The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by spongtanyakorn, 2021-10-12 03:44:16

ebook_46

ebook_46

Keywords: ebook_46

รายงาน
เรือ่ ง ระบบจัดการฐานขอ้ มลู

จดั ทาโดย
นางสาวสดุ ารตั น์ พงษ์ธัญกรณ์

เสนอ
อาจารยส์ ุรศักดิ์ จนี แฉ่ง

รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหน่ึงของการเรยี นวิชาระบบจดั การฐานข้อมูล
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

วทิ ยาลัยเทคโนโลยีสหะพาณิชย์ บริหารธุรกิจ



คานา

รายงานเลม่ นี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของวิชาระบบจดั การฐานข้อมลู เพอ่ื ให้ได้ศึกษาหาความรแู้ ละเปน็ แนวทาง
ในการเรียนเรอ่ื งระบบจัดการฐานขอ้ มูล

ผ้จู ดั ทาหวังวา่ รายงานเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชนก์ ับผู้อ่าน ผ้ศู กึ ษา ทีก่ าลงั หาขอ้ มูลในเรอ่ื งระบบจดั การ
ฐานขอ้ มูลนี้อยู่ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ้ีดว้ ย

ผจู้ ัดทา

สารบญั ข
เร่อื ง
ประวัตคิ วามเป็นมาของระบบจดั การฐานข้อมูล หนา้
ความหมายของฐานข้อมูลและระบบการจัดการฐานขอ้ มูล 1-10
องคป์ ระกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล 10-13
13-16
หนา้ ทขี่ องระบบจัดการฐานข้อมูล
ประโยชน์ของระบบการจดั การฐานข้อมูล 16-17
ขอ้ เสยี ของการใชฐ้ านข้อมูล 18-21
ชนดิ ของข้อมลู 21
ชนดิ ของฐานข้อมลู 22
ชนิดของแฟม้ ขอ้ มูล 23-24
โครงสร้างแฟ้มข้อมลู 24-25
ระบบฐานข้อมลู ที่ใชใ้ นปจั จุบัน 26
บทสรุป 26-29
30-31

1

ประวัติความเป็นมาของระบบการจดั การฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมลู เร่ิมตน้ จากการท่ีองคก์ ารบรหิ ารการบินและอวกาศสหรฐั อเมริกา หรือนาซาได้

ว่าจ้างบรษิ ัทไอบีเอม็ (IBM) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ให้ออกแบบระบบเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทไี่ ด้จากการสารวจ
ดวงจนั ทร์ในโครงการอะพอลโล (โครงการอะพอลโลเปน็ โครงการสารวจอวกาศอย่างจริงจงั และมีการส่ง
มนษุ ย์ขึ้นบนดวงจันทรไ์ ด้สาเรจ็ ด้วยยานอะพอลโล 11) ได้พัฒนาระบบการดแู ลข้อมูลเรียกว่า ระบบ GUAM
( Generalized Upgrade Access Method) ซงึ่ ถือเปน็ ต้นกาเนิดของระบบการจดั การฐานข้อมลู

ตอ่ มาบริษทั ไอบเี อ็ม ไดพ้ ัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขนึ้ มาใหม่เพือ่ ให้ใช้งานกับธรุ กิจทว่ั ๆ ไปได้
เรียกวา่ DL/I (Data Language/I ) จนในท่สี ุดก็ได้กลายมาเปน็ ระบบ IMS ( Information Management
System)

ในชว่ งปี พ.ศ. 2525 มกี ารนาระบบฐานข้อมลู เข้ามาใช้กับคอมพวิ เตอร์อยา่ งเต็มท่ี ไดม้ ีการคิดค้น
และผลิตซอฟตแ์ วร์เกี่ยวกบั ฐานข้อมลู ออกมามากมาย การเจริญเตบิ โตของการจัดการฐานข้อมลู รุดหน้าไป
อยา่ งรวดเร็วพรอ้ มกับระบบคอมพวิ เตอร์และมกี ารพฒั นามาจนถงึ ทุกวันน้ี

ปจั จบุ นั ได้มีการนาคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูปทวั่ ไปโดยทีผ่ ูใ้ ชไ้ มต่ ้อง
เขียนโปรแกรมเอง เพียงแต่เรียนรคู้ าส่งั การเรียกใชข้ ้อมลู หรือการจัดการข้อมูล เชน่ การป้อนข้อมลู การบันทึก
ข้อมลู การแก้ไขและเปลยี่ นแปลงข้อมูล เป็นตน้

ในอดตี ยุคทมี่ ีไมโครคอมพวิ เตอรเ์ กิดขึ้นแรกๆ โปรแกรมสาเร็จรปู ทางด้านการจัดการฐานข้อมลู ทน่ี ยิ ม
ใชก้ นั อย่างแพร่หลาย คอื Personal Filling System) ตอ่ มาได้มีโปรแกรมฐานข้อมลู เพิม่ ขน้ึ หลายโปรแกรม
เชน่ Datastar DB Master และ dBASE II เป็นตน้ โดยเฉพาะโปรแกรม dBASE II ได้รบั ความนิยมมาก
จนกระท่งั ในปี พ.ศ. 2528 ผผู้ ลติ ได้สร้าง dBASE III Plus ออกมาซง่ึ สามารถจดั การฐานขอ้ มูลแบบสัมพนั ธ์
(relational) เชื่อมโยงแฟม้ ข้อมูลต่างๆ เข้าดว้ ยกัน คน้ หา และนามาสรา้ งเปน็ รายงานตามความต้องการได้
สะดวก รวดเร็ว ต่อมาได้มีการสรา้ ง โปรแกรมสาเร็จรูปเก่ียวกับฐานข้อมูลออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro,
Microsoft Access และ Oracle เป็นต้น

ฐานข้อมลู (Database)
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลมุ่ ของข้อมูลที่มคี วามสมั พันธก์ ัน นามาเก็บรวบรวมเขา้

ไว้ด้วยกันอยา่ งมรี ะบบและขอ้ มูลทปี่ ระกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้น ตอ้ งตรงตามวัตถุประสงคก์ ารใช้งานของ
องค์กรดว้ ยเช่นกัน เช่น ในสานกั งานกร็ วบรวมข้อมูล ตัง้ แต่หมายเลขโทรศัพทข์ อง
ผ้ทู ี่มาตดิ ต่อจนถึงการเกบ็ เอกสารทุกอย่างของสานกั งาน ซ่ึงขอ้ มลู ส่วนนีจ้ ะมสี ว่ นที่สัมพันธก์ ันและเป็นที่
ตอ้ งการนาออกมาใช้ประโยชน์ตอ่ ไป
ภายหลัง

2

ภาพที่ 1 ฐานข้อมลู (Database) ทม่ี า https://www.techtalkthai.com/5-skills-database-
administrators-should-have-in-cloud-era/

ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์ (Relational Database)
ฐานข้อมลู เชงิ สัมพนั ธ์ (Relational Database) เป็นแนวคิดของฐานข้อมูลทน่ี ยิ มใช้กันมากท่สี ุดในปจั จุบนั

โดยจะมีการจัดเกบ็ ข้อมลู ในลักษณะของตารางทม่ี ีความสมั พันธ์กนั โดยฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์เป็นการเก็บ
ข้อมูลในรูปแบบของ ตารางข้อมลู (table) โดยแต่ละตารางท่มี ีอยู่จะต้องมีการเช่อื มโยงทางข้อมลู ระหว่างกัน
(relation) ในแต่ละตารางจะประกอบดว้ ยแถว และคอลัมน์

ภาพท่ี 2 แสดงตารางลูกค้าที่แสดงใหเ้ ห็นแถวและคอลัมน์

3

โครงสรา้ งเกบ็ ขอ้ มลู ของฐานข้อมูล

ภาพที่ 3 แสดงองค์ประกอบของโครงสรา้ งเก็บข้อมลู ของฐานขอ้ มูล

1.ตารางข้อมลู (table) เป็นท่ีเกบ็ ของขอ้ มูลตามกลุ่มตา่ งๆ
2. ระเบยี นข้อมูล (record) หมายถงึ หน่วยของข้อมลู ท่เี กิดจากการนาเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมา
รวมกัน เพอ่ื เกดิ เป็นข้อมลู เรอ่ื งใดเรอ่ื งหนึ่งเช่น ขอ้ มูลของลูกคา้ (1 คน) จะประกอบไปด้วย รหสั ช่อื ท่อี ยู่
และหมายเลขโทรศัพท์ของลูกค้า
3. เขตข้อมูล (field) หมายถึง หนว่ ยของขอ้ มลู ที่ประกอบขนึ้ จากตัวอักขระตัง้ แต่หน่งึ ตัวขน้ึ ไป มารวมกัน
แลว้ ได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนง่ึ ขอ้ มูลท่ปี รากฏอยใู่ นฟิลด์ เปน็ หนว่ ยยอ่ ยของระเบียนท่ีบรรจุอย่ใู น
แฟม้ ขอ้ มลู
4. อกั ขระข้อมูล (character) คอื ตวั อักษรแต่ละตัว ท่ีบันทกึ ลงไปในแตล่ ะคอลัมน์ โดยอกั ขระจะตอ้ ง
สอดคล้องกับชนดิ ของขอ้ มลู ที่กาหนดไว้ในเขตข้อมลู ดว้ ย เช่น คอลมั น์ราคาจะต้องเป็นตัวเลขเท่านนั้

คาศพั ทท์ ี่เกย่ี วขอ้ งกับการออกแบบฐานขอ้ มูล
เอนทิต้ี (Entity) หมายถึง ส่งิ ทตี่ ้องการในฐานข้อมูลทีเ่ ป็นท่ีรวมขอ้ มูลท่มี ีความสมั พนั ธ์กัน มีข้อมูลท่ี

บ่งช้ีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ได้ เช่น เอนทติ ี้ของระบบงานจาหนา่ ยสนิ ค้าซง่ึ ประกอบด้วย เอนทติ ีท้ ่มี ี
ความสมั พนั ธก์ นั ไดแ้ ก่ เอนทิต้สี ินคา้ เอนทิตีล้ ูกคา้ เอนทติ ้ีใบส่งั ซื้อ

ภาพที่ 4 แสดงตวั อยา่ งเอนทิต้ี

4
แอททรบิ ิวต์(Attribute) หมายถึง ข้อมูลทแี่ สดงถึงคุณสมบตั ิของเอนทิตี้ เชน่ เอนทติ สี้ ินค้า
ประกอบด้วยแอททริบิวต์ รหัสสินคา้ ช่อื สินคา้ ราคาสนิ คา้ และสินค้าคงเหลือ เอนทติ ลี กู คา้ ประกอบด้วยแอ
ททริบิวต์ รหัสลกู ค้า ชอ่ื ลูกคา้ และทีอ่ ยู่ เอนทิตีใบสัง่ ซ้ือประกอบดว้ ยแอททริบิวต์ รหสั ใบส่งั ซ้ือ รหัสสินค้า
รหัสลกู คา้ และจานวน

ภาพที่ 5 แสดงตัวอย่างแอททริบิวต์
ความสัมพนั ธ์(Relationship) หมายถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนทติ ีใ้ นระบบฐานข้อมูล เชน่
เอนทติ ใ้ี บส่งั ซื้อมคี วามสัมพันธ์กับเอนทติ สี นิ ค้า และ เอนทิตีล้ กู ค้า ดังรูป

ภาพท่ี 6 แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี้
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิต้ี จงึ อาจแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ

1. ความสัมพนั ธแ์ บบหน่ึงตอ่ หนง่ึ (One-to-one Relationships) เปน็ การแสดงความสมั พันธ์ของ
ข้อมูลในเอนทิตีห้ น่งึ ท่ีมีความสัมพนั ธก์ บั ข้อมลู ในอกี เอนทิต้ีหน่งึ ในลกั ษณะหน่ึงต่อหน่งึ ตวั อย่างเช่น เอนทติ ้ี
สินค้าและเอนทติ ี้ใบสัง่ ซ้อื มีความสมั พันธ์โดยแอททริบิวตร์ หสั สนิ ค้ามคี วามสัมพันธก์ บั แอททรบิ ิวตช์ ื่อสนิ คา้
เป็นความสัมพันธแ์ บบหนึง่ ต่อหนึ่ง หมายความว่ารหัสสนิ คา้ หนง่ึ เป็นชอ่ื สินคา้ ไดช้ นิดเดียว

5

ภาพที่ 7 แสดงความสมั พนั ธ์แบบหน่งึ ตอ่ หนึง่ (One-to-one Relationships)
ความสัมพันธแ์ บบหนึง่ ต่อกลุม่ (one-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสมั พันธข์ องข้อมูลใน
เอนทติ ี้หนง่ึ ท่ีมคี วามสัมพันธ์ขอ้ มลู หลาย ๆ ข้อมูล ในอีกเอนทติ ีห้ นง่ึ ตัวอย่าง เช่น ความสมั พันธร์ ะหว่างเอนทิ
ตีลูกคา้ และเอนทิตีใบสั่งซ้ือเป็นความสาพันธ์แบบหน่งึ ต่อกลุม่ หมายความวา่ ลกู คา้ หนึง่ คนสามารถสัง่ ซื้อสินคา้
ได้หลายใบ

ภาพท่ี 8 แสดงความสัมพนั ธ์แบบหน่งึ ต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships)
ความสัมพนั ธแ์ บบกลุ่มต่อกลมุ่ (Many-to-many Relationships) เปน็ การแสดงความสัมพันธ์ ของข้อมลู
สองเอนทติ ้ีในลกั ษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตวั อยา่ งเช่น แอนทิตีสนิ คา้ มคี วามสัมพนั ธก์ ับเอนทิตใี บสงั่ ซอ้ื เป็น
ความสัมพันธ์แบบกลมุ่ ต่อกลุ่ม(May to Many Relationship) หมายความวา่ ใบสัง่ ซื้อหน่งึ ใบสามารถมสี ินคา้
ได้หลายชนดิ สาหรับสนิ ค้าสามารถอยู่ในใบสงั่ ซื้อไดห้ ลายใบ

6

ภาพที่ 9 ความสัมพนั ธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)
ชนดิ ของคียใ์ นฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์

ในระบบฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์ เราจะตอ้ งกาหนดชนดิ ของคยี ์ตา่ งๆ เพื่อใชท้ าหน้าท่บี างอย่างในตาราง
ฐานขอ้ มูล โดยมคี ยี ต์ ่างๆ ดงั นี้

• คยี ์หลัก(Primary Key) คยี ห์ ลักเปน็ ฟลิ ด์ท่ีมีค่าไม่ซ้ากนั เลยในแตล่ ะเรคคอรด์ ในตารางนั้นและไม่มี เร
คอรด์ ใดทฟ่ี ลิ ด์นว้ี า่ ง

ภาพท่ี 10 แสดงฟลิ ดท์ ี่เปน็ คียห์ ลกั ในตาราง
• คยี ค์ ู่แขง่ (Candidate Key) คยี ค์ ู่แขง่ เปน็ ฟิลดห์ นึ่งหรอื หลายฟิลดท์ ีน่ ามารวมกันแลว้ มคี ณุ สมบตั เิ ปน็ คีย์
หลัก (ค่าไม่ซ้ากันในแตล่ ะรายการ) แต่ไม่ได้ถูกใช้เป็นคยี ์หลัก

7

ภาพที่ 11 แสดงฟลิ ด์ทเี่ ปน็ คียค์ แู่ ขง่ ในตาราง
• คยี ผ์ สม(Composite Key)ตารางที่หาฟิลด์ทม่ี คี ่าซ้าไม่ไดเ้ ลย จงึ ต้องใช้หลายๆ ฟลิ ด์มารวมกนั ทาหน้าที่
เป็นคยี ์หลัก ฟลิ ดท์ ี่ใชร้ ว่ มกันน้เี รียกวา่ คยี ์ผสม
• คยี ์นอก(Foreign Key) คียน์ อกเปน็ ฟลิ ด์ในตารางฝงั่ Many ที่มีความสมั พนั ธก์ ับฟิลดท์ ่ีเปน็ คยี ห์ ลัก ใน
ตารางฝัง่ one โดยทต่ี ารางท้ังสองมีความสัมพันธ์แบบ One-to-Many ต่อกัน

ภาพที่ 12 แสดงฟลิ ดท์ ่ีเป็นคีย์ผสม และ คีย์นอกในตาราง
การออกแบบระบบฐานขอ้ มูล

จุดประสงคใ์ นการออกแบบฐานข้อมลู
• เพื่อลดความซา้ ซ้อนของข้อมลู ในฐานขอ้ มลู
• เพ่ือให้ขอ้ มูลตอบสนองต่อผใู้ ชใ้ หเ้ รว็ ทสี่ ุด
• เพื่อชว่ ยให้ตรวจสอบความถกู ต้อง รวมท้ังจดั มาตรฐานของข้อมูลได้สะดวก
• เพอ่ื ทจี่ ะสามารถกาหนดลักษณะการเข้าถึงข้อมลู สาหรบั ผู้ใชแ้ ต่ละประเภทได้
• เพื่อใหส้ ามารถเช่อื มโยงข้อมลู กับแอพพลเิ คชน่ั ได้สะดวกมากย่งิ ขึน้

8

ภาพท่ี 13 โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล ท่ีมา https://www.9experttraining.com/articles/microsoft-
access

ข้ันตอนในการออกแบบฐานข้อมูล
1. กาหนดวตั ถุประสงคข์ องฐานข้อมูล การทาเช่นน้จี ะเปน็ การเตรยี มพร้อมสาหรับข้ันตอนในข้ันต่อๆ

ไป
2. คน้ หาและจดั ระเบียบข้อมูลที่ต้องการ รวบรวมข้อมูลทกุ ชนิดท่เี ราอาจต้องการบนั ทึกลงใน

ฐานขอ้ มูล เชน่ ชอื่ สินคา้ และหมายเลขใบส่งั ซื้อ
3.แบง่ ข้อมลู ลงในตารางต่างๆ แบ่งรายการข้อมลู ของคณุ ออกเป็นกลมุ่ หรือหัวเร่อื งหลกั ๆ เชน่ สินค้า

หรือใบสงั่ ซื้อ จากนน้ั แตล่ ะหัวเร่อื งจะถูกนามาทาเป็นตาราง
4. เปลี่ยนรายการของขอ้ มลู ใหเ้ ป็นคอลัมนต์ า่ งๆ ตัดสินใจวา่ เราต้องการเกบ็ ขอ้ มูลอะไรในตารางแต่

ละตาราง รายการแต่ละรายการจะกลายเปน็ เขตข้อมูล และแสดงเปน็ คอลัมน์ในตาราง ตวั อยา่ งเชน่ ตาราง
ลกู คา้ อาจมเี ขตขอ้ มลู เช่น ช่อื , นามสกุลและท่ีอยู่

5. ระบุคยี ห์ ลกั เลอื กคยี ห์ ลกั ของตารางแตล่ ะตาราง คีย์หลักคอื คอลัมน์ที่ใชเ้ พ่อื ระบุแต่ละแถวแบบไม่
ซา้ กนั ตวั อยา่ งเชน่ รหสั สนิ ค้าหรือ รหสั ใบสง่ั ซอื้

6.กาหนดความสัมพันธ์ของตาราง ดทู ต่ี ารางแตล่ ะตารางแล้วพจิ ารณาว่าข้อมลู ในตารางหน่ึงสัมพนั ธ์
กับข้อมลู ในตารางอ่นื ๆ อยา่ งไร ใหเ้ พม่ิ เขตข้อมลู ลงในตารางหรือสร้างตารางใหม่เพ่ือระบุความสมั พันธต์ ่างๆ
ให้ชัดเจนตามต้องการ

9
7. การปรับการออกแบบให้ดีย่งิ ขนึ้ วเิ คราะห์การออกแบบของเราเพ่ือหาข้อผดิ พลาด สร้างตารางแลว้
เพม่ิ ระเบียนข้อมลู ตัวอย่าง 2-3ระเบยี น ให้ดูว่าเราจะได้รับผลลัพธท์ เ่ี ราตอ้ งการจากตารางของเราหรอื ไม่
ปรับเปล่ยี นการออกแบบตามต้องการ
8. การใช้กฎ Normalization ใชก้ ฎ Normalization ขอ้ มูลเพือ่ ดูว่าตารางของเรามีโครงสรา้ งที่
ถูกต้องหรือไม่ แล้วปรับเปลย่ี นการออกแบบได้ถา้ จาเป็น กฎ Normalization จะตรวจสอบให้แน่ใจว่าเราได้
แบง่ รายการข้อมลู ของเราออกเป็นตารางท่ีเหมาะสม

ภาพที่ 14 ออกแบบฐานข้อมูล ที่มา http://j28ro.blogspot.com/2011/12/wintest-database-vhf.html

การออกแบบฐานขอ้ มูลทด่ี ี
ในกระบวนการออกแบบฐานขอ้ มลู นั้นจะมหี ลักการบางอยา่ งเปน็ แนวทางในการดาเนินการ หลกั การ

แรกคือข้อมลู ซ้า (หรือท่เี รียกว่าข้อมลู ซา้ ซ้อน) ไม่ใชส่ ่ิงท่ีดี เนอ่ื งจากเปลืองพืน้ ทีแ่ ละอาจทาใหม้ ีข้อผิดพลาด
เกดิ ขน้ึ รวมถึงเกิดความไมส่ อดคล้องกนั หลักการท่ีสองคือความถกู ต้องและความสมบูรณข์ องข้อมูลเปน็ ส่งิ
สาคญั ถ้าฐานข้อมูลของเรามีขอ้ มลู ท่ีไม่ถกู ต้อง รายงานต่างๆ ท่ดี ึงข้อมูลจากฐานข้อมูลจะมขี ้อมลู ท่ีไม่ถูกต้อง
ตามไปดว้ ย สง่ ผลใหก้ ารตดั สินใจต่างๆ ทเ่ี ราได้กระทาโดยยดึ ตามรายงานเหลา่ นนั้ จะไม่ถกู ต้องดว้ ยเชน่ กนั
ดังนน้ั การออกแบบฐานข้อมูลทด่ี คี อื

• แบง่ ขอ้ มลู ของเราลงในตารางต่างๆ ตามหัวเร่ืองเพือ่ ลดการซา้ ซ้อนกนั ของข้อมลู
• ใส่ขอ้ มลู ท่จี าเป็นเพื่อรวมข้อมลู ในตารางต่างๆ เขา้ ด้วยกันตามต้องการ
• ช่วยสนบั สนนุ และรับประกนั ความถูกต้องและความสมบูรณข์ องข้อมูลของเรา
• ตอบสนองต่อความตอ้ งการในการประมวลผลขอ้ มูลและการรายงานของเรา

10

ภาพที่ 15 ออกแบบฐานข้อมูล ่ทม่ี า https://www.dewestvlaamse.be/laatste-nieuws/fagg-lanceert-
nieuwe-geneesmiddelendatabank/database

การจัดการขอ้ มูลด้วยระบบการจดั การฐานขอ้ มูล
การจดั เก็บข้อมลู ที่มปี ริมาณมากๆ ในระบบคอมพิวเตอร์โดยการเกบ็ ไวใ้ นแฟ้มข้อมลู แตล่ ะแฟ้ม อาจ

เกดิ ปัญหาข้อมูลซ้าซ้อนกนั เม่ือมีการแก้ไขข้อมูลท่ีมีอยหู่ ลายแฟ้มขอ้ มลู จนทาให้ข้อมูลมีความขดั แยง้ กันเอง
จงึ ไดม้ ีการเปล่ยี นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ให้อยูใ่ นรูปของฐานขอ้ มูลแทนเพ่ือความสะดวกในการบันทึกข้อมูล แกไ้ ข
ขอ้ มลู และคน้ หาขอ้ มลู

1. ความหมายของฐานขอ้ มูลและระบบการจัดการฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล คือ ชุดของสารสนเทศท่ีมีโครงสร้างสม่าเสมอ ชุดของสารสนเทศใด ๆ ก็อาจ

เรยี กว่าเป็นฐานข้อมลู ได้ถงึ กระนน้ั คาวา่ ฐานข้อมูลนีม้ ักใชอ้ า้ งถงึ ข้อมูลท่ีประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
และถูกใช้ส่วนใหญ่เฉพาะในวิชาการคอมพิวเตอร์ บางคร้ังคาน้ีก็ถูกใช้เพ่ืออ้างถึงข้อมูลที่ยังมิได้
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์เช่นกันในแง่ของการวางแผนให้ข้อมูลดังกล่าวสามารถประ มวลผลด้วย
คอมพิวเตอร์ได้

ฐานขอ้ มูลในลกั ษณะท่ีคล้ายกับฐานข้อมลู สมยั ใหม่ถกู พัฒนาเปน็ คร้งั แรกในทศวรรษ 1960 ซึ่งผู้
บุกเบกิ ในสาขาน้คี อื ชาลส์ บากแมน แบบจาลองข้อมูลสาคัญสองแบบเกิดขึ้นในช่วงเวลาน้ี ซึ่งเริ่มต้น
ดว้ ยแบบจาลองขา่ ยงาน (พัฒนาโดย CODASYL) และตามด้วยแบบจาลองเชิงลาดับช้ัน (นาไปปฏิบัติ
ใน IMS) แบบจาลองท้ังสองแบบนี้ ในภายหลังถูกแทนท่ีด้วย แบบจาลองเชิงสัมพันธ์ ซึ่งอยู่ร่วมสมัย
กบั แบบจาลองอีกสองแบบ แบบจาลองแบบแรกเรียกกันว่า แบบจาลองแบนราบ ซ่ึงออกแบบสาหรับ
งานที่มขี นาดเลก็ มาก ๆ แบบจาลองรว่ มสมัยกบั แบบจาลองเชิงสมั พนั ธอ์ กี แบบ คือ ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
หรือ โอโอดีบี3 (OODB)

11

ในขณะท่ีแบบจาลองเชิงสัมพันธ์ มีพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีเซตได้มีการเสนอแบบจาลองดัดแปลง
ซงึ่ ใช้ทฤษฎเี ซตคลุมเครอื (ซง่ึ มพี น้ื ฐานมาจากตรรกะคลมุ เครอื ) ขน้ึ เป็นอกี ทางเลือกหน่งึ

ปัจจุบันมีการกล่าวถึงมาตรฐานโครงสร้างฐานข้อมูลเพ่ือให้สามารถเช่ือมโยงฐานข้อมูลต่าง
ระบบให้สืบค้นรวมกันเสมือนเป็นฐานข้อมูลเดียวกันและการสืบค้นต้องแสดงผลตรงตามคาถาม
มาตรฐานดังกล่าวได้แก่ XML RDF Dublin Core Metadata เป็นตน้ และสงิ่ สาคญั อีกประการหนึ่งที่
จะช่วยให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลรหว่างต่างหน่วยงานได้ดี คือการใช้ Taxonomy และ อรรถาภิธาน
ซ่ึงเป็นเครือ่ งมือสาหรบั จดั การความรู้ในลักษณะศพั ท์ควบคมุ เพ่อื จากัดความหมายของคาที่ใช้ได้หลาย
คาในความหมายเดยี วกันระบบจัดการฐานขอ้ มลู

ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการฐานข้อมูลนั้นโดยท่ัวไปเรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ ดีบีเอ็ม
เอส (DBMS - Database Management System) สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ของดีบีเอ็มเอสอาจมีได้
หลายแบบ เช่น สาหรับฐานข้อมูลขนาดเล็กท่ีมีผู้ใช้คนเดียว บ่อยคร้ังที่หน้าที่ทั้งหมดจะจัดการด้วย
โปรแกรมเพียงโปรแกรมเดียว ส่วนฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้จานวนมากนั้นปกติจะประกอบด้วย
โปรแกรมหลายโปรแกรมด้วยกันและโดยท่ัวไปส่วนใหญ่จะใช้สถาปัตยกรรมแบบรับ -ให้บริการ
(client-server)

โปรแกรมส่วนหน้า (front-end) ของดีบีเอ็มเอส (ได้แก่ โปรแกรมรับบริการ) จะเก่ียวข้อง
เฉพาะการนาเข้าข้อมูล, การตรวจสอบ, และการรายงานผลเป็นสาคัญในขณะที่โปรแกรมส่วนหลัง
(back-end) ซ่ึงได้แก่ โปรแกรมให้บริการจะเป็นชุดของโปรแกรมที่ดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุม,
การเก็บขอ้ มลู , และการตอบสนองการร้องขอจากโปรแกรมส่วนหน้า โดยปกติแล้วการค้นหาและการ
เรียงลาดับ จะดาเนินการโดยโปรแกรมให้บริการ รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีหลากหลายรูปแบบ
ด้วยกัน นับตั้งแต่การใช้ตารางอย่างง่ายที่เก็บในแฟ้มข้อมูลแฟ้มเดียวไปจนกระทั่งฐานข้อมูลขนาด
ใหญ่มากที่มีระเบียนหลายล้านระเบียนซ่ึงเก็บในห้องท่ีเต็มไปด้วยดิสก์ไดรฟ์หรืออุปกรณ์หน่วยเก็บ
ขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนกิ ส์รอบข้าง (peripheral) อนื่ ๆ

การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสาคัญต่อการจัดการระบบฐานข้อมูล
(DBMS) ทั้งนี้เน่ืองจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลโครงสร้าง
ของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้ฐานข้อมูล ดังนั้นเราจึง
สามารถแบ่งวธิ ีการสรา้ งฐานข้อมลู ได้ 3ประเภท

1. รูปแบบข้อมูลแบบลาดับขั้นหรือโครงสร้างแบบลาดับขั้น (Hierarchical data model)
วิธีการสร้างฐานข้อมูลแบบลาดับข้ันถูกพัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม จากัด ในปี1980 ได้รับความนิยม

12

มาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลางโดยที่โครงสร้างข้อมูล
จะสร้างรูปแบบเหมอื นตน้ ไม้โดยความสัมพนั ธเ์ ปน็ แบบหนึง่ ตอ่ หลาย (One- to -Many)

2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความ
คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นต่างกันท่ีโครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อ
หน่ึง (Many-to-one) หรือหลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่
(Parent) มากกวา่ หนง่ึ สาหรับตวั อย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายให้ลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของ
หอ้ งสมุดซึง่ รายการจะประกอบดว้ ย ชื่อเร่ือง ผ้แู ตง่ สานักพิมพ์ ทอ่ี ยู่ ประเภท

3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูล
โดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะ
แทนเรคอร์ด (Record) ส่วนข้อมูลนแนวด่ิงจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล
(Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังน้ันผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการ
วางแผนถึงตารางข้อมูลทีจ่ าเปน็ ต้องใชเ้ ช่นระบบฐานข้อมลู บรษิ ัทแหง่ หนง่ึ ประกอบดว้ ยตารางประวัติ
พนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และ
ตารางขอ้ มลู โครงการ

การออกแบบฐานข้อมูลในองค์กรขนาดเล็กเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานอาจเป็น
เรื่องที่ไม่ยงุ่ ยากนกั เนอื่ งจากระบบและขั้นตอนการทางานภายในองค์กรไม่ซับซ้อน ปริมาณข้อมูลท่ีมี
ก็ไม่มาก และจานวนผู้ใช้งานฐานข้อมูลก็มีเพียงไม่กี่คนหากทว่าในองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งมีระบบและ
ข้ันตอนการทางานที่ซับซ้อนรวมท้ังมีปริมาณข้อมูลและผู้ใช้งานจานวนมาก การออกแบบฐานข้อมูล
จะเป็นเรื่องท่ีมีความละเอียดซับซ้อนและต้องใช้เวลาในการดาเนินการนานพอควรทีเดียว ทั้งนี้
ฐานข้อมูลท่ีได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งาน
ภายในหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ ซ่ึงจะทาให้การดาเนินงานขององค์กรมีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน
เป็นผลตอบแทนท่ีคุ้มค่าต่อการลงทุนเพ่ือพัฒนาระบบฐานข้อมูลภายในองค์กรทั้งนี้การออกแบบ
ฐานข้อมูลทน่ี าซอฟต์แวรร์ ะบบจดั การฐานข้อมลู มาช่วยในการดาเนนิ การ

13

สามารถจาแนกหลกั ในการดาเนินการได้ 6 ข้ันตอน คอื
1. การรวบรวมและวเิ คราะห์ความต้องการในการใชข้ ้อมลู
2. การเลอื กระบบจัดการฐานข้อมูล
3. การออกแบบฐานข้อมลู ในระดบั แนวคิด
4. การนาฐานข้อมูลท่อี อกแบบในระดบั แนวคิดเขา้ สู่ระบบจดั การฐานขอ้ มลู
5. การออกแบบฐานขอ้ มูลในระดับกายภาพ
6. การนาฐานข้อมลู ไปใช้และการประเมินผล

การออกแบบฐานขอ้ มลู ในระดบั ตรรกะ

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ หรือในระดับแนวความคิดเป็นข้ันตอนการออกแบบ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบโดยใช้แบบจาลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ซึ่งอธิบายโดยใช้แผนภาพแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (E-R Diagram) จากแผนภาพ E-R Diagram นามาสร้างเป็นตารางข้อมูล
(Mapping E-R Diagram to Relation) และใช้ทฤษฏีการ Normalization เพื่อเป็นการรับประกันว่า
ขอ้ มูลมีความซ้าซอ้ นกนั น้อยท่สี ุด

2. องค์ประกอบของระบบการจดั การฐานข้อมูล

ระบบการจัดการฐานข้อมลู ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั หลักๆ 5 สว่ น คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ขอ้ มูล
กระบวนการทางาน และบุคลากร ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

2.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถงึ คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณต์ า่ งๆ เพือ่ เก็บข้อมูลและประมวลผล
ขอ้ มลู ซ่ึงอาจประกอบด้วยเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ตงั้ แต่หนงึ่ เครือ่ งขึ้นไป หน่วยเก็บข้อมูลสารอง หนว่ ยนาเขา้
ขอ้ มูล และหน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากนย้ี งั ต้องมีอุปกรณก์ ารสื่อสารเพ่ือเชือ่ มโยงอุปกรณ์ทางคอมพวิ เตอร์
หลายๆเครื่องใหส้ ามารถแลกเปลยี่ นข้อมูลกันได้ เป็นต้น โดยเครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีจะใชเ้ ป็นอุปกรณ์สาหรับ
ประมวลผลขอ้ มลู ในฐานขอ้ มูลน้ัน สามารถเปน็ ได้ต้ังแต่เครอื่ งเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ หรือ
ไมโครคอมพิวเตอร์ ซ่ึงถา้ เป็นเครือ่ งเมนเฟรมคอมพวิ เตอรห์ รือมนิ คิ อมพวิ เตอร์ จะสามารถใช้ต่อกับเทอร์มินลั
หลายเครอื่ ง เพ่ือให้ผใู้ ช้งานฐานข้อมูลหลายคน สามารถดึงขอ้ มูลหรือปรับปรุงขอ้ มลู ภายในฐานขอ้ มูลเดียวกนั
พร้อมกันได้ ซ่ึงเป็นลกั ษณะของการทางานแบบมัลตยิ สู เซอร์ (multi user)

สว่ นการประมวลผลฐานข้อมูลในเคร่อื งระดับไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถทาการประมวลผลได้ 2 แบบ แบบ
แรกเปน็ การประมวลผลฐานข้อมูลในเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรเ์ พียงเครอ่ื งเดยี ว โดยมีผใู้ ช้งานไดเ้ พยี งคนเดียว
เทา่ นั้น (single user) ท่ีสามารถดงึ ข้อมูลหรือปรบั ปรงุ ข้อมลู ภายในฐานขอ้ มูลได้ สาหรับแบบท่สี องจะเป็นการ

14

นาไมโครคอมพิวเตอร์หลายตัวมาเชอื่ มต่อกนั ในลักษณะของเครอื ข่ายระยะใกล้ (Local Area Network :

LAN) ซึง่ เปน็ รูปแบบของระบบเครอื ข่ายแบบลกู ขา่ ย / แม่ขา่ ย (client / server network) โดยจะมกี ารเกบ็

ฐานขอ้ มลู อยทู่ ีเ่ ครื่องแม่ขา่ ย (server) การประมวลผลตา่ งๆ จะกระทาที่เครื่องแมข่ ่าย สาหรบั เคร่ืองลูกขา่ ย

(client) จะมีหนา้ ท่ดี ึงข้อมูลหรือสง่ ข้อมูลเข้ามาปรับปรงุ ในเครอื่ งแม่ข่าย หรือคอยรบั ผลลพั ธจ์ ากการ

ประมวลผลของเคร่อื งแม่ข่าย ดงั น้ันการประมวลผลแบบน้ีจึงเป็นการเปิดโอกาสใหผ้ ใู้ ช้งานหลายคนสามารถใช้

งานฐานขอ้ มูลร่วมกันได้

ระบบฐานข้อมลู ท่มี ีประสทิ ธิภาพดีต้องอาศยั เครื่องคอมพิวเตอร์ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพสูง คือสามารถเก็บข้อมูลได้
จานวนมากและประมวลผลได้อย่างรวดเรว็ เพ่ือรองรับการทางานจากผู้ใช้หลายคน ที่อาจมกี ารอ่านข้อมูลหรอื
ปรบั ปรุงข้อมลู พร้อมกันในเวลาเดยี วกนั ได้

2.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมทีใ่ ช้ในระบบการจัดการฐานข้อมลู ซ่ึงมกี ารพฒั นาเพ่ือ
ใชง้ านไดก้ บั เครือ่ งไมโครคอมพวิ เตอรจ์ นถึงเคร่ืองเมนเฟรม ซ่ึงโปรแกรมแต่ละตัวจะมีคณุ สมบัติการทางานท่ี
แตกตา่ งกัน ดังนน้ั ในการพิจารณาเลือกใช้โปรแกรม จะต้องพจิ ารณาจากคุณสมบัติของโปรแกรมแตล่ ะตัววา่ มี
ความสามารถทางานในสิ่งทเี่ ราต้องการไดห้ รือไม่ อกี ทั้งเรื่องราคากเ็ ปน็ เรื่องสาคญั เนอ่ื งจากราคาของ
โปรแกรมแตล่ ะตัวจะไม่เท่ากัน โปรแกรมที่มีความสามารถสูงก็จะมรี าคาแพงมากข้ึน นอกจากนี้ยังต้อง
พิจารณาวา่ สามารถใชร้ ่วมกับฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวรร์ ะบบปฏบิ ัติการท่เี รามีอยู่ได้หรือไม่ ซึ่งโปรแกรมทใี่ ชใ้ น
การจดั การฐานข้อมูล ไดแ้ ก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เป็นต้น
โดยโปรแกรมที่เหมาะสาหรบั ผเู้ รม่ิ ตน้ ฝึกหัดสร้างฐานข้อมลู คือ Microsoft Access เนอ่ื งจากเปน็ โปรแกรม
ใน Microsoft Office ตัวหนึ่ง ซ่งึ จะมีอยู่ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์อยู่แล้ว และการใช้งานก็ไมย่ ากจนเกินไป แต่
ผ้ใู ช้งานต้องมีพน้ื ฐานในการออกแบบฐานขอ้ มูลมาก่อน

2.3 ข้อมลู (data) ระบบการจัดการฐานข้อมลู ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ควรประกอบดว้ ยขอ้ มลู ท่ีมี
คุณสมบัติขนั้ พ้นื ฐานดังน้ี

2.3.1 มีความถูกตอ้ ง หากมีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แล้วขอ้ มูลเหล่านั้นเชอ่ื ถอื ไม่ได้จะทาให้
เกิดผลเสียอยา่ งมาก ผู้ใช้จะไม่กลา้ อา้ งองิ หรือนาไปใช้ประโยชน์ ซ่งึ เป็นสาเหตุใหก้ ารตัดสินใจของผ้บู ริหารขาด
ความแม่นยา และอาจมโี อกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างขอ้ มลู ที่ออกแบบต้องคานงึ ถงึ กรรมวิธีการดาเนินงาน
เพอื่ ใหไ้ ด้ความถูกต้องแมน่ ยามากทสี่ ดุ โดยปกตคิ วามผิดพลาดของสารสนเทศสว่ นใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มี
ความถกู ตอ้ งซ่ึงอาจมสี าเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบการจัดการฐานข้อมลู จึงต้องคานงึ ถึง
ในเรอ่ื งน้ีดว้ ย

2.3.2 มีความรวดเรว็ และเป็นปจั จุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นตอ้ งให้ทันต่อความต้องการ
ของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผใู้ ช้ได้อย่างรวดเรว็ ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ
มีการออกแบบระบบการเรยี กค้น และแสดงผลไดต้ รงตามความตอ้ งการของผูใ้ ช้

15

2.3.3 มีความสมบรู ณ์ของข้อมลู ซึง่ ขน้ึ อยู่กบั การรวบรวมข้อมูลและวิธกี ารปฎบิ ัติดว้ ย ในการ
ดาเนนิ การจดั ทาขอ้ มลู ตอ้ งสารวจและสอบถามความต้องการข้อมลู เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมลู ท่มี คี วามสมบูรณ์และ
เหมาะสม

2.3.4 มีความชดั เจนและกะทัดรัด การจดั เก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พ้นื ท่ีในการจดั เกบ็
ข้อมลู มาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างขอ้ มลู ใหก้ ะทัดรัดสอ่ื ความหมายได้ มกี ารใช้รหัสหรือย่อข้อมลู ให้
เหมาะสมเพอ่ื ทจ่ี ะจัดเกบ็ ไวใ้ นระบบคอมพิวเตอร์

2.3.5 มคี วามสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ ซึ่งเป็นเรอ่ื งทสี่ าคัญ ดังนั้นจงึ ต้องมีการสารวจเพอื่
หาความต้องการของหนว่ ยงานและองค์กร ดูสภาพการใชข้ ้อมลู ความลกึ หรือความกวา้ งของขอบเขตของ
ขอ้ มูลทีส่ อดคล้องกับความต้องการ

2.4 กระบวนการทางาน (procedures) หมายถงึ ข้นั ตอนการทางานเพื่อใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ตามทีต่ ้องการ
เชน่ คมู่ ือการใช้งานระบบการจดั การฐานข้อมูล ต้งั แตก่ ารเปิดโปรแกรมขึน้ มาใชง้ าน การนาเข้าขอ้ มูล การ
แก้ไขปรบั ปรงุ ข้อมลู การค้นหาข้อมูล และการแสดงผลการคน้ หา เป็นต้น

2.5 บคุ ลากร (people) จาเปน็ ต้องเกีย่ วขอ้ งกับระบบอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงบคุ ลากรทีท่ าหน้าทใี่ นการ
จดั การฐานข้อมลู มดี งั ต่อไปน้ี

2.5.1 ผบู้ รหิ ารขอ้ มลู (data administrators) ทาหนา้ ท่ีในการกาหนดความต้องการในการ
ใช้ขอ้ มูลข่าวสารขององค์กร การประมาณขนาดและอตั ราการขยายตัวของขอ้ มูลในองค์กร ตลอดจนทาการ
จัดการดูแลพจนานุกรมข้อมลู เปน็ ต้น

2.5.2 ผบู้ ริหารฐานข้อมลู (database administrators) ทาหนา้ ที่ในการบริหารจัดการ
ควบคุม กาหนดนโยบาย มาตรการ และมาตรฐานของระบบฐานข้อมูลทง้ั หมดภายในองค์กร ตัวอย่างเช่น
กาหนดรายละเอยี ดและวิธีการจัดเกบ็ ข้อมลู กาหนดควบคมุ การใชง้ านฐานข้อมูล กาหนดระบบรกั ษาความ
ปลอดภัยของข้อมูล กาหนดระบบสารองขอ้ มูล และกาหนดระบบการกู้คนื ข้อมลู เป็นต้น ตลอดจนทาหน้าท่ี
ประสานงานกับผู้ใช้ นักวิเคราะหร์ ะบบ และนักเขยี นโปรแกรม เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารระบบฐานขอ้ มูลสามารถ
ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

2.5.3 นักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts) มีหนา้ ที่ศกึ ษาและทาความเข้าใจใน
ระบบงานขององค์กร ศึกษาปญั หาท่ีเกิดข้นึ จากระบบงานเดมิ และความต้องการของระบบใหม่ที่จะทาการ
พัฒนาข้นึ มา รวมท้ังต้องเปน็ ผู้ท่ีมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการทางานโดยรวมของทัง้ ฮาร์ดแวร์และ
ซอฟตแ์ วร์อกี ด้วย

16

2.5.4 นกั ออกแบบฐานขอ้ มูล (database designers) ทาหนา้ ทนี่ าผลการวเิ คราะห์ ซ่ึงได้แก่
ปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ จากการทางานในปัจจุบัน และความต้องการทีอ่ ยากจะให้มีในระบบใหม่ มาออกแบบ
ฐานขอ้ มูลเพ่ือแก้ปญั หาทีเ่ กิดข้นึ และให้ตรงกบั ความต้องการของผู้ใช้งาน

2.5.5 นกั เขยี นโปรแกรม (programmers) มีหนา้ ที่รบั ผิดชอบในการเขยี นโปรแกรมประยกุ ต์
เพื่อการใช้งานในลักษณะตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ ตวั อยา่ งเชน่ การเกบ็ บันทึกข้อมลู และการเรยี กใช้
ขอ้ มลู จากฐานข้อมลู เป็นต้น

2.5.6 ผู้ใช้ (end-users) เปน็ บคุ คลทใ่ี ช้ข้อมูลจากระบบฐานขอ้ มูล ซึง่ วัตถปุ ระสงคห์ ลกั ของ
ระบบฐานข้อมูล คือ ตอบสนองความต้องการในการใชง้ านของผู้ใช้ ดังนน้ั ในการออกแบบระบบฐานข้อมูลจึง
จาเปน็ ตอ้ งมผี ู้ใช้เข้ารว่ มอยู่ในกลมุ่ บุคลากรท่ที าหน้าทีอ่ อกแบบฐานข้อมูลด้วย

3.หนา้ ท่ขี องระบบการจัดการฐานข้อมูล

ซอฟต์แวร์ระบบฐานการจัดการฐานข้อมูลทดี่ จี ะตอ้ งทาหนา้ ทแ่ี ก้ปัญหาความไมส่ มบูรณ์ ไม่คงเสน้ คงวา
ของข้อมลู และทาให้ข้อมลู มีความถูกต้องไม่ขัดแย้งกันได้ จงึ ตอ้ งมีหนา้ ทีใ่ หค้ รอบคลมุ หลาย ๆ ดา้ น ดังน้ี

1.หนา้ ทจ่ี ัดการพจนานุกรมข้อมูล

ในการออกแบบฐานข้อมูลโดยปกติ ผอู้ อกแบบไดเ้ ขยี นพจนานกุ รมข้อมลู ในรปู ของเอกสาร
ใหก้ ับโปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์จะใช้ซอฟตแ์ วร์ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู สรา้ งพจนานุกรมข้อมูลต่อไป
และสามารถกาหนดความสัมพนั ธ์ระหว่างตาราง เมื่อมีการเปล่ยี นแปลงโครงสร้างขอ้ มูล จาเป็นต้องเปล่ียนท่ี
พจนานุกรมขอ้ มูลด้วย โปรแกรมเมอรส์ ามารถเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งข้อมลู ได้ทันที ตอ่ จากนน้ั จึงให้
พจนานกุ รมขอ้ มลู พิมพร์ ายงาน พจนานุกรมขอ้ มูลท่ีเปลย่ี นแปลงไปแลว้ เป็นเอกสารได้เลยทันท่ี โดยไม่ต้อง
แกไ้ ขท่ีเอกสาร

2.หน้าที่จัดการแหล่งจดั เกบ็ ข้อมูล

ระบบการจดั การฐานข้อมลู ท่ีทันสมยั จะไม่ทาหน้าท่เี พียงจัดการแหลง่ จัดเก็บข้อมูลเทา่ น้ัน
แต่ยังเพ่ิมหนา้ ที่ทเี่ กย่ี วกับการสรา้ งฟอร์มป้อนข้อมลู เขา้ หรือกาหนดแบบจอภาพ แบบรายงาน หรอื แม้แต่การ
ตรวจสอบข้อมูลนาเข้าว่าถูกต้องหรอื ไม่ และจดั การเร่ืองอน่ื ๆ อกี หลายอยา่ ง

3.การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล

การเปลีย่ นรปู แบบและการแสดงผลขอ้ มลู เป็นหนา้ ท่สี าหรบั เปลี่ยนข้อมลู ทถ่ี กู ป้อนเข้าไป
เป็นโครงสร้างข้อมลู จะจดั เก็บ ซ่ึงอยู่ในมุมมองทางกายภาพ หรอื อาจจะกลา่ วไดว้ ่า ระบบจัดการฐานข้อมลู ทา
ขอ้ มูลใหเ้ ปน็ อิสระจากโปรแกรมประยกุ ต์ได้

17

4.จัดการดา้ นความปลอดภัยของข้อมูล

ระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าทร่ี กั ษาความมน่ั คง ความปลอดภัยของขอ้ มูล การไมย่ นิ ยอม

เข้าถงึ ขอ้ มลู จากผู้ใชท้ ่ีไม่มสี ทิ ธิ์เขา้ ไปใชฐ้ านข้อมูล โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ฐานขอ้ มลู ประเภทผู้ใชห้ ลายคน

นอกจากนีย้ งั สามารถกาหนดสทิ ธใิ์ หผ้ ้ใู ช้แตล่ ะคนใชค้ าสั่ง เพิม่ หรือลบ ปรับปรงุ ข้อมูลได้เปน็ รายคนหรือราย

กลุม่

5.ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผ้ใู ช้

การควบคมุ การเข้าถงึ ขอ้ มลู เปน็ การทาหน้าท่ใี หผ้ ้ใู ช้เข้าใช้ไดห้ ลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน
โดยไม่ทาให้เกิดขัดข้องของข้อมลู ซงึ่ จะเน้นกฎความสมบูรณข์ องข้อมูลและการใชข้ ้อมลู พรอ้ มกนั

6.สารองข้อมูลและการกู้คนื ข้อมลู

การสารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมลู เป็นหนา้ ท่ที ่ีจาเปน็ อย่างยง่ิ เพ่ือใหผ้ ูใ้ ชร้ ะบบฐานข้อมูล
มน่ั ใจว่าขอ้ มูลทจ่ี ัดเก็บอยใู่ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ไม่ไดเ้ สียหาย ยงั มีความสมบรู ณอ์ ยตู่ ลอดเวลา ผ้ใู ชท้ ่ีเปน็
ผู้บรหิ ารฐานขอ้ มลู สามารถใช้คาส่ังสารองขอ้ มูลและคาสง่ั กู้คนื ข้อมลู ได้

7.จัดการด้านบูรณภาพของข้อมูล

เป็นขอ้ กาหนดให้มีกฎความสมบรู ณ์เป็นบรู ณภาพ โดยจะใหม้ ขี ้อมลู ทซ่ี า้ ซ้อนกนั ให้น้อยทส่ี ดุ
แต่ใหม้ คี วามถูกต้องตรงกนั ให้มากท่ีสุด เพราะในระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์จะมีหลาย ๆ ตารางทสี่ มั พนั ธ์กัน
ตารางทเี่ กี่ยวข้องกันจะขัดแย้งกนั ไม่ได้

8.เปน็ ภาษาสาหรบั จดั การข้อมลู และจดั สร้างส่วนประสานกบั ผ้ใู ช้

ระบบจดั การฐานข้อมลู จัดให้มภี าษาสาหรับสอบถาม เป็นภาษาที่เขียนเขา้ ใจงา่ ยไมเ่ หมือน
ภาษาชนั้ สงู ประเภท Procedural ทว่ั ไป ทาใหผ้ เู้ ขยี นโปรแกรมภาษาระดับสูงเขียนคาสั่งเข้าไปสอบถามข้อมลู
หรอื ประมวลผลสารสนเทศได้ตามต้องการ

9.เป็นส่วนประสานกบั ผ้ใู ชใ้ นด้านการสอ่ื สารฐานข้อมลู

ระบบการจัดการฐานข้อมลู สมยั ใหมจ่ ะสนบั สนนุ การทางานแบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็
เพ่อื ให้ผู้ใช้สามารถเขยี นคาสง่ั ดว้ ยโปรแกรมทท่ี างานบน www เช่น browser ของ Internet
Explorer หรือ Netscape เป็นตน้

18

4.ประโยชนข์ องระบบจัดการฐานขอ้ มูล

ในปจั จบุ นั องค์กรส่วนใหญห่ ันมาใหค้ วามสนใจกับระบบฐานข้อมูลกนั มาก เนือ่ งจากระบบฐานขอ้ มูลมี
ประโยชนด์ งั ตอ่ ไปน้ี

1.ลดความซา้ ซ้อนของข้อมลู

เนอื่ งจากการใชง้ านระบบฐานข้อมูลน้ันต้องมีการออกแบบฐานข้อมลู เพื่อใหม้ ีความซา้ ซ้อน
ของขอ้ มูลน้อยท่สี ุด จดุ ประสงคห์ ลักของการออกแบบฐานขอ้ มลู เพ่ือการลดความซ้าซ้อน สาเหตทุ ่ตี ้องลด
ความซา้ ซ้อน เนื่องจากความยากในการปรบั ปรงุ ข้อมลู กล่าวคือถา้ เก็บข้อมูลซ้าซ้อนกันหลายแห่ง เม่ือมี
การปรบั ปรุงข้อมลู แลว้ ปรบั ปรงุ ขอ้ มูลไม่ครบทาให้ข้อมลู เกิดความขดั แย้งกนั ของขอ้ มลู ตามมา และยัง
เปลืองเนอื้ ท่ีการจัดเก็บข้อมลู ดว้ ย เนอื่ งจากข้อมลู ชุดเดียวกันจัดเก็บซา้ กนั หลายแหง่ น่นั เอง

ถงึ แม้ว่าความซา้ ซ้อนช่วยให้ออกรายงานและตอบคาถามได้เร็วขึน้ แต่ข้อมูลจะเกิดความ
ขดั แยง้ กัน ในกรณที ี่ต้องมีการปรบั ปรงุ ข้อมูลหลายแหง่ การออกรายงานจะทาไดเ้ ร็วเทา่ ใดนัน้ จึงไม่มี
ความหมายแต่อยา่ งใด และเหตผุ ลทสี่ าคญั อีกประการหนึ่งคือปญั หาเร่อื งความขัดแยง้ กันของข้อมูลแก้ไข
ไม่ได้ด้วยฮาร์ดแวร์ ขณะทกี่ ารออกรายงานชา้ นั้นใช้ความสามารถของฮารด์ แวรช์ ว่ ยได้

2.รกั ษาความถกู ต้องของขอ้ มูล

เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมลู สามารถตรวจสอบกฎบงั คับความถูกต้องของข้อมูลให้ได้
โดยนากฎเหลา่ นนั้ มาไวท้ ่ฐี านขอ้ มูล ซง่ึ ถอื เปน็ หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมลู ท่ีจะจัดการเร่ืองความ
ถกู ต้องของข้อมลู ให้แทน แตถ่ า้ เป็นระบบแฟ้มข้อมลู ผู้พฒั นาโปรแกรมต้องเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุม
กฎระเบยี บต่างๆ(data integrity) เองทั้งหมด ถา้ เขียนโปรแกรมครอบคลุมกฎระเบียบใดไม่ครบหรือ
ขาดหายไปบางกฎอาจทาให้ข้อมลู ผิดพลาดได้ และยังชว่ ยลดค่าใชจ้ ่ายในการบารงุ รักษาและพัฒนา
โปรแกรมดว้ ย เนอ่ื งจากระบบจดั การฐานข้อมลู จดั การให้นนั่ เอง เนอื่ งจากระบบจัดการฐานขอ้ มูลสามารถ
รองรบั การใช้งานของผู้ใช้หลายคนพร้อมกนั ได้ ดังน้ันความคงสภาพและความถูกต้องของข้อมูลจงึ มี
ความสาคญั มากและตอ้ งควบคุมให้ดีเนื่องจากผู้ใชอ้ าจเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อมลู ได้ ซึ่งจะทาให้เกดิ ความ
ผิดพลาดกระทบต่อการใชข้ ้อมูลของผู้ใช้อื่นทง้ั หมดได้ ดังนัน้ ประโยชน์ของระบบฐานขอ้ มลู ในเรื่องนจ้ี ึงมี
ความสาคัญมาก

19

3. มีความเปน็ อสิ ระของข้อมูล

เนือ่ งจากมีแนวคดิ ที่ว่าทาอย่างไรใหโ้ ปรแกรมเปน็ อิสระจากการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งข้อมูล
ในปัจจุบนั นถี้ ้าไมใ่ ชร้ ะบบฐานข้อมูลการแก้ไขโครงสร้างข้อมูลจะกระทบถึงโปรแกรมด้วย เนอื่ งจากในการ
เรยี กใช้ขอ้ มลู ท่ีเก็บอยใู่ นระบบแฟม้ ข้อมูลนัน้ ต้องใช้โปรแกรมทเ่ี ขยี นขนึ้ เพื่อเรียกใช้ข้อมูลในแฟ้มขอ้ มูล
นัน้ โดยเฉพาะ เชน่ เม่ือตอ้ งการรายชอ่ื พนักงานท่ีมเี งินเดือนมากกวา่ 100,000 บาทต่อเดือน
โปรแกรมเมอรต์ อ้ งเขยี นโปรแกรมเพ่ืออา่ นข้อมลู จากแฟ้มข้อมูลพนักงานและพิมพร์ ายงานทแี่ สดงเฉพาะ
ข้อมลู ที่ตรงตามเง่อื นไขทก่ี าหนด กรณีที่มีการเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งของแฟ้มข้อมลู ข้อมลู เชน่ ให้มีดชั นี
(index) ตามชอ่ื พนักงานแทนรหสั พนกั งาน ส่งผลให้รายงานท่แี สดงรายชื่อพนักงานท่ีมีเงินเดือนมากกว่า
100,000 บาทต่อเดือนซึง่ แต่เดิมกาหนดใหเ้ รยี งตามรหสั พนักงานน้ันไม่สามารถพมิ พไ์ ด้ ทาใหต้ ้องมีการ
แก้ไขโปรแกรมตามโครงสรา้ งดชั นี (index) ที่เปลี่ยนแปลงไป ลกั ษณะแบบน้ีเรยี กว่าข้อมูลและโปรแกรม
ไม่เป็นอิสระต่อกัน

สาหรบั ระบบฐานขอ้ มูลนน้ั ข้อมูลภายในฐานข้อมลู จะเปน็ อิสระจากโปรแกรมทเี่ รียกใช้
(data independence) สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไมก่ ระทบต่อโปรแกรม
ที่เรยี กใชข้ ้อมูลจากฐานขอ้ มลู เนือ่ งจากระบบฐานข้อมูลมีระบบจัดการฐานข้อมูลทาหนา้ ทีแ่ ปลงรูป
(mapping) ให้เป็นไปตามรปู แบบที่ผใู้ ชต้ ้องการ เนอื่ งจากในระบบแฟม้ ขอ้ มูลนน้ั ไม่มคี วามเป็นอิสระของ
ขอ้ มลู ดงั นั้นระบบฐานขอ้ มูลไดถ้ กู พัฒนาข้ึนมาเพ่ือแกป้ ัญหาด้านความเปน็ อิสระของขอ้ มูล น่ันคอื ระบบ
ฐานขอ้ มูลมีการทางานไมข่ ้นึ กับรปู แบบของฮาร์ดแวรท์ น่ี ามาใช้กบั ระบบฐานข้อมลู และไม่ขึ้นกับโครงสรา้ ง
ทางกายภาพของข้อมูล และมกี ารใชภ้ าษาสอบถามในการติดต่อกับข้อมลู ภายในฐานข้อมลู แทนคาสง่ั ของ
ภาษาคอมพิวเตอรใ์ นยุคท่ี 3 ทาใหผ้ ้ใู ชเ้ รียกใชข้ ้อมูลจากฐานขอ้ มูลโดยไมจ่ าเป็นตอ้ งทราบรูปแบบการ
จัดเกบ็ ข้อมลู ประเภทหรือขนาดของขอ้ มูลนั้นๆ

4. มคี วามปลอดภยั ของข้อมลู สูง

ถ้าหากทุกคนสามารถเรียกดแู ละเปล่ียนแปลงข้อมลู ในฐานขอ้ มลู ท้ังหมดได้ อาจก่อใหเ้ กิด
ความเสียหายตอ่ ข้อมูลได้ และข้อมูลบางส่วนอาจเป็นข้อมลู ที่ไม่อาจเปิดเผยได้หรือเป็นข้อมลู เฉพาะของ
ผบู้ รหิ าร หากไมม่ ีการจัดการด้านความปลอดภยั ของข้อมลู ฐานข้อมูลกจ็ ะไม่สามารถใชเ้ กบ็ ข้อมูลบางสว่ น
ได้

20

ระบบฐานข้อมูลสว่ นใหญ่จะมีการรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มูล ดังนี้

· มรี หัสผใู้ ช้ (user) และรหสั ผา่ น (password) ในการเข้าใชง้ านฐานข้อมลู สาหรับผูใ้ ช้แต่ละคนระบบ
ฐานขอ้ มูลมีระบบการสอบถามชือ่ พร้อมรหัสผ่านของผู้เข้ามาใช้ระบบงานเพื่อให้ทางานในส่วนท่ีเก่ยี วข้อง
เทา่ นั้น โดยป้องกนั ไม่ใหผ้ ้ทู ่ไี ม่ไดร้ ับอนุญาตเข้ามาเหน็ หรือแก้ไขข้อมลู ในส่วนท่ตี ้องการปกปอ้ งไว้

· ในระบบฐานข้อมูลสามารถสรา้ งและจัดการตารางข้อมลู ทั้งหมดในฐานข้อมลู ท้งั การเพิม่ ผู้ใช้ ระงับการ
ใชง้ านของผู้ใช้ อนญุ าตใหผ้ ้ใู ช้สามารถเรยี กดู เพ่ิมเติม ลบและแก้ไขข้อมูล หรือบางส่วนของข้อมลู ไดใ้ น
ตารางท่ไี ด้รบั อนุญาต) ระบบฐานข้อมูลสามารถกาหนดสิทธกิ ารมองเห็นและการใชง้ านของผใู้ ชต้ า่ งๆ ตาม
ระดบั สิทธแิ ละอานาจการใชง้ านข้อมูลน้ันๆ

· ในระบบฐานข้อมลู (DBA) สามารถใช้วิว (view) เพ่อื ประโยชนใ์ นการรักษาความปลอดภัยของข้อมลู ได้
เปน็ อย่างดี โดยการสรา้ งวิวทเ่ี สมอื นเปน็ ตารางของผ้ใู ชจ้ ริงๆ และข้อมูลท่ปี รากฏในววิ จะเป็นข้อมลู ท่ี
เก่ยี วข้องกับงานของผู้ใช้เท่านั้น ซง่ึ จะไม่กระทบกับข้อมลู จริงในฐานขอ้ มูล

· ระบบฐานข้อมลู จะไม่ยอมใหโ้ ปรแกรมใดๆ เขา้ ถึงข้อมูลในระดับกายภาพ (physical) โดยไม่ผ่าน ระบบ
การจดั การฐานข้อมูล และถ้าระบบเกิดความเสียหายขน้ึ ระบบจดั การฐานขอ้ มูลรบั รองไดว้ ่าขอ้ มลู ท่ยี นื ยนั
การทางานสาเร็จ (commit) แล้วจะไมส่ ญู หาย และถ้ากลุ่มงานท่ยี งั ไม่สาเรจ็ (rollback) น้ันระบบจัดการ
ฐานข้อมลู รับรองไดว้ า่ ข้อมลู เดิมก่อนการทางานของกล่มุ งานยงั ไมส่ ญู หาย

· มกี ารเขา้ รหสั และถอดรหัส (encryption/decryption) เพือ่ ปกปิดข้อมลู แกผ่ ทู้ ไ่ี ม่เก่ียวขอ้ ง เชน่ มกี าร
เข้ารหสั ขอ้ มลู รหัสผา่ น

5. ใชข้ ้อมลู ร่วมกนั โดยมีการควบคุมจากศนู ย์กลาง

มีการควบคุมการใช้ขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู จากศูนย์กลาง ระบบฐานข้อมูลสามารถรองรับการ
ทางานของผใู้ ชห้ ลายคนได้ กลา่ วคอื ระบบฐานขอ้ มลู จะต้องควบคมุ ลาดบั การทางานให้เป็นไปอยา่ งถกู ตอ้ ง
เช่นขณะทีผ่ ู้ใชค้ นหนงึ่ กาลงั แกไ้ ขข้อมูลส่วนหนงึ่ ยงั ไมเ่ สรจ็ กจ็ ะไม่อนญุ าตใหผ้ ูใ้ ชค้ นอื่นเขา้ มาเปลย่ี นแปลง
แก้ไขข้อมูลนนั้ ได้ เนอื่ งจากข้อมลู ทเ่ี ข้ามายงั ระบบฐานข้อมูลจะถกู นาเข้าโดยระบบงานระดบั ปฏิบตั กิ าร
ตามหน่วยงานยอ่ ยขององคก์ ร ซง่ึ ในแต่ละหน่วยงานจะมีสิทธิในการจัดการข้อมลู ไม่เทา่ กนั ระบบ
ฐานขอ้ มูลจะทาการจดั การว่าหนว่ ยงานใดใช้ระบบจดั การฐานขอ้ มูลในระดับใดบ้าง ใครเปน็ ผนู้ าข้อมลู เข้า
ใครมสี ทิ ธแิ ก้ไขข้อมลู และใครมีสทิ ธิเพยี งเรียกใชข้ อ้ มลู เพื่อที่จะให้สิทธิท่ีถูกตอ้ งบนตารางทส่ี มควรใหใ้ ช้

21

ระบบฐานข้อมลู จะบอกรายละเอยี ดว่าขอ้ มูลใดถูกจัดเก็บไว้ในตารางช่อื อะไร เมื่อมคี าถามจากผู้บริหารจะ
สามารถหาข้อมูลเพือ่ ตอบคาถามไดท้ นั ทีโดยใชภ้ าษาฐานข้อมลู ทม่ี ปี ระสิทธิภาพมาก คอื SQL ซ่ึงสามารถ
ตอบคาถามทีเ่ กิดข้ึนในขณะใดขณะหน่งึ ท่ีเกีย่ วข้องกับฐานข้อมูลได้ทันที โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งเขยี นภาษา
โปรแกรมอยา่ งเช่น โคบอล ซี หรือ ปาสคาล ซ่งึ เสียเวลานานมากจนอาจไม่ทนั ต่อความต้องการใช้ข้อมูล
เพ่ือการตัดสนิ ใจของผบู้ รหิ าร

เนอื่ งจากระบบจัดการฐานข้อมลู นนั้ สามารถจัดการให้ผใู้ ชท้ างานพร้อมๆ กันไดห้ ลายคน
ดงั นน้ั โปรแกรมท่ีพฒั นาภายใต้การดูแลของระบบจัดการฐานขอ้ มลู จะสามารถใชข้ อ้ มลู รว่ มกนั ใน
ฐานข้อมูลเดยี วกันระบบฐานข้อมูลจะแบง่ เบาภาระในการพัฒนาระบบงานถ้าการพฒั นาระบบงานไม่ใช้
ระบบฐานข้อมลู (ใช้ระบบแฟ้มข้อมูล) ผู้พัฒนาโปรแกรมจะตอ้ งจัดการสิง่ เหลา่ น้เี องทงั้ หมด น่ันคือระบบ
ฐานข้อมลู ทาใหก้ ารใชข้ ้อมลู เกดิ ความเป็นอิสระระหว่างการจดั เกบ็ ข้อมูลและการประยุกต์ใช้ เพราะส่วน
ของการจัดเก็บข้อมูลจริงถูกซ่อนจากการใชง้ านจรงิ นน่ั เอง

5. ขอ้ เสียของการใช้ฐานขอ้ มูล

1. มีต้นทนุ สงู ระบบฐานขอ้ มลู กอ่ ใหเ้ กดิ ตน้ ทนุ สงู เช่น ซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการจดั การระบบ
ฐานขอ้ มูลบคุ ลากรต้นทุนในการปฏบิ ตั ิงาน และ ฮาร์ดแวร์ เป็นต้น

2. มคี วามซบั ซ้อน การเรม่ิ ใช้ระบบฐานขอ้ มูล อาจก่อใหเ้ กดิ ความซบั ซ้อนได้ เช่น การจดั เกบ็
ขอ้ มลู การออกแบบฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรม เป็นต้น

3.การเสย่ี งต่อการหยุดชะงักของระบบเนื่องจากขอ้ มูลถูกจัดเกบ็ ไว้ในลักษณะเปน็ ศนู ย์รวม

(Centralized Database System ) ความล้มเหลวของการทางานบางส่วนในระบบอาจทาใหร้ ะบบ
ฐานข้อมลู ทั้งระบบหยุดชะงกั ได้

4. เสียค่าใช้จ่ายสงู เนอ่ื งจากราคาของโปรแกรมท่ีใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมลู จะมีราคาค่อนขา้ ง
แพง รวมท้งั เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ม่ี ีประสทิ ธิภาพสงู คือ ต้องมคี วามเร็วสงู มขี นาดหนว่ ยความจาและหนว่ ย
เกบ็ ข้อมูลสารองท่มี ีความจุมาก ทาให้ต้องเสยี คา่ ใชจ้ ่ายสูงในการจัดทาระบบการจดั การฐานข้อมูล

5. เกิดการสญู เสยี ข้อมลู ได้ เนื่องจากขอ้ มูลต่างๆ ภายในฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในท่ีเดยี วกัน ดงั นนั้
ถา้ ทีเ่ กบ็ ข้อมลู เกิดมปี ัญหา อาจทาใหต้ ้องสูญเสยี ข้อมลู ทง้ั หมดในฐานข้อมลู ได้ ดงั นั้นการจดั ทาฐานขอ้ มูล
ที่ดจี งึ ต้องมกี ารสารองขอ้ มลู ไว้เสมอ

22

6. ชนิดของข้อมูล

ข้อมูลท่ีตอ้ งการจัดเกบ็ น้ันอาจจะมรี ูปแบบไดห้ ลายอย่าง รูปแบบสาคญั ๆ ไดแ้ ก่

3.1 ขอ้ มูลแบบรปู แบบ (formatted data) เป็นขอ้ มูลทร่ี วมอกั ขระซึ่งอาจหมายถงึ ตวั อักษร ตัวเลข ซ่งึ
เป็นรปู แบบทแี่ น่นอน ในแต่ละระเบียน ทุกระเบยี นที่อยู่ในแฟ้มขอ้ มูลจะมรี ูปแบบทเี่ หมือนกนั หมด ข้อมูลท่ี
เกบ็ นนั้ อาจเก็บในรปู ของรหสั โดยเมื่ออ่านข้อมลู ออกมาอาจจะต้องนารหั สน้ันมาตีความหมายอีกครง้ั เชน่
แฟม้ ข้อมลู ประวัตนิ กั ศกึ ษา

3.2 ขอ้ มูลแบบขอ้ ความ (text)เป็นขอ้ มูลที่เปน็ อกั ขระในแบบข้อความ ซงึ อาจหมายถึงตัวอักษร ตวั เลข
สมการฯ แต่ไมร่ วมภาพต่าง ๆ นามารวมกันโดยไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอนในแตล่ ะระเบียน เชน่ ระบบการจดั เกบ็
ขอ้ ความตา่ ง ๆ ลักษณะการจัดเกบ็ แบบนี้จะไมต่ อ้ งนาข้อมูลท่เี กบ็ มาตีความหมายอกี ความหมายจะถกู
กาหนดแล้วในข้อความ

3.3 ขอ้ มลู แบบภาพลกั ษณ์ (images) เป็นขอ้ มูลที่เป็นภาพ ซง่ึ อาจเป็นภาพกราฟท่ีถกู สรา้ งข้ึนจากข้อมูล
แบบรปู แบบรูปภาพ หรือภาพวาด คอมพิวเตอรส์ ามารถเก็บภาพและจัดส่งภาพเหล่าน้ีไปยงั คอมพิวเตอร์อ่นื ได้
เหมอื นกบั การส่งข้อความ โดยคอมพวิ เตอรจ์ ะทาการแปลงภาพเหล่านี้ ซึง่ จะทาให้คอมพิวเตอรส์ ามารถท่จี ะ
ปรับขยายภาพและเคลื่อนยา้ ยภาพเหล่านนั้ ไดเ้ หมือนกับข้อมลู แบบข้อความ

3.4 ข้อมูลแบบเสยี ง (audio) เปน็ ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นเสียง ลกั ษณะของการจัดเกบ็ กจ็ ะเหมอื นกบั การจัดเกบ็
ขอ้ มูลแบบภาพ คือ คอมพิวเตอรจ์ ะทาการแปลงเสียงเหล่าน้ีใหค้ อมพวิ เตอรส์ ามารถนาไปเก็บได้ ตวั อย่าง
ไดแ้ ก่ การตรวจคล่นื หวั ใจ จะเก็บเสยี งเตน้ ของหวั ใจ

3.5 ขอ้ มูลแบบภาพและเสียง (video) เป็นข้อมลู ท่ีเป็นเสียงและรปู ภาพ ที่ถกู จดั เกบ็ ไวด้ ้วยกนั เปน็ การ
ผสมผสานรูปภาพและเสียงเข้าดว้ ยกัน ลกั ษณะของการจัดเก็บข้อมลู คอมพิวเตอร์จะทาการแปลงเสยี งและ
รปู ภาพนี้ เชน่ เดยี วกบั ขอ้ มูลแบบเสยี งและข้อมูลแบบภาพลักษณะซ่ึงจะนามารวมเก็บไวใ้ นแฟ้มข้อมูลเดียวกัน

23

7. ชนิดของฐานข้อมูล

การแบ่งประเภทของระบบฐานขอ้ มูลมีการแบ่งออกหลายประเภท ขึ้นอยู่กับชนดิ และประเภทที่นามา
จาแนกในบทเรยี นนจ้ี ะแบ่งประเภทของระบบฐานข้อมลู ออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ตามชนดิ ต่าง ๆ ดงั นี้

1.แบ่งตามจานวนของผูใ้ ช้
การแบง่ โดยใชจ้ านวนผูใ้ ช้เปน็ หลัก สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่

1.1 ผูใ้ ชค้ นเดยี วเปน็ ระบบฐานข้อมลู ท่ีใชภ้ ายในองค์กรขนาดเลก็ เชน่ ระบบ Point of
sale ของรา้ นสะดวกซื้อ หรือระบบบัญชีของร้านเล็ก ๆ ทั่วไป เปน็ ต้น มีเครอื่ งคอมพวิ เตอร์เพยี งเครื่องเดยี ว
และผู้ใช้เพียงคนเดยี ว ไม่มีการแบ่งฐานขอ้ มลู รว่ มกนั ใช้กับผอู้ นื่ ถ้าผู้ใชค้ นอ่นื ต้องการใช้ระบบนจี้ ะต้องรอให้
ผู้ใช้คนแรกเลกิ ใช้ก่อนจึงจะใชไ้ ด้

1.2 ผใู้ ช้หลายคน แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทยอ่ ย ๆ ได้แก่ ผู้ใชเ้ ป็นกลุ่ม หรอื Workgroup
database และประเภทฐานขอ้ มูลขององคก์ รขนาดใหญห่ รือ Enterprise databaseผใู้ ชเ้ ปน็ กลุ่ม เป็น
ฐานขอ้ มลู ท่ีมผี ้ใู ชห้ ลายกลุ่มหรือหลายแผนก และแตล่ ะกลุ่มอาจมผี ู้ใชห้ ลายคน มีการแลกเปล่ยี นข้อมลู ซงึ่ กัน
หรืออาจจะใชฐ้ านข้อมลู เดียวกันก็ได้ แตจ่ ะอยูใ่ นองค์กรเดยี วกันเท่านนั้ องค์การขนาดใหญ่ เป็นระบบ
ฐานข้อมูลท่ีใช้กบั องค์กรขนาดใหญ่ท่มี สี าขาหลายสาขา ท้ังในประเทศหรอื มสี าขาในตา่ งประเทศ จะใช้
ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ มีระบบสารอง การรกั ษาความปลอดภยั เป็นอยา่ งดี

2. แบง่ โดยใชข้ อบเขตของงาน
การแบ่งโดยใชข้ อบเขตของงาน แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภทผู้ใชค้ นเดียว ประเภท
ผใู้ ชเ้ ปน็ กลุ่มและประเภทองค์การขนาดใหญ่ ดังได้กลา่ วรายละเอียดในตอนตน้ แลว้
3. แบ่งตามสถานที่ตงั้
การแบ่งตามสถานทต่ี ั้ง แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภท ศนู ยก์ ลาง และประเภทกระจาย ทง้ั
สองประเภทมรี ายละเอียดดังนี้

3.1 ประเภทศนู ย์กลาง เปน็ ระบบฐานข้อมลู ที่นาเอามาเก็บไว้ในตาแหนง่ ศูนย์กลาง ผ้ใู ชท้ กุ
แผนก ทกุ คนจะต้องมาใช้ข้อมูลร่วมกัน ตามสิทธิ์ของผู้ใชแ้ ต่ละกลุ่มหรือแตล่ ะคน

3.2 ประเภทกระจาย เปน็ ระบบฐานข้อมูลท่ีเกบ็ ฐานข้อมูลไว้ ณ ตาแหนง่ ใด ๆ ของแผนก
และแต่ละแผนกใช้ฐานข้อมูลร่วมกนั โดยผมู้ ีสทิ ธใิ์ ช้ตามสิทธิท์ ่ไี ดก้ าหนดจากผ้มู ีอานาจ การเขา้ ถงึ ข้อมูล เช่น
ฐานขอ้ มลู ของฝา่ ยบุคคลเกบ็ ไว้ทีแ่ ผนกทรพั ยากรบคุ คล ยอมใหฝ้ า่ ยบญั ชีนารายชื่อของพนักงานไปใชร้ ว่ มกับ
ฐานขอ้ มูลการจ่ายโบนสั และในขณะเดียวกนั ฝ่ายบญั ชมี ีฐานขอ้ มลู เกบ็ เงนิ เดือน สวัสดิการและรายจ่ายตา่ ง ๆ
ของพนกั งานเพ่ือใหแ้ ผนกอืน่ ๆ เขา้ มาใช้ได้เช่นกัน

24

4.แบ่งตามการใช้งาน
การแบ่งตามการใช้งานแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ ฐานขอ้ มลู สาหรบั งาน
ประจาวัน ฐานข้อมลู เพอื่ ใช้ในการตดั สนิ ใจ และเพ่ือเป็นคลงั ขอ้ มลู

4.1 ฐานข้อมลู สาหรับงานประจาวนั เปน็ ระบบฐานข้อมูลทใ่ี ช้ในงานประจาวนั ของพนักงาน
ระดับปฏิบตั ิการป้อนข้อมลู เข้าสรู่ ะบบ เชน่ งานสินค้าคงคลัง งานระบบซ้ือมาขายไป สาหรบั ร้านสะดวกซ้อื
หรอื ระบบงานขายของร้านค้าทวั่ ไป เปน็ ตน้ ฐานข้อมลู ประเภทนม้ี กี ารนาข้อมลู เขา้ เปลีย่ นแปลงและลบออก
ตลอดทงั้ วนั จึงทาให้ข้อมูลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

4.2 ฐานข้อมูลเพอ่ื การตัดสินใจ ระบบฐานขอ้ มลู ประเภทนม้ี ีไว้เพอ่ื ใชใ้ นการสนับสนนุ การ
ตัดสนิ ใจของผู้ใช้ระดบั ผู้บรหิ ารระดับกลางขึ้นไป ข้อมูลทีน่ าเขา้ มาในระบบไดจ้ ากการป้อนข้อมลู งานประจาวนั
ของฐานข้อมลู สาหรบั งานประจาวนั สว่ นใหญฐ่ านข้อมลู ประเภทน้นี าไปใช้ในงานวางแผนกลยุทธใ์ นองคก์ ร

4.3 ฐานข้อมูลเพ่ือเป็นคลังข้อมูล ฐานข้อมลู ประเภทน้ีเกิดจากการนาขอ้ มลู เข้ามาในระบบ
ทุก ๆ วันจงึ ทาใหเ้ กดิ มขี ้อมูลขนาดใหญ่ จึงนาเอาข้อมลู ท่มี ปี ระโยชน์มาสรา้ งฟังก์ชันหรอื สมการตา่ งเพื่อ
ประมวลผลหาผลลัพธต์ ่าง ๆ ให้เปน็ ประโยชน์กับองคก์ ร

8. ชนดิ ของแฟม้ ขอ้ มูล

ประเภทของแฟม้ ข้อมูลจาแนกตามลกั ษณะของการใช้งานไดด้ งั น้ี

1แฟ้มข้อมูลหลัก (master file)แฟ้มข้อมูลหลกั เปน็ แฟม้ ขอ้ มูลท่ีบรรจุข้อมลู พืน้ ฐานท่ีจาเป็นสาหรบั

ระบบงาน และเป็นข้อมูลหลกั ท่ีเกบ็ ไวใ้ ชป้ ระโยชน์ข้อมูลเฉพาะเรื่องไม่มีรายการเปล่ียนแปลงในช่วงปัจจบุ นั มี

สภาพคอ่ นขา้ งคงทไ่ี มเ่ ปลย่ี นแปลงหรือเคล่ือนไหวบ่อยแต่จะถูกเปล่ยี นแปลงเมื่อมีการส้ินสดุ ของข้อมูล เปน็

ข้อมลู ทีส่ าคัญที่เก็บไว้ใช้ประโยชน์ ตวั อยา่ ง เช่น แฟ้มข้อมูลหลักของนกั ศึกษาจะแสดงรายละเอยี ดของ

นกั ศกึ ษา ซง่ึ มี ชอื่ นามสกุล ทอี่ ยู่ ผลการศึกษา แฟ้มข้อมูลหลกั ของลูกคา้ ในแตล่ ะระเบียนของแฟม้ ข้อมูลนี้จะ

แสดงรายละเอยี ดของลกู ค้า เชน่ ชอื่ สกลุ ท่ีอยู่ หรือ ประเภทของลูกค้า

2 แฟ้มข้อมลู รายการเปลย่ี นแปลง (transaction file)แฟม้ ข้อมูลรายการเปลยี่ นแปลงเปน็ แฟ้มข้อมูลท่ี

ประกอบด้วยระเบียนขอ้ มูลท่ีมกี ารเคลื่อนไหว ซึ่งจะถูกรวบรวมเป็นแฟม้ ข้อมูลรายการเปลย่ี นแปลงที่เกิดขึ้น

ในแต่ละงวดในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งกับข้อมลู น้นั แฟ้มขอ้ มูลรายการเปลีย่ นแปลงนจี้ ะนาไปปรับรายการใน

แฟ้มข้อมูลหลัก ให้ได้ยอดปัจจบุ นั ตวั อย่างเชน่ แฟม้ ขอ้ มูลลงทะเบียนเรยี นของนักศึกษา

3 แฟม้ ข้อมูลตาราง (table file)แฟ้มขอ้ มลู ตารางเป็นแฟ้มข้อมูลท่มี ีค่าคงท่ี ซงึ่ ประกอบด้วยตารางที่เปน็

ข้อมูลหรือชุดของข้อมูลทีม่ ีความเก่ยี วข้องกนั และถูกจดั ให้อยรู่ วมกนั อย่างมีระเบยี บ โดยแฟ้มขอ้ มูลตารางนีจ้ ะ

ถูกใชใ้ นการประมวลผลกับแฟม้ ข้อมลู อืน่ เป็นประจาอยู่เสมอ เชน่ ตารางอัตราภาษี ตารางราคาสินค้า

ตัวอย่างเช่น ตารางราคาสนิ ค้าของบริษทั ขายอะไหลเ่ คร่อื งคอมพวิ เตอรด์ ังนี้

25

รหัสสนิ ค้า รายชอื่ สินคา้ ราคา
51 จอภาพ 4,500
52 แป้นพมิ พ์ 1,200
53 แรม 4 M 4,500
54 แรม 8 M 7,000
55 กระดาษตอ่ เนื่อง 500
56 แฟ้มคอมพิวเตอร์ 200
ในแฟ้มข้อมลู นี้จะประกอบด้วยระเบียนแฟ้มข้อมูลตารางของสินค้าท่ีมีฟลิ ดต์ ่าง ๆ ได้แก่ รหสั สินค้า
รายชือ่ สินคา้ และราคาสนิ ค้าตอ่ หน่วย แฟ้มข้อมูลตารางรายการสนิ ค้า จะใช้ร่วมกับแฟ้มข้อมูลหลาย
แฟม้ ขอ้ มลู ในระบบสนิ คา้ ได้แก่ แฟ้มข้อมูลคลังสนิ ค้า (inventory master file) แฟ้มข้อมูลใบสง่ั ซื้อของลกู คา้
(customer order master file) และแฟ้มขอ้ มูลรายการสิตค้าของฝ่ายผลิต (production master file) มีข้อ
ควรสังเกตวา่ แฟ้มข้อมูลตาราง แฟ้มข้อมลู รายการเปลี่ยนแปลง และแฟ้มข้อมูลหลัก ทง้ั 3 แฟ้ม จะมีฟิลด์ท่ี
เกีย่ วกบั ตวั สินค้าร่วมกนั คือ ฟลิ ดร์ หัสสินคา้ (product code) ฟิลด์รว่ มกันนจี้ ะเปน็ ตัวเชือ่ งโยงระหวา่ ง
แฟ้มขอ้ มูลตารางกับฟ้มขอ้ มูลอน่ื ๆ ทัง้ หมดที่ตอ้ งการจะใช้คา่ ของฟิดลร์ ายชื่อสนิ คา้ (product description)
และราคาสนิ ค้า (product price) จากแฟม้ ข้อมลู ตาราง การจัดแฟม้ ขอ้ มลู แบบนจี้ ะทาใหป้ ระหยัดเน้ือที่ใน
อปุ กรณ์เกบ็ ข้อมลู ของแฟ้มข้อมูลหลัก กลา่ วคือในแฟ้มขอ้ มูลหลกั ไมต่ ้องมี 2 ฟิลด์ คือ ฟลิ ด์รายการสินค้าและ
ฟิลด์ราคาสนิ ค้า มีแต่เพียงฟิลดร์ หัสสินค้ากเ็ พยี งพอแล้ว เม่อื ใดทต่ี ้องการใช้ฟิลดร์ ายการสินคา้ ในการแสดงผล
กอ็ า่ นคา่ ออกมาจากแฟ้มข้อมูลตารางได้ นอกจากนั้นยงั เปน็ การลดความซ้าซอ้ นของข้อมูลและเมื่อผใู้ ชร้ ะบบ
ตอ้ งการเปล่ียนแปลงรายการสินคา้ หรือราคาสนิ คา้ กจ็ ะเปลี่ยนในแฟม้ ขอ้ มลู ตารางทีเดียว โดยไม่ตอ้ งไป
เปล่ียนแปลงในแฟ้มข้อมลู อ่นื
4 แฟ้มขอ้ มูลเรยี งลาดบั (sort file)แฟ้มข้อมลู เรยี งลาดบั เปน็ การจดั เรียงระเบียนที่จะบรรจุในแฟม้ ข้อมูล
นนั้ ใหม่ โดยเรยี งตามลาดับคา่ ของฟลิ ด์ขอ้ มูลหรอื ค่าของข้อมลู คา่ ใดคา่ หนงึ่ ในระเบยี นนน้ั กไ็ ด้ เช่น จัด
เรียงลาดบั ตาม วนั เดือนปี ตามลาดับตัวอกั ขระเรยี งลาดับจากมากไปหาน้อยหรือจากน้อยไปหามาก เป็นตน้
แฟ้มข้อมลู รายงาน (report file)เปน็ แฟม้ ข้อมลู ที่ถูกจดั เรียงระเบยี บตามรูปแบบของรายงานทต่ี ้องการ
แล้วจดั เก็บไวใ้ นรูปของแฟม้ ข้อมลู ตวั อย่าง เช่น แฟ้มขอ้ มลู รายงานควบคุมการปรับเปลีย่ นข้อมูลทีเ่ กิดขน้ึ
ในขณะปฏบิ ตั ิงานแตล่ ะวนั

26

9. โครงสรา้ งแฟม้ ข้อมูล

เปน็ วิธีการจัดเกบ็ ข้อมลู ในคอมพิวเตอรเ์ พ่ือให้สามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพการเลือก
โครงสร้างขอ้ มูลนนั้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเร่ิมต้นจากการเลือกประเภทขอ้ มลู อยา่ งย่อโครงสรา้ งขอ้ มูลทอ่ี อกแบบ
เปน็ อย่างดีจะสามารถรองรบั การประมวลผลท่หี นกั หนว่ งโดยใช้ทรพั ยากรที่นอ้ ยทสี่ ดุ เท่าทีจ่ ะเปน็ ไปได้ทัง้ ในแง่
ของเวลาและหนว่ ยความจา

โครงสร้างข้อมลู แต่ละแบบจะเหมาะสมกบั งานที่แตกต่างกัน และโครงสรา้ งข้อมลู บางแบบก็ออกแบบ
มาสาหรับบางงานโดยเฉพาะ

แนวความคิดในเร่ืองโครงสรา้ งขอ้ มูลนส้ี ง่ ผลกบั การพัฒนาวธิ กี ารมาตรฐานตา่ งๆในการออกแบบและ
เขยี นโปรแกรมหลายภาษาโปรแกรมน้นั ได้พัฒนารวมเอาโครงสร้างข้อมูลน้ไี ว้เปน็ สว่ นหน่งึ ของระบบโปรแกรม
เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใชซ้ ้า

แฟ้มข้อมลู ” (file) หมายถึงข้อมลู สารสนเทศหรือข้อมลู ท้ังหมดทเ่ี ก็บไวใ้ นสื่อทีม่ ีคุณสมบัติเป็น
แมเ่ หลก็ ไม่ว่าจะเปน็ จานบนั ทึกธรรมดาหรือจานแขง็ (hard disk) ก็ตามขอ้ สนเทศท่ีนาไปเก็บนัน้ จะถูก
นาไปเกบ็ ไว้เปน็ เรอื่ งๆ ไป อาจจะเปน็ โปรแกรมขอ้ มลู หรอื ภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรือ่ งต่างก็ต้องมีช่อื
เป็นของตนเองที่ต้องไมซ่ ้ากัน

10. ระบบฐานข้อมูลท่ีใชใ้ นปจั จุบนั
โปรแกรมฐานข้อมลู เป็นโปรแกรมหรอื ซอฟแวร์ท่ชี ่วยจัดการขอ้ มลู หรือรายการต่าง ๆ ท่ีอยู่ใน

ฐานขอ้ มูล ไมว่ า่ จะเปน็ การจัดเกบ็ การเรยี กใช้ การปรบั ปรงุ ข้อมลู

โปรแกรมฐานข้อมลู จะชว่ ยให้ผู้ใชส้ ามารถคน้ หาข้อมลู ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ซ่ึงโปรแกรมฐานขอ้ มมูลท่นี ิยม
ใชม้ อี ยดู่ ้วยกันหลายตัว เช่น Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBase, Oracle, SQL เป็นต้น โดยแต่ละ
โปรแกรมจะมีความสามารถต่างกัน บางโปรแกรมใชง้ า่ ยแต่จะจากัดขอบเขตการใชง้ าน บ่งโปรแกรมใช้งาน
ยากกวา่ แตจ่ ะมีความสามารถในการทางานมากกวา่

27

โปรแกรม Access นบั เปน็ โปรแกรมท่ีนิยมใชก้ นั มากในขณะน้ี โดยเฉพาะในระบบฐานข้อมลู ขนาด
ใหญ่ สามารถสรา้ งแบบฟอรม์ ที่ตอ้ งการจะเรียกดูข้อมลู ในฐานข้อมลู หลงั จากบันทกึ ข้อมูลในฐานขอ้ มลู
เรยี บร้อยแลว้ จะสามารถค้นหาหรือเรียกดูขอ้ มูลจากเขตข้อมลู ใดกไ็ ด้ นอกจากนี้ Access ยังมรี ะบบรักษา
ความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกาหนดรหสั ผ่านเพ่อื ป้องกนั ความปลอดภยั ของข้อมลู ในระบบได้ดว้ ย

28

โปรแกรม FoxPro เปน็ โปรแกรมฐานข้อมลู ท่ีมผี ู้ใช้งานมากท่สี ุด เน่ืองจากใช้ง่ายท้งั วธิ กี ารเรยี กจากเมนูของ
FoxPro และประยกุ ต์โปรแกรมข้นึ ใช้งาน โปรแกรมท่เี ขยี นดว้ ย FoxPro จะสามารถใช้กลับ dBase คาสงั่ และ
ฟงั ก์ชั่นต่าง ๆ ใน dBase จะสามารถใชง้ านบน FoxPro ได้ นอกจากนใ้ี น FoxPro ยงั มีเครอ่ื งมือช่วยในการ
เขียนโปรแกรม เช่น การสร้างรายงาน

29
โปรแกรม dBase เปน็ โปรแกรมฐานขอ้ มลู ชนดิ หนึ่ง การใช้งานจะคลา้ ยกบั โปรแกรม FoxPro ขอ้ มลู
รายงานท่ีอยู่ในไฟลบ์ น dBase จะสามารถสง่ ไปประมวลผลในโปรแกรม Word Processor ได้ และแมแ้ ต่
Excel กส็ ามารถอา่ นไฟล์ .DBF ท่ีสร้างข้ึนโดยโปรแกรม dBase ไดด้ ้วย

โปรแกรม SQL เป็นโปรแกรมฐานขอ้ มลู ที่มโี ครงสรา้ งของภาษาทเ่ี ข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน มี
ประสทิ ธิภาพการทางานสงู สามารถทางานท่ซี ับซอ้ นได้โดยใชค้ าส่งั เพียงไม่ก่ีคาส่งั โปรแกรม SQL จึงเหมาะท่ี
จะใชก้ บั ระบบฐานข้อมูลเชงิ สมั พันธ์ และเปน็ ภาษาหนงึ่ ท่มี ีผนู้ ยิ มใชก้ นั มาก โดยทั่วไปโปรแกรมฐานข้อมูลของ
บริษัทต่าง ๆ ที่มใี ช้อยู่ในปจั จุบนั เชน่ Oracle, DB2 ก็มกั จะมคี าส่ัง SQL ทต่ี า่ งจากมาตรฐานไปบ้างเพื่อให้
เป็นจุดเดน่ ของแต่ละโปรแกรมไป

30

บทสรุป
ฐานข้อมูลเป็นแหลง่ เกบ็ ข้อมูลจานวนมาก ๆ เม่ือนาข้อมูลท่ีเก็บอยภู่ ายในฐานข้อมลู นามาประมวลผลโดย

การนับ รวบรวม จดั กลมุ่ จาแนก หาคา่ เฉล่ยี หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ แลว้ แสดงผลลพั ธ์ออกมาเปน็ กราฟจะได้เปน็
สารสนเทศ และนาสารสนเทศที่ได้ ไปใช้ในการตัดสนิ ใจ ของผู้บริหารองค์กรจะทาให้ผู้บริหารองค์กรตดิ สนิ ใจ
ได้ถูกตอ้ งการบรกิ ารลูกค้ามีความสะดวก รวดเร็ว ลกู คา้ มีความพึงพอใจองค์กรมีการพัฒนากา้ วหนา้ ตอ่ ไปได้
ระบบฐานข้อมลู ท่ีจดั เกบ็ ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์จะต้องใชซ้ อฟตแ์ วร์ในการจัดการ เรยี กว่า ระบบจัดการ
ฐานข้อมลู ซึ่งเมื่อเอาระบบจัดการฐานข้อมลู มาใช้จะทาให้มปี ระสทิ ธิภาพการสอบถามข้อมูลได้คาตอบท่ี
ถกู ต้อง ตรงกบั ความต้องการการเข้าถึงข้อมูลเปน็ ไปตามสิทธข์ิ องผู้ใชแ้ ต่ละคนทาให้ข้อมูลปลอดภัยมากย่ิงขน้ึ
นอกจากนีข้ ้อมูลที่จัดเกบ็ จะลดความซา้ ซ้อนลงไดแ้ ละข้อมูลจะไม่ขดั แย้งกันมคี วามเป็นบูรณภาพ
การเกบ็ ขอ้ มลู ในหนว่ ยความจาของคอมพวิ เตอรน์ นั้ มีการเก็บเป็นอักขระตามรหัสของแต่ละอกั ขระอักขระตวั
หนึง่ จะตอ้ งใช้ 8 บิตในมาตรฐานรหัส ASCII แตถ่ ้าเป็นมาตรฐานรหัส Unicode จะใช้16 บติ ซึ่งตวั อกั ขระหนง่ึ
ตวั เรียกวา่ 1 ไบต์ โดยปกตแิ ล้วการเก็บข้อมูลจะเกบ็ เป็นกลุ่มคาที่เก็บในลกั ษณะของตาราง ตาราง
ประกอบด้วยแถวและสดมภ์ ถ้ามองระดบั สดมภ์ เรยี กว่า ข้อมลู ระดบั สดมภ์วา่ เขตข้อมูลในแต่ละแถวจะมี
มากกวา่ หนึ่งสดมภ์ถา้ มองในระดับแถวจะเรียกการเกบ็ ข้อมูลแบบนวี้ ่า ระเบยี น จะเห็นวา่ ในหน่ึงตารางจะมี
หลาย ๆ แถว ในระบบฐานข้อมูลเรยี กตารางวา่ แฟ้มข้อมูล แต่มุมมองจินตภาพเรียกวา่ เอน็ ทติ ปี กติจะมีตาราง
มากกว่าหนึง่ ตาราง เพราะฉะนน้ั ตารางหลาย ๆตารางหรอื หลาย ๆ แฟ้มข้อมูลเรียกว่า ฐานข้อมลู

ปัญหาในการจัดการข้อมูลในอดตี มหี ลายปัญหา เช่น ความยงุ่ ยากในการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
เนือ่ งจากตอ้ งใช้คาสง่ั ของภาษาระดบั สูงจัดการข้อมลู โดยตรงข้อมลู ไมม่ ีความเปน็ อิสระ ถา้ มกี ารเปลยี่ นแปลง
โครงสรา้ งข้อมลู ตอ้ งแกไ้ ขชุดคาสง่ั ดว้ ยแฟ้มข้อมลู มีความซ้าซอ้ นมากแฟ้มข้อมูลมคี วามถูกต้องของข้อมูลน้อย
แฟม้ ขอ้ มูลมีความปลอดภยั น้อย และแฟ้มข้อมลู ขาดการควบคมุ จากส่วนกลาง เปน็ ตน้

ฐานข้อมูล แบง่ ความสมั พนั ธอ์ อกเปน็ 3 ชนิด ได้แก่ ความสัมพนั ธแ์ บบหนึง่ ต่อหนง่ึ ความสัมพันธ์
แบบหนง่ึ ตอ่ กลมุ่ และความสัมพนั ธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม นอกจากนี้ฐานขอ้ มูลได้มีการจาลองข้อมูลเพ่ือให้เข้าใจได้
งา่ ย ๆ มีการจาลองออกเปน็ 3 แบบด้วยกนั ได้แก่ การจาลองแบบลาดับช้นั การจาลองแบบเครอื ข่าย และ
การจาลองแบบเชิงสมั พนั ธ์

31

ประเภทของฐานข้อมลู แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ แบ่งตามจานวนผู้ใช้ มแี บบใช้เพียงคนเดียว
และผู้ใช้หลายคน กับแบ่งตามขอบเขตของงาน และแบง่ ตามสถานท่ตี ้งั และแบ่งตามการใช้งาน เป็นต้นหน้าท่ี
ของระบบจดั การฐานขอ้ มลู มี 7 อยา่ งดว้ ยกนั ได้แก่ หน้าท่ใี นการจดั การพจนานกุ รมข้อมลู จัดการแหล่ง
จดั เกบ็ ข้อมูลการเปล่ยี นรูปแบบ และการแสดงผลขอ้ มลู จดั การด้านปลอดภยั ของขอ้ มูลควบคุมการเขา้ ถงึ
ขอ้ มูลของผู้ใชแ้ ตล่ ะคน แต่ละกลุ่ม สารองขอ้ มลู และการกู้คนื ข้อมูลจดั การดา้ นบรู ณภาพของข้อมลู มภี าษา
สาหรับจัดการขอ้ มูลและจัดสร้างส่วนประสานกับผู้ใชแ้ ละเป็นส่วนประสานกับผใู้ ช้ในด้านการสื่อสารฐานข้อมูล
ภาษาที่ใชใ้ นการจัดการฐานข้อมลู ใช้ภาษาเอสคิวแอล แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน ไดแ้ ก่ ภาษาสาหรับ
การนิยามข้อมูล ภาษาสาหรับการจัดการขอ้ มลู และภาษาในการควบคุม และในระบบฐานขอ้ มูลจะต้องสงิ่ ท่ี
ต้องเกยี่ วข้องดว้ ยมีท้ังหมด 5 อยา่ งดว้ ยกนั ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร กระบวนการ และข้อมูล ที่
กล่าวมาท้ังหมดนีม้ คี วามสาคัญทง้ั นน้ั ขาดสง่ิ หนึ่งสิง่ ใดไมไ่ ด้เลย จะทาให้ระบบฐานข้อมูลไมส่ ามารถทางานได้
อย่างสมบรู ณ์

32

บรรณานุกรม
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0
%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9
0%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0
%B8%B9%E0%B8%A5
https://sites.google.com/site/cadkarthankhxmul/home/1-khwam-hmay-khxng-than-
khxmul-laea-rabb-kar-cadkar-than-khxmul
https://www.epy.ac.th/computer/caidb/home/unit11.html
https://www.srisangworn.go.th/home/databaselearn/cs2t3-2.htm

33

ประวตั ผิ ูจ้ ดั ทา

ชื่อ-สกลุ นางสาว สดุ ารตั น์ พงษ์ธัญกรณ์
สาขาวชิ า เทคโนโลยดี ิจิทัล
ประวัตสิ ่วนตวั
ชื่อ-สกลุ นางสาวสุดารัตน์ พงษ์ธญั กรณ์
วนั /เดอื น/ปเี กดิ 27 มถิ นุ ายน 2545
ท่อี ยู่ 135/105 หมู่บ้านเพชรงาม3 ซอยวิทยุการบนิ หมู่ 7 ตาบลทา้ ยบา้ นใหม่ อาเภอเมือง
จังหวัดสมุทรปราการ
หมายเลขโทรศพั ท์ 065-9893221
E-mail [email protected]
ประวตั ิการศึกษา
ปี 2564 ปัจจุบนั กาลังศึกษา ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวชิ า เทคโนโลยีดิจทิ ลั

วทิ ยาลยั เทคโนโลยสี หะพาณิชยบ์ รหิ ารธุรกิจ
ปี 2562 สาเรจ็ การศึกษาจากวทิ ยาลัยเทคนคิ สมุทรปราการ
ปี 2560 สาเรจ็ การศึกษาจากโรงเรยี นอทุ ัยวทิ ยาคม
ปี 2557 สาเรจ็ การศึกษาจากโรงเรยี นพทิ ักษ์ศิษยว์ ิทยา


Click to View FlipBook Version