ
สัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ที่มีประสบการณ์สูง
ท้ังทางด้านวิชาการและการบริหารการศึกษาทางด้านสัตวแพทย์ คณะ

4

รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ อนกุ รรมการจงึ มอบหมายใหผ้ ชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ พทิ ยศกั ด์ิ
ดร. นิวัตน์ มณกี าญจน์ ไวทยการ ไปทาบทามเป็นการภายในก่อน ซ่ึงรองศาสตราจารย์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ นายสัตวแพทย์ ดร. เทอด เทศประทีป ได้ตอบรับและยินดีมาร่วมก่อตั้ง
สมั พันธ์ ศรสี วุ รรณ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
ในช่วงน้ันศาสตราจารย์ นายแพทย์ โชติ ธีตรานนท์ ได้ขึ้นด�ำรง
ต�ำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2535 ถึง 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) และได้มอบหมายให้ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ สัมพันธ์ ศรสี ุวรรณ รองอธกิ ารบดีฝ่ายแผนงาน
และพัฒนา รบั ผิดชอบโครงการจดั ตั้งคณะสตั วแพทยศาสตรต์ อ่ โดยบรรจุ
โครงการจดั ตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เขา้ ไวใ้ นแผน
พัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ระยะท่ี 7 (พ.ศ. 2535 ถึง
2539) และได้รับการสนับสนุนอย่างดีย่ิงจากสภามหาวิทยาลัย
ซง่ึ ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร. สปิ ปนนท์ เกตทุ ตั เปน็ นายกสภามหาวทิ ยาลยั
(ด�ำรงตำ� แหน่งวันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2535 ถึง 31 มกราคม พ.ศ. 2540)
ไดใ้ หค้ วามคดิ เหน็ วา่ คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ควรให้
ความสำ� คญั กับสัตวใ์ หญ่ใหม้ าก
ตอ่ มาในเดอื นเมษายน พ.ศ. 2536 อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
ไดม้ บี นั ทกึ ถงึ อธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ขอเชญิ รองศาสตราจารย์
นายสัตวแพทย์ ดร. เทอด เทศประทีป รองคณบดีฝ่ายวิชาการของคณะ
สตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มาเปน็ ทปี่ รกึ ษาในการดำ� เนนิ
โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้ขอ
ยมื ตัวมาชว่ ยราชการตง้ั แตว่ ันท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ. 2536

ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ณุ ดร. สปิ ปนนท์ เกตุทัต

5

ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2536 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีค�ำส่ังท่ี
2009/2536 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบจดั ตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ใหม้ กี ารจดั ตงั้ คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
เชียงใหม่ และสามารถรับนกั ศกึ ษาได้ในปกี ารศึกษา 2539 คณะกรรมการ
ดงั กลา่ วประกอบดว้ ย

1. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ สัมพันธ์ ศรสี วุ รรณ
รองอธกิ ารบดฝี า่ ยแผนงานและพัฒนา ประธานกรรมการ
2. รองศาสตราจารย์ ดร. วจิ ติ ร ศรีสุพรรณ
รองอธิการบดฝี ่ายวชิ าการ รองประธานกรรมการ
3. รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. นิวัตน์ มณีกาญจน์
กรรมการ
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ พิทยศักดิ์ ไวทยการ
กรรมการ
5. ปศสุ ัตว์จังหวัดเชยี งใหม่
กรรมการ
6. หวั หน้าภาควชิ าสตั วบาล คณะเกษตรศาสตร์
(รศ.ดร.บญุ เสริม ชีวอิสระกุล)
กรรมการ
7. นายสัตวแพทย์ววิ ัฒน์ ชุนรักษา
กรรมการ
8. ผู้อ�ำนวยการกองแผนงาน (นายนพพร สงิ หพทุ ธางกรุ )
กรรมการ
9. รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. เทอด เทศประทีป
กรรมการและเลขานุการ
10. สตั วแพทยห์ ญิง ทศั นยี ์ ไหลมา
กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร
11. หวั หนา้ งานวเิ คราะห์แผนและงบประมาณ
(นายไพรชั ตระการศริ ินนท)์
กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
12. นายสัตวแพทยภ์ าวนิ ผดุงทศ
ผู้ช่วยเลขานุการ
ต่อมามีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพ่ิมเติมอีกหลายท่านเช่น
นายสัตวแพทย์ กรรชัย แสนวงศ์ นายสัตวแพทย์สากล ชน่ื กุล สตั วแพทย์
จากชมรมสัตวแพทย์ล้านนา นายสัตวแพทย์พงษ์เผ่า หอสถิตธรรม
นายสัตวแพทย์วทิ ยา ทิมสาด และนายสตั วแพทย์ ดร. เลิศรัก ศรกี ิจการ
ซ่ึงทางชมรมก็ไดม้ ีสว่ นสนับสนนุ ด้วยดี

6

การจัดตั้งคณะในมหาวิทยาลัยต้องผ่านคณะรัฐมนตรีเพื่อประกาศ
ลงในราชกิจจานุเบกษา ดังน้ันเพ่ือให้คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้รับการ
ประกาศเปน็ คณะหนง่ึ ในมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จงึ ไดม้ กี ารประสานงานกบั
หลายฝ่ายเพ่ือท�ำให้ผ่านมติของคณะรัฐมนตรีและได้ประกาศลงใน
ราชกิจจานเุ บกษา ในการนี้ นายสัตวแพทย์นิวัฒน์ สนิ สวุ งศ์ เปน็ ผ้ดู �ำเนนิ
การประสานงานดังกล่าว และในเร่ืองของงบประมาณสนับสนุนนั้น ด้วย
ความช่วยเหลอื ของอาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ทศั นีย์ ไหลมา ได้ติดตอ่ ทาง
สำ� นกั งบประมาณจนไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ ในท่สี ดุ
ในวันท่ี 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศ
พระราชกฤษฎีกา เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังส่วนราชการใน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2537” ซึ่งส่วน
ราชการดังกล่าวรวมคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดว้ ยพระราชกฤษฎกี าดังกล่าวได้รับการประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา
เล่มท่ี 111 ตอนท่ี 32 ก. หน้า 49 ลงวันที่ 2 สงิ หาคม พ.ศ. 2537 มผี ล
บังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ในทา้ ยประกาศมหี มายเหตแุ จง้ วา่ เหตผุ ลในการประกาศพระราชกฤษฎกี า
ฉบับนี้ คือ โดยท่ีเป็นการสมควรจัดต้ังคณะสัตวแพทยศาสตร์ขึ้นใน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อผลิตบัณฑิตทางด้าน
สัตวแพทยใ์ ห้สอดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ
ในระยะแรกผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทนั ตแพทย์ สมั พันธ์ ศรสี ุวรรณ
ทำ� หนา้ ทร่ี กั ษาการคณบดคี ณะสตั วแพทยศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ตอ่
มาสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยศาสตราจารย์ ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต
นายกสภามหาวทิ ยาลยั ไดป้ ระกาศแตง่ ตง้ั รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์
ดร. เทอด เทศประทีป ข้ึนด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เปน็ คนแรก ตง้ั แตว่ นั ที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2538

7

การเรยี นการสอน


แนวคิดในการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เพ่ือตอบสนองการขาดบุคลากรสัตวแพทย์ระดับปริญญา ตามมติคณะ
รฐั มนตรี โดยเปน็ คณะสตั วแพทยศาสตรแ์ หง่ แรกในภาคเหนอื เปดิ หลกั สตู ร
ปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 6 ปี) โดยหลักสูตรพัฒนา
มาจากผลการประชุมสัตวแพทยศาสตร์ศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 1 ในปี
พ.ศ. 2538 โดยมงุ่ เนน้ บรู ณาการ (Subject integration) การเรยี นร้จู าก
การแก้ปัญหา (Problem-Based Learning: PBL) และเน้นการสร้าง
ประสบการณ์วิชาชีพ (Professional skills) ระยะแรกยังไม่มีการจัดตั้ง
สัตวแพทยสภา มีเพียงสัตวแพทยสมาคม ได้ก�ำหนดหลักสูตรการเรียน
การสอน 6 ปี และมีการตกลงเรื่องโครงสร้างของหลักสูตรท่ีเน้นเกี่ยวกับ
สตั วแ์ ตล่ ะชนดิ (Species orientation) โดยใหเ้ พม่ิ การปฏบิ ตั งิ านจรงิ ดา้ น
สัตวแพทย์และมีต้นแบบจากมหาวิทยาลัย 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัย
มิชิแกนแห่งรัฐ (Michigan State University) ซึ่งน�ำรูปแบบการเรียน
การสอนแบบหมุนเวียนปฏิบัติตามคลินิก (Rotation) และแยกตามสัตว์
แต่ละชนิด (Species orientation) มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ (Cornell
University) และมหาวิทยาลยั โอไฮโอ (Ohio State University) ซ่ึงเนน้
การเรยี นแบบบรู ณาการวิชาตา่ งๆ เข้าดว้ ยกัน เช่น วชิ าโครงสร้างและการ
ท�ำงานของรา่ งกาย (Body Structure and Function: BSF) และ วชิ าไข
ปัญหาบูรณาการทางสัตวแพทย์ (Veterinary Integrative Problem
Solvings: VIPs) เพ่ือให้นักศึกษามองภาพองค์รวมได้มากกว่าแยกเป็น
คนละสว่ นกนั
แบ่งการเรียนออกเปน็ ระบบ 1 2 3 คือ
- ปี 1 วิชาเตรยี มสตั วแพทย์ และวชิ าศึกษาทัว่ ไป
(Pre-veterinary Medicine)
- ปี 2 และ 3 วชิ าพรคี ลินิกทางสตั วแพทยศาสตร์
(Preclinical Veterinary Medicine)
- ปี 4,5 และ 6 วิชาคลนิ ิกทางสตั วแพทยศาสตร์
(Clinical Veterinary Medicine)
ปสี ุดท้าย (ปี 6) เป็นการฝึกปฏิบตั กิ ารแยกชนดิ สตั ว์ และมีกระบวน
วิชาให้เลือกจ�ำนวน 12 หน่วยกิตเพื่อเตรียมการสร้างประสบการณ์และ
ความพร้อมกอ่ นจบการศึกษา

8

คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ แบง่ สว่ นราชการเปน็
ส�ำนักงานเลขานุการ แต่เพ่ือความเข้มแข็งทางวิชาการ ทางคณะสัตว
แพทยศาสตร์จึงได้แบง่ โครงสร้างทางวชิ าการเปน็ การภายในดงั น้ี
มกี ารแบง่ โครงสร้างทางวิชาการ ออกเป็น 2 กลุ่มวิชา ได้แก่
1. กลุม่ วิชาคลินกิ สัตว์เล้ยี งเป็นเพ่ือน
2. กลุม่ วิชาคลนิ ิกสัตวเ์ ล้ียงเพือ่ บริโภค
ต่อมา ปี พ.ศ. 2539 มีการแบ่งโครงสร้างทางวิชาการออกเป็น
6 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่
1. สาขาวิชาสตั วแพทยส์ าธารณสขุ และโรคสัตว์เขตร้อน
2. สาขาวชิ าคลนิ กิ โคนม
3. สาขาวชิ าคลินิกม้า
4. สาขาวิชาคลนิ ิกสตั ว์เลี้ยง
5. สาขาวิชาคลนิ กิ ชา้ งและสัตวป์ ่า
6. สาขาวิชาคลนิ ิกสัตว์บรโิ ภค
และต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ไดป้ รบั โครงสร้างทางวชิ าการออกเปน็
8 สาขาวชิ า ได้แก่
1. สาขาวชิ าสัตวแพทย์สาธารณสขุ
2. สาขาวชิ าคลนิ ิกสตั วเ์ คย้ี วเออ้ื ง
3. สาขาวชิ าคลนิ กิ มา้
4. สาขาวชิ าคลินิกสตั วเ์ ล็ก
5. สาขาวิชาคลนิ ิกชา้ งและสัตว์ปา่
6. สาขาวชิ าคลนิ กิ สตั วบ์ รโิ ภค
7. สาขาวิชาพรีคลินกิ ทางสตั วแพทย์
8. สาขาวชิ าพาราคลนิ กิ ทางสตั วแพทย์
พ.ศ.2551 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เปล่ียนฐานะเป็นมหาวิทยาลัย
ในกำ� กบั ในปี 2552 คณะสตั วแพทยศาสตรไ์ ดแ้ บง่ สว่ นงานภายในออกเปน็
6 หน่วยงานตามประกาศมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เรอ่ื ง การแบ่งหนว่ ยงาน
ในส่วนงานวิชาการและส่วนงานอ่ืน (ฉบับท่ี 2) เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์
2552 ได้แก่
1. สำ� นักงานคณะ
2. ภาควิชาคลนิ ิกสัตวบ์ ริโภค
3. ภาควชิ าคลินกิ สตั ว์เล้ยี งและสตั ว์ปา่
4. ภาควชิ าชีวศาสตรท์ างสัตวแพทยแ์ ละสัตวแพทย์สาธารณสุข
5. ศูนยบ์ รกิ ารสขุ ภาพสตั ว์
6. ศูนยส์ ัตวแพทยส์ าธารณสุขเอเชียแปซิฟกิ

9

เม่ือวันท่ี 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ได้รับอนุมัติจากสภา
มหาวิทยาลัย ให้จัดตั้งสถานบริการสุขภาพสัตว์ เป็นองค์กรในก�ำกับของ
มหาวิทยาลัย ในความดูแลของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชยี งใหม่ ในปเี ดยี วกนั ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการบณั ฑติ ศกึ ษา หลกั สตู รนานาชาติ
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ และในปี พ.ศ. 2543 รว่ มสอนนกั ศกึ ษาระดบั
ปริญญาโทรุ่นแรกของหลักสูตรนานาชาติ สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
จ�ำนวน 4 คน
ในปี พ.ศ. 2544 คณะสตั วแพทยศาสตร์ ดำ� เนนิ การขอเปดิ หลกั สตู ร
นานาชาติ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข
(Master of Veterinary Public Health (International Program))
และเปดิ รบั นกั ศกึ ษาตามแผน ในปี พ.ศ. 2545 และในปี พ.ศ. 2546 ไดเ้ ปดิ
สอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข
(หลกั สูตรนานาชาติ)
ในปี พ.ศ. 2551 สภามหาวิทยาลัยอนมุ ตั หิ ลกั สูตรวิทยาศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์ (Master Program in
Veterinary Science) และหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ า
วทิ ยาศาสตรส์ ตั วแพทย์ (Doctor of Philosophy Program in Veterinary
Science) ในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี 3/2551 เมอ่ื วนั ท่ี 22 มนี าคม พ.ศ. 2551
กำ� หนดใช้หลักสูตร ปกี ารศึกษา พ.ศ. 2551
ในปี พ.ศ. 2556 สภามหาวทิ ยาลยั อนมุ ตั หิ ลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตร
มหาบัณฑติ (หลักสูตรนานาชาต)ิ สาขาวชิ าสุขภาพหนึ่งเดียว (Master of
Public Health Program in One Health (International Program))
ในคราวประชมุ ครงั้ ท่ี 7 / 2556 เมอ่ื วนั ที่ 17 สงิ หาคม พ.ศ.2556 กำ� หนด
ใช้หลกั สตู รปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2556

10

บุคลากร

ในชว่ งแรกของการกอ่ ตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
มภี ารกจิ หลายประการทจี่ ะตอ้ งดำ� เนนิ การ โดยเฉพาะการวางแผนดา้ นการ
จดั ทำ� งบประมาณและทรพั ยากร การวางแผนจดั การเรยี นการสอน บคุ ลากร
ประจ�ำที่เข้ามาร่วมในระยะโครงการจัดต้ังคณะสัตวแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ระยะเรมิ่ แรก ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2536 คอื
1. รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.เทอด เทศประทปี

ยืมตัวช่วยราชการจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั ตง้ั แต่ 1 สงิ หาคม พ.ศ.2536 ทำ� หนา้ ที่ ผอู้ ำ� นวย
การโครงการจดั ตงั้ คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
รบั โอนมารบั ราชการมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ตง้ั แต่ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม
พ.ศ. 2538 ตำ� แหนง่ คณบดี ตง้ั แตว่ นั ที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2538
2. นางสาวอรณุ ี ชตุ มิ า
บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ยมื ตวั จากกองแผนงาน สำ� นกั งานอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาช่วยราชการในโครงการจัดต้ังคณะฯ
ตง้ั แต่ เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2536 โอนยา้ ยมารบั ราชการคณะสตั ว
แพทยศาสตร์ ตำ� แหนง่ เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานทว่ั ไป ตง้ั แตว่ นั ท่ี 15
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2538
3. นายสตั วแพทย์ ภาวนิ ผดงุ ทศ
บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 10 ตลุ าคม
พ.ศ. 2538
4. นายสตั วแพทย์ ดร. เลศิ รกั ศรกี จิ การ
บรรจกุ ลบั เขา้ รบั ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2538
5. นายสตั วแพทย์ นวิ ฒั น์ สนิ สวุ งศ์
บรรจกุ ลบั เขา้ รบั ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2538
6. นางสาวปรานี บำ� รงุ สนุ ทร
บรรจุกลับเข้ารับราชการ ต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย
และแผน ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2538
7. สตั วแพทยห์ ญงิ ศริ พิ ร ขมุ ทรพั ย์
บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2538

11

8. สตั วแพทยห์ ญงิ สดุ สายใจ เพช็ รยม้ิ
บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตงั้ แตว่ นั ที่ 10 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2538

9. นายสตั วแพทย์ รชั ต์ ขตั ตยิ ะ
บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 15 ธนั วาคม
พ.ศ. 2538
10. รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร. สวุ ชิ ยั โรจนเสถยี ร
รับโอนจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตงั้ แต่ วนั ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2539
11. พนั โท นายสตั วแพทย์ ชำ� นาญ ตรณี รงค์
รับโอนจากกรมการสัตว์ทหารบกกองทัพบก ต�ำแหน่ง อาจารย์
ตง้ั แต่ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2539
12. นายสตั วแพทย์ ฉตั รโชติ ทติ าราม
บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2539
13. นายสตั วแพทย์ ขวญั ชาย เครอื สคุ นธ์
บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ตำ� แหนง่ อาจารย์ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 31 มกราคม
พ.ศ. 2540
บรรจบุ คุ ลากรสายสนบั สนนุ รนุ่ แรก ตง้ั แตป่ งี บประมาณ 2539 ไดแ้ ก่
14. นางสาววฒั นาวรรณ อศั เวศน ์
ต�ำแหน่ง นักวชิ าการศึกษา
15. นายเฉลิมชนม์ เลิศมโนกุลชยั
ตำ� แหน่ง นกั วิชาการพัสดุ
16. นางชินานารถ ศรจี ันทรด์ ร
ตำ� แหนง่ เจ้าหนา้ ท่ีธุรการ
17. นางสาวอรุณี เผ่าพงษ์
ต�ำแหนง่ นักวิชาการเงินและบญั ชี
18. นายสุรศักดิ์ มูลธง
ต�ำแหน่ง นายช่างเทคนิค
19. นายมานสั ปญั ญาเรือน
ตำ� แหน่ง เจ้าหน้าทธ่ี ุรการ
20. นายสมชาย สลา่ ลอ๊ ค
ต�ำแหนง่ พนกั งานขบั รถยนต์

12

บุคคลากรยุคแรกตง้ั
13

14

บคุ ลากรสนับสนนุ

15

รองศาสตราจารยน์ ายสตั วแพทย์ หลังจากปี พ.ศ. 2540 ก็คณะได้รับการจัดสรรอัตราก�ำลังต�ำแหน่ง
ดร. เทอด เทศประทีป ตา่ ง ๆ รวมทง้ั การรบั โอนและการรบั สมคั รสอบคดั เลอื กมาตามลำ� ดบั จนถงึ
ปจั จบุ ัน
เม่อื วนั ท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ.2544 รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์
ดร.เทอด เทศประทปี คณบดีคนแรก และเป็นคณบดีกอ่ ตั้ง ไดล้ าออก
จากราชการ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีค�ำสั่งท่ี 3289/2544
ใหร้ องศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุวิชัย โรจนเสถียร รองคณบดี
ฝ่ายการศึกษา รักษาราชการแทนคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ ต้ังแต่
วันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2544 ถึงวันท่ี 8 มนี าคม พ.ศ.2545
รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.สวุ ชิ ยั โรจนเสถยี ร ขน้ึ ดำ� รง
ตำ� แหน่งคณบดคี นที่ 2 ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ ตงั้ แตว่ ันที่ 9 มีนาคม
พ.ศ. 2545 - วันที่ 24 มนี าคม พ.ศ. 2549
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เลิศรัก ศรกี ิจการ ขึ้นด�ำรง
ตำ� แหนง่ คณบดคี นที่ 3 ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ ตงั้ แตว่ นั ที่ 25 มนี าคม
พ.ศ. 2549 - วันท่ี 24 มนี าคม พ.ศ. 2553
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เลศิ รัก ศรีกิจการ ขน้ึ ดำ� รง
ตำ� แหนง่ คณบดีคนที่ 3 สมัยท่ี 2 ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ ต้ังแต่วนั ที่
25 มีนาคม พ.ศ. 2553 - วนั ท่ี 24 มีนาคม พ.ศ. 2557

รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์
ดร.สุวิชัย โรจนเสถียร

รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์
ดร.เลิศรัก ศรีกิจการ

16

สถานท่ที ำ�การ

ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2536 มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
มคี ำ� สง่ั ที่ มช. 2205/2536 ใหม้ สี ำ� นกั งานโครงการจดั ตงั้ คณะ
สตั วแพทยศาสตร์ ตง้ั อยู่ ณ กองแผนงาน สำ� นกั งานอธกิ ารบดี
ต่อมามีโครงการปรับปรุงตึกอาคารส�ำนักงานอธิการบดี
กองแผนงาน โครงการจดั ตง้ั คณะสตั วแพทยศาสตรจ์ งึ ยา้ ยสถาน
ที่ท�ำงานอยู่ที่ห้องประชุมชั้น 3 ของกองกิจการนักศึกษา
ส�ำนักงานอธิการบดี ต่อมาหลังจากมีบุคลากรเพิ่มข้ึน
สถานทท่ี ำ� การเรมิ่ คบั แคบ มหาวทิ ยาลยั จงึ ใหย้ า้ ยสถานทท่ี ำ� งาน
ไปอยู่ที่อาคารหน้าส�ำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
และเมอื่ ตกึ อาคารคณะสตั วแพทยศาสตร์ ณ สถานวี จิ ยั และศนู ย์
ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ ถนนเลียบคันคลองชลประทาน
ต�ำบลแม่เหียะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สร้างแล้วเสร็จ
ในปี พ.ศ. 2540 คณะสตั วแพทยศาสตร์ จงึ ไดท้ ำ� การยา้ ยสถาน
ทที่ ำ� การมาจวบจนปจั จุบัน

17

คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้รับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน เพ่ือ
ก่อสร้างอาคารตา่ งๆ ดังน้ี
1. อาคารเรยี น / สอน และบรหิ าร พน้ื ท่ีประมาณ 13,758 ตาราง
เมตร ตงั้ อยทู่ ว่ี ทิ ยาเขตดอยคำ� หรอื สถานวี จิ ยั และศนู ยฝ์ กึ อบรมการเกษตร
แมเ่ หยี ะ ถนนเลียบคลองชลประทาน ตำ� บลแม่เหยี ะ อ�ำเภอเมือง จงั หวัด
เชยี งใหม่ สร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2540 งบประมาณก่อสร้าง 101 ลา้ น
บาท
2. อาคารโรงพยาบาลสตั วเ์ พอื่ การสอน พนื้ ทป่ี ระมาณ 4,500 ตาราง
เมตร สร้างแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2541 งบประมาณก่อสร้าง 45 ลา้ นบาท
จ�ำนวน 4 อาคาร ไดแ้ ก่

2.1 โรงพยาบาลสตั วเ์ ลก็ พน้ื ทปี่ ระมาณ 4,264 ตารางเมตร
ตัง้ อยทู่ ่มี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ถนนเลียบคลองชลประทาน ต�ำบล
สุเทพ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหม่
2.2 โรงพยาบาลสตั วใ์ หญ่ พนื้ ทใ่ี ชส้ อยประมาณ 362 ตาราง
เมตร ตั้งอยู่แห่งเดียวกับท่ีต้ังคณะ คือ ที่วิทยาเขตดอยค�ำ ถนน
เลยี บคลองชลประทาน ตำ� บลแมเ่ หยี ะ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่
2.3 หนว่ ยชนั สตู รโรคสตั ว์ พนื้ ทใี่ ชส้ อยประมาณ 962 ตาราง
เมตร ตง้ั อยตู่ ิดกบั โรงพยาบาลสัตวใ์ หญ่
2.4 ศูนย์ฝึกอบรมทางสัตวแพทย์ 1 พื้นที่ใช้สอยประมาณ
569 ตารางเมตร ต้ังอยแู่ หง่ เดียวกบั ทีต่ ง้ั คณะ คือ ท่ีวทิ ยาเขตดอย
คำ� ถนนเลยี บคลองชลประทาน ตำ� บลแมเ่ หยี ะ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั
เชยี งใหม่
3. อาคารศูนย์ฝึกทางสัตวแพทย์และฟาร์มทดลอง พื้นท่ีใช้สอย
ประมาณ 3,700 ตารางเมตร สร้างแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2542 งบประมาณ
กอ่ สร้าง 14 ลา้ นบาท ประกอบด้วย 2 อาคาร ได้แก่
3.1 ศูนย์ฝึกสัตวแพทย์และฟาร์มทดลอง ตั้งอยู่เลขที่ 205
หมู่ 2 ต.ศรีบัวบาน อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จงั หวัดลำ� พูน
3.2 ศนู ยฝ์ กึ อบรมทางสตั วแพทย์ 2 ตง้ั อยู่แห่งเดียวกบั ทต่ี ั้ง
คณะ คือ ที่วิทยาเขตดอยค�ำ ถนนเลียบคลองชลประทาน
ต�ำบลแม่เหยี ะ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่
4. อาคารโรงพยาบาลสตั วท์ อ้ งถนิ่ พนื้ ทใ่ี ชส้ อยประมาณ 402 ตาราง
เมตร สร้างแลว้ เสรจ็ ปี พ.ศ. 2549 ทดแทนอาคารช่ัวคราว ตง้ั อยทู่ หี่ มู่บ้าน
สหกรณ์ 3 ตำ� บลบา้ นสหกรณ์ อำ� เภอแมอ่ อน จงั หวดั เชยี งใหม่ งบประมาณ
3.22 ล้านบาท

18

โรงพยาบาลสตั ว์เล็ก โรงพยาบาลสตั วใ์ หญ่

โรงพยาบาลสัตวท์ ้องถน่ิ หนว่ ยชนั สูตรโรคสัตว์

19

บรรณานกุ รม

ช�ำนาญ ตรีณรงค์. อดีตรองคณบดีฝ่ายบริหารคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สัมภาษณ์.วันที่ 14 กันยายน
พ.ศ.2554.

เซส็ ซิน, คาร์ล ฮานส.์ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ แห่งมหาวทิ ยาลยั เบอรล์ ิน.สมั ภาษณ์. วันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ.2554.
ทัศนยี ์ ไหลมา. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการรบั ผิดชอบจดั ต้ังคณะสัตวแพทยศาสตรส์ ตั วแพทยห์ ญิงหวั หน้า

หน่วยสตั วท์ ดลอง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. สมั ภาษณ์. วนั ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.2554.
เทอด เทศประทีป. กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการรับผิดชอบจัดต้ังคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,

สัมภาษณ์. วันที่ 13 ธนั วาคม พ.ศ.2555.
นวิ ัตน์ มณกี าญจน์. กรรมการคณะกรรมการรับผิดชอบจัดตัง้ คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และประธานคณะ

อนกุ รรมการรา่ งหลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ สมั ภาษณ.์ วนั ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554.
นวิ ฒั น์ สนิ สวุ งศ.์ อดตี รองคณบดฝี า่ ยบรหิ ารคณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ สมั ภาษณ.์ วนั ที่ 16 กนั ยายน พ.ศ.

2554.
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2537. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111

ตอนท่ี 32 ก 2 สิงหาคม 2537.
พทิ ยศักด์ิ ไวทยการ. กรรมการคณะกรรมการรบั ผิดชอบจัดต้งั คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ สมั ภาษณ.์ วัน

ท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2554.
เพชร วิริยะ. สล่าเก๊าบ้านจ๊างนัก ครูภูมิปัญญาไทย รุ่นท่ี 7 และศิลปินดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ประจ�ำปี 2543

สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม. สมั ภาษณ.์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
ภาวิน ผดุงทศ. ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการรับผิดชอบจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สัมภาษณ์.

วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554.
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ คณะสตั วแพทยศาสตร.์ (2542). หนงั สอื ทรี่ ะลกึ เนอื่ งในโอกาสสมเดจ็ พระพนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา

กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา. เชียงใหม่:
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ คณะสตั วแพทยศาสตร.์ (2542). หนงั สอื ทรี่ ะลกึ เนอื่ งในโอกาสสมเดจ็ พระพนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอาคารอาคารโรงพยาบาลสัตวเล็ก. เชียงใหม่:
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.
เลศิ รกั ศรกี จิ การ. คณบดีคณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. สมั ภาษณ์.วนั ท่ี 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2554.
วิวฒั น์ ชุนรักษา. กรรมการคณะกรรมการรบั ผดิ ชอบจัดตง้ั คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สัมภาษณ์. วนั ที่ 10
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557.
สัมพันธ์ ศรีสุวรรณ. ประธานกรรมการรับผิดชอบจัดต้ังคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สัมภาษณ์. วันที่
4 สิงหาคม พ.ศ. 2554.
“หอประวตั มิ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (หอศลิ ปป์ น่ิ มาลา): อดตี อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ ” [ระบบออนไลน]์ .http://library.
cmu.ac.th/pinmala/president.php?pres_type=2 (17 ธนั วาคม 2556)
“หอประวตั ิมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (หอศลิ ปป์ ่นิ มาลา): อดตี ประธานสภามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ ” [ระบบออนไลน]์ .http://li-
brary.cmu.ac.th/pinmala/president.php?pres_type=1 (17 ธันวาคม 2556)
อรุณี ชุติมา.บุคลากรสายสนับสนุนช่วยราชการในโครงการจัดตั้งคณะฯ ตั้งแต่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2536. สัมภาษณ์.
วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2554.
เฮอร์คชเนอร์, ฟรานซ์. ศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ แหง่ มหาวิทยาลัยฟรเี บอรล์ ิน. สัมภาษณ.์ วนั ท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ.
2554.

20

ภาคผนวก

21

ความหมายอาคารและภาพ

อาคารคณะออกแบบโดยบริษัท Chiang Mai Achitech จ�ำกัด
ตัวอาคารเปน็ อาคารลา้ นนาประยุกต์ หลังคาจะมลี กั ษณะเฉพาะ มีขว่ งซงึ่
เปน็ ศลิ ปะทางภาคเหนอื ขว่ ง หมายถงึ ลานหรอื ที่โลง่ มไี วเ้ พอื่ ทำ� กิจกรรม
ต่าง ๆ ของครัวเรือน ชุมชน และเมือง การทำ� กิจกรรมในขว่ ง อาคารคณะ
4 ชั้น มลี ักษณะของสถาปัตยกรรมทางภาคเหนอื ชัดเจน ตึกห้องสมุดเปน็
ลกั ษณะยงุ้ ข้าว

22

รปู ปนู ป้นั นนู ต่ำ� ตดิ ผนังปน้ั
โดยศิลปินพน้ื บา้ น อาจารย์เพชร วริ ยิ ะ (บา้ นจา๊ งนกั )

รปู ปูนปน้ั นูนตำ�่ ตดิ ผนงั ช้ัน 1
อาคาร A หรอื อาคารบริหาร

รปู ปนู ปั้นนูนตำ่� ตดิ ผนงั ชน้ั 3
อาคาร A หรืออาคารบรหิ าร

ความหมายของภาพนี้หมายถึง การรวมกลุ่ม ด้วยความรัก
ความสามัคคี ของกลุ่มคณะ ความเข้าใจซ่ึงกันและกันเป็นความงดงาม
อยา่ งยง่ิ ของสรรพชวี ติ บนดวงดาวเคราะหแ์ หง่ น้ี หรอื หมายถงึ การรวมกลมุ่
ทำ� ให้เกิดความรักระหว่าง เพื่อน พน่ี ้อง เป็นน้�ำหนึ่งใจเดียวกัน

23

ความหมายภาพเขยี นฝาผนังช้นั 2
อาคารA หรืออาคารบรหิ าร

รปู ภาพบนฝาผนงั บรษิ ทั Chiang Mai Achitech จำ� กดั ไดน้ ำ� เสนอ
งานภาคนิพนธ์ของนักศึกษาชั้นปีท่ี 5 คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ ซึ่งวาดเป็นจิตรกรรมฝาผนัง (Mural painting)เป็นลักษณะ
ป่าหิมพานต์ ดังท่ีปรากฏในวรรณคดีไตรภูมิพระร่วง พระราชนิพนธ์ใน
พระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือพญาลิไท ซ่ึงเนื้อหาเป็นการแสดงให้เห็น
ไตรภมู ิ กค็ ือภูมิสาม อันไดแ้ ก่ กามภมู ิ รปู ภมู ิ และอรปู ภมู ิ พรรณนาเรื่อง
ป่าหิมพานต์ว่าเต็มไปด้วยสัตว์นานาชนดิ ซึ่งล้วนแปลกประหลาดตา่ งจาก
สัตว์ท่ีเรารู้จัก เป็นสัตว์หลายอย่างผสมกันแล้วต้ังชื่อข้ึนใหม่ สัตว์เหล่านี้
เกดิ จากจนิ ตนาการของจติ รกรไทยโบราณทไี่ ดส้ รรคส์ รา้ งภาพจากเอกสาร
เก่าต่างๆ เช่น กิเลน อัปสรสีหะ คชสีห์ เอราวัณ มักกะลีผล เป็นต้น
บรรดาสัตว์ทั้งหมดท่ีอ้างถึงน้ีเป็นที่รู้จักในนามของสัตว์หิมพานต์และใน
จติ รกรรมฝาผนงั ของคณะกไ็ ดร้ วบรวมสตั วใ์ นปา่ หมิ พานตไ์ วเ้ กอื บทกุ ชนดิ

24

25

ภาพประกอบ

26

การกอ่ สรา้ งอาคารคณะสัตวแพทยศาสตร์

ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทยเ์ ตยี ง ตันสงวน
เขา้ รว่ มใหค้ วามคดิ เหน็ ในการเลอื กสถานทกี่ ่อสร้างคณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

สถานท่ีกอ่ สรา้ งคณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

27

พธิ วี างศิลากฤษ์ อาคารเรียนและบรหิ าร คณะสตั วแพทยศาสตร์ โดยพระธรรมดิลก (จนั ทร์ กสุ โล)
เม่อื วันที่ 21 ธันวาคม 2538

28

29

30

31

32

33

34

35

36

พิธเี ปิดอาคาร

สมเดจ็ พระพีน่ างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยานวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ เสดจ็ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิด
อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เมอื่ วันที่ 12 มนี าคม พ.ศ. 2542

สมเดจ็ พระพ่ีนางเธอเจา้ ฟา้ กลั ยานวิ ัฒนาทรงฉายพระรูปร่วมกบั คณะกรรมการจัดงาน
การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารนานาชาติ เรื่อง การจดั โปรแกรมดแู ลสขุ ภาพช้างในภูมิภาคเอเชีย

37

สมเด็จพระพนี่ างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยานวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์
เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธเี ปิด “อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ๗๒ พรรษา”
และการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารนานาชาติ เร่อื ง การจดั โปรแกรมดแู ลสขุ ภาพชา้ งในภูมภิ าคเอเชยี เพ่อื เฉลมิ พระเกยี รติ

สมเดจ็ พระพ่ีนางเธอเจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาส
ราชนครินทร์ ทรงลงพระนาม ในโอกาสเสดจ็ ทรงเปดิ อาคาร
เฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษา ณ คณะสตั วแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ วันท่ี 12 มีนาคม พ.ศ. 2542

38

การกอ่ สรา้ งอาคารโรงพยาบาลสตั ว์เล็ก

พิธวี างศิลาฤกษโ์ รงพยาบาลสัตว์เลก็ โดยพระธรรมดลิ ก (จันทร์ กุสโล)
เมื่อวันท่ี ....

ดำ� เนนิ การกอ่ สร้างอาคารโรงพยาบาลสตั ว์เล็ก

39

40

41

พิธเี ปิดโรงพยาบาลสตั วเ์ ลก็ อยา่ งเปน็ ทางการ

สมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ เสด็จเปน็ องค์ประธาน
ในพธิ เี ปดิ อาคารโรงพยาบาลสัตวเ์ ลก็ เม่อื วนั ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2542
“ ข้าพเจา้ มคี วามประสงค์ท่จี ะบรจิ าคเงนิ จ�ำนวน 200,000 บาท
(สองแสนบาท) ในกองทนุ สัตว์เล็กของโรงพยาบาลสตั ว์เลก็ ใน
วนั ที่ธนาคารเปิด คือวันท่ี 13 ธนั วาคม 2542 ขา้ พเจ้าจะส่งเงนิ
จำ� นวนนมี้ าให้” --กัลยาณิวฒั นา (วันที่ 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2542)

42

อาคารโรงพยาบาลสตั วใ์ หญ่

43

หน่วยชนั สูตรโรคสตั ว์

44

โรงพยาบาลสัตว์ทอ้ งถน่ิ

45

พิธเี ปิดอาคารโรงพยาบาลสตั วท์ ้องถ่ิน

ศาสตราจารย์ ดร. พงษ์ศกั ด์ิ องั กสทิ ธิ์ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เปน็ ประธาน
ในพธิ เี ปดิ อาคารโรงพยาบาลสตั ว์ทอ้ งถ่นิ เมือ่ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.

46

ศนู ย์ฝกึ อบรมทางสตั วแพทย์

ศูนย์ฝึกอบรมทางสัตวแพทย์ 1

ศนู ย์ฝกึ อบรมทางสตั วแพทย์ 2

47


Click to View FlipBook Version