The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์นักศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ruethaiporn Suwanmanee, 2022-06-26 22:18:12

คู่มือการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์นักศึกษา

คู่มือการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์นักศึกษา

2

คำนำ

ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีประกาศ คณะกรรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง
แนวทางการปฏบิ ัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยไดใ้ ห้ความสำคัญกับ ผลการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนในรายวิชา และผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ จึงได้กำหนดให้มีการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อเป็นการ
ประกันคุณภาพของหลักสูตร เพื่อประโยชน์ต่อการกำกับดูแลคุณภาพการจัดการศึกษาของคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา ในการรับรองคุณวุฒิเพื่อกำหนดอัตราเงินเดือนในการเข้ารับราชการของคณะกรรมการข้าราชการพล
เรือน (ก.พ.) การรับรองคุณวุฒิเพื่อการศึกษาต่อหรือทำงานในต่างประเทศ และเป็นข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
สังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะสามารถตรวจสอบหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานได้โดยสะดวก ให้สำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ซึ่งบันทึกใน
ฐานข้อมูลหลักสูตรเพื่อการเผยแพร่ (Thai Qualifications Register: TQR) เม่ือสถาบันฯได้เปิดสอนไปแล้วอย่าง
น้อยคร่งึ ระยะเวลาของหลักสูตร ซ่ึงตามเง่ือนไขดงั กล่าวหลักสูตรจะต้องทำการประเมินคุณภาพภายในและมีผลการ
ประเมินคุณภาพภายในตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตรโดยมีคะแนนเฉลี่ยระดับดีขึ้นไป
ต่อเนื่องกัน 2 ปี โดยหนึ่งในข้อบ่งช้ีดังกล่าวคือ ต้องมีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐาน
ผลการเรยี นรู้ ทกี่ ำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 25 ของรายวชิ าท่ีเปดิ สอนในแต่ละปกี ารศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได้มอบหมายให้สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ได้ดำเนินการแต่งต้ัง
คณะกรรมการจัดทำคู่มือและสร้างเครื่องมือทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รู้ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 เพื่อดำเนินการจัดทำคู่มือการทวนสอบผลสัมฤทธิ์และสร้างเครื่องมือ
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่มีประสิทธิภาพ และได้รับความอนุเคราะห์จากผู้บริหารในการให้คำปรึกษาและให้
ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงาน สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น
ประโยชน์ต่อการดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธ์ติ ามมาตรฐานผลการเรียนรูร้ ะดับรายวิชาและระดับหลักสูตร เพื่อให้
เกดิ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลตอ่ การจดั การเรียนการสอนต่อไป

สำนักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
มิถนุ ายน 2565

3

สารบัญ

หน้า

คำนำ 2

สารบญั 3

สว่ นที่ 1 กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิการศกึ ษา ระดบั อุดมศึกษาและการทวนสอบผลสัมฤทธ์ินักศึกษา 4

สว่ นท่ี 2 การทวนสอบผลสัมฤทธิ์นกั ศึกษา 8

สว่ นที่ 3 ระบบและกลไกการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์นกั ศึกษา 14

ส่วนที่ 4 กระบวนการทวนสอบผลสมั ฤทธ์นิ ักศึกษา 16

ภาคผนวก

4

สว่ นท่ี 1
กรอบมาตรฐานคุณวุฒกิ ารศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาและการทวนสอบผลสมั ฤทธิน์ กั ศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ.2552 (คณะกรรมการการอดุ มศึกษา, 2552) เพื่อใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา และเพื่อเป็น
การประกันคุณภาพของบัณฑิตในระดับอุดมศึกษาและสาขา/สาขาวิชา และประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เร่ือง แนวทางการปฏบิ ตั ติ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher
Education: TQF : HEd) หมายถึง กรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ซ่ึง
ประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพิ่มสูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละ
ระดับคุณวุฒิ ปริมาณการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้องใช้ การเปิดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกที่ให้ความมั่นใจในประสิทธิผล
การดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิต
ให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้

หลกั การสำคัญของกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ดงั นี้คือ
1) ยึดหลักความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2545 ตลอดจนมาตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการอุดมศึกษาโดยมุ่งให้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
เป็นเครื่องมือในการนาแนวนโยบายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึ กษาตามท่ีกำหนดไว้
ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการอุดมศึกษาไปสู่การปฏิบัติ
ในสถาบันอุดมศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม เพราะกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษามีแนวทางที่ชัดเจนในการ
พัฒนาหลักสตู ร การปรบั เปลี่ยนกลวธิ ีการสอนของอาจารย์ การเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษา ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นรู้เพือ่ ให้ม่นั ใจว่าบัณฑิตจะบรรลุมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ตามทีม่ ุง่ หวงั ไดจ้ ริง
2) มุ่งเน้นทมี่ าตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑติ (Learning Outcomes) ซงึ่ เปน็ มาตรฐานข้ันต่ำเชิงคุณภาพ
เพื่อประกันคุณภาพบัณฑิตและสื่อสารให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจและมั่นใจถึงกระบวนการผลิตบัณฑิต
โดยเริ่มที่ผลผลติ และผลลัพธ์ของการจดั การศึกษา คือ กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวังไวก้ ่อน
หลังจากนั้นจึงพิจารณาถึงองค์ประกอบอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งในกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีจะส่งเสริมให้บัณฑิต
บรรลุถงึ มาตรฐานผลการเรยี นรู้นัน้ อย่างสอดคล้องและสง่ เสรมิ กนั อยา่ งเปน็ ระบบ
3) มุ่งที่จะประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่าง ๆ ที่ได้ดำเนินการไว้แล้วเข้าด้วยกันและเชื่อมโยงเป็นเรื่อง
เดยี วกนั ซึง่ จะสามารถอธิบายใหผ้ ู้เกย่ี วข้องไดเ้ ข้าใจอย่างชัดเจนเก่ียวกับความหมายและความมมี าตรฐานในการจัด
การศึกษาของคุณวฒุ หิ รอื ปริญญาในระดับตา่ ง ๆ
4) มงุ่ ให้คณุ วฒุ ิหรือปริญญาของสถาบันอุดมศึกษาใด ๆ ของประเทศไทยเป็นที่ยอมรบั และเทยี บเคียงกันได้
กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งในและต่างประเทศ เนื่องจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาจะช่วยกำหนด
ความมีมาตรฐานในการจัดการศึกษาในทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ โดยเปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัด
หลักสูตร ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายโดยมั่นใจถึงผลผลิตสุดท้ายของการจัดการศึกษา

5

คือ คุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขและ
ภาคภมู ใิ จ เปน็ ทพี่ ึงพอใจของผใู้ ช้บณั ฑิต และเป็นคนดีของสังคม ช่วยเพ่มิ ความเขม้ แข็งและขีดความสามารถในการ
พัฒนาประเทศไทย

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นแนวทางในการพัฒนา หรือปรับปรุงหลักสูตรการ
จัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement) เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพใน
สถาบัน อุดมศึกษา โดยใช้ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษา และใช้เป็นกรอบ
อา้ งองิ สำหรบั ผู้ประเมินของการประกันคุณภาพภายนอกเก่ียวกับคุณภาพบัณฑติ และการจดั การเรยี นการสอน

มาตรฐานคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษาระดับอุดมศึกษา (มคอ.) จะประกอบด้วย
มคอ. 1 มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับ....................สาขา/สาขาวชิ า.................
มคอ. 2 รายละเอยี ดของหลักสตู ร
มคอ. 3 รายละเอยี ดของรายวิชา
มคอ. 4 รายละเอยี ดของประสบการณภ์ าคสนาม
มคอ. 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวชิ า
มคอ. 6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 7 รายงานผลการดำเนินการของหลกั สตู ร

มาตรฐานผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษาของประเทศไทย
มาตรฐานผลการเรียนรู้ คือ ข้อกำหนดเฉพาะซึ่งเป็นผลที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนพัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้ทั้ง 5
ด้านที่ได้รบั การพฒั นา และแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจและความสามารถจากการเรยี นรู้เหล่าน้ันได้อย่างเป็นท่ี
เชื่อถอื เม่ือเรียนจบในรายวิชาหรอื หลักสูตรนัน้ แล้วมาตรฐานผลการเรียนรู้ซง่ึ มีอยา่ งนอ้ ย 5 ดา้ น ดงั นี้
1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) หมายถึง การพัฒนานิสัยในการประพฤติอยา่ งมีคุณธรรม
จริยธรรม และด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม ความสามารถในการปรับวถิ ีชวี ติ ในความขัดแย้งทาง
ค่านิยม การพฒั นานิสยั และการปฏิบตั ิตนตามศีลธรรม ทง้ั ในเรือ่ งสว่ นตวั และสังคม
2) ด้านความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ การนึกคิด และการนำเสนอข้อมูล
การวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลกั การ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการต่าง ๆ และสามารถเรียนรูด้ ้วยตนเอง
ได้
3) ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์และใช้
ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่าง ๆ ในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
เม่อื ต้องเผชิญกบั สถานการณ์ใหมๆ่ ทไี่ มไ่ ดค้ าดคิดมากอ่ น
4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and
Responsibility) หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็นกลุ่ม การแสดงถึงภาวะผู้นาความรับผิดชอบต่อตนเอง
และสงั คม ความสามารถในการวางแผนและรับผดิ ชอบ ในการเรยี นร้ขู องตนเอง
5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ (Numerical Analysis,
Communication and Information Technology Skills) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข

6

ความสามารถในการใช้เทคนคิ ทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติความสามารถในการสื่อสารทั้งการพดู การเขียน และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

นอกจากผลการเรียนรทู้ ้ัง 5 ดา้ นน้ี บางสาขาวิชาต้องการทักษะทางกายภาพสงู เช่น การเตน้ รำ ดนตรี การ
วาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงต้องเพิ่มการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย
(Domain of Psychomotor Skill)

การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ซึ่งกำหนดให้มีการรายงานผลดัชนีบ่งชี้ผลการ
ดำเนนิ งาน ซง่ึ สกอ. ไดก้ ำหนดตวั บง่ ชี้พนื้ ฐานไว้ 12 ตวั และหลักสูตรต้องผ่านใน 5 ตัวบง่ ชแ้ี รกที่ สกอ. กำหนด ซ่ึง
ตวั บ่งชผ้ี ลการดำเนินงานของหลักสูตรไดแ้ ก่

1) อาจารยป์ ระจำหลักสตู รอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนรว่ มในการประชุมเพอ่ื วางแผน ตดิ ตาม และทบทวน
การดำเนนิ งานหลกั สตู ร

2) มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ
มาตรฐานคณุ วฒุ สิ าขา/สาขาวิชา (ถ้ามี)

3) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ
มคอ.4 อย่างนอ้ ยกอ่ นการเปิดสอนในแต่ละภาคการศกึ ษาให้ครบทุกรายวิชา

4) จดั ทำรายงานผลการดำเนินการของรายวชิ า และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
(ถา้ มี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วนั หลังสิน้ สุดภาคการศึกษาท่ีเปดิ สอนใหค้ รบทกุ รายวิชา

5) จัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลงั ส้นิ สดุ ปกี ารศึกษา
6) มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ
มคอ.4 (ถา้ มี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปิดสอนในแตล่ ะปกี ารศึกษา
7) มีการพัฒนา/ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ จากผล
การประเมนิ การดำเนนิ งานทร่ี ายงานใน มคอ.7 ปที แ่ี ล้ว
8) อาจารยใ์ หม่ (ถา้ มี) ทุกคน ไดร้ ับการปฐมนิเทศหรอื คำแนะนำด้านการจัดการเรยี นการสอน
9) อาจารย์ประจำทุกคนได้รบั การพฒั นาทางวิชาการ และ/หรอื วชิ าชีพ อยา่ งน้อยปลี ะหนงึ่ ครงั้
10) จำนวนบุคลากรสนับสนนุ การเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อย
กว่าร้อยละ 50 ตอ่ ปี
11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5
จากคะแนนเต็ม 5.0
12) ระดับความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ที่มีต่อบณั ฑิตใหม่ เฉลีย่ ไมน่ ้อยกวา่ 3.5 จากคะแนน เต็ม 5.0

สถาบันอุดมศึกษาอาจกำหนดตวั บง่ ชี้เพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับพันธกิจและวตั ถุประสงค์ของสถาบันฯ หรือ
กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานที่สูงขึ้น เพื่อการยกระดับมาตรฐานของตนเอง โดยกำหนดไว้ในรายละเอียดของ
หลักสูตร สถาบันอุดมศึกษาที่จะได้รับการรับรองมาตรฐานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แหง่ ชาติ ตอ้ งมผี ลการดำเนินการบรรลตุ ามเปา้ หมายตวั บ่งช้ที ัง้ หมด อย่ใู นเกณฑด์ ีต่อเนอื่ ง 2 ปีการศกึ ษาเพือ่ ตดิ ตาม
การดำเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งนี้เกณฑ์การประเมินผ่านคือ มีการดำเนินงานตามข้อ 1-5 และอย่างน้อยร้อยละ
80 ของตัวบ่งช้ผี ลการดำเนนิ งานท่ีระบไุ วใ้ นแต่ละปี

7

ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการทวนสอบเป็นดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงานข้อหนึ่งซึ่งกำหนดไว้ว่า “มีการทวนสอบ
มาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ท่ีกำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อยา่ งน้อยร้อย
ละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา” ซึ่งเมื่อทวนสอบครบหลักสูตรก็จะสามารถทวนสอบได้ครบทุก
รายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในการสร้าง
ความเข้าใจไปยังอาจารย์ผู้สอน ผู้บริหารระดับสูงและผู้ที่เกี่ยวข้องให้การดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพเป็นท่ี
น่าเชื่อถือ การดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ไม่เพียงแต่เป็นการประกันคุณภาพของหลักสูตรนั้น แต่ยังเป็นการ
ยนื ยนั กระบวนการผลิตบัณฑิตทม่ี ีคุณภาพตรงตามปรัชญาและวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตรเพื่อให้บณั ฑติ มีความพร้อม
ออกสู่ตลาดแรงงาน และเป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อไปผู้รับผิดชอบรายวิชาและผู้รับผิดชอบหลักสูตร จึง
จำเปน็ ต้องมีความเขา้ ใจเกีย่ วกับการทวนสอบเพ่ือให้เกิดการทวนสอบที่มีประสิทธิภาพ ถกู ตอ้ งตามหลักการวัดและ
ประเมินผล และสะดวกต่อการดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของหลักสูตร

8

สว่ นท่ี 2
การทวนสอบผลสัมฤทธ์นิ กั ศึกษา

ความสำคัญและความจำเป็นในการพัฒนาระบบและกระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์นักศึกษา เป็นผลมา
จาก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 ได้กำหนดแนวทางการจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิของแต่ละระดับและสาขา/สาขาวิชา ซึ่งครอบคลุมหัวข้อ
ต่าง ๆ ตามแบบ มคอ.1 จะมีการกำหนด เรื่อง การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ไว้ เพื่อเป็นแนวทางให้
สถาบันอุดมศึกษาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร มีการกำหนดการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะ
นักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษาไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิของแต่ละระดับและสาขา/สาขาวิชา (มคอ.1) ในข้อ 10 การ
ทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี คือ “สถาบันอดุ มศกึ ษาตอ้ งกำหนดให้มรี ะบบและกลไกการ
ทวนสอบเพื่อยืนยันว่านักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาทุกคน มีผลการเรียนรู้ทุกด้านตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน
คุณวุฒิของแต่ละระดับและสาขา/สาขาวิชา เป็นอย่างน้อย โดยอาจจัดทำการทวนสอบในระดับรายวิชาท้ัง
ภาคทฤษฎแี ละปฏิบัติ และระดับหลกั สูตร เมอื่ ได้ดำเนนิ การทวนสอบแล้ว ใหจ้ ัดทำรายงานผลการทวนสอบเพ่ือเป็น
หลกั ฐานการบรรลมุ าตรฐานผลการเรยี นรู้” ซงึ่ ในแต่ละสาขาวิชาชพี ได้จดั ทำมาตรฐานคุณวุฒขิ ้ึนมา

2.1 ความสำคญั ของการทวนสอบ
การทวนสอบผลสัมฤทธ์ินักศึกษามีความสำคัญต่อการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา

และหลักสตู รให้มีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล เนือ่ งจากการทวนสอบจะสะท้อนผลรายวชิ าและหลกั สตู รดงั นี้
1. ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่แต่ละรายวิชาได้รับจากการกระจายความ

รับผดิ ชอบจากหลักสูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) ซง่ึ เป็นประโยชน์ตอ่ อาจารย์ผูส้ อน อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสตู รและผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งในการปรบั ปรงุ ขอ้ บกพร่อง หรอื สง่ เสรมิ จุดเด่นของผเู้ รยี นเพื่อพฒั นาตนเองต่อไป

2. ประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนการสอนสำหรบั อาจารย์ผสู้ อนในการพัฒนาปรับปรุงการสอนใหด้ ีกวา่ เดิม
3. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทางการศึกษา ผลจากการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิเปน็ ข้อมูลสำคัญในการ
วางแผนพัฒนาการเรยี นการสอน การติดตามประเมินผลและการประกันคุณภาพของหลกั สตู ร

2.2 ความหมายของการทวนสอบ
การทวนสอบ หมายถึง การดำเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการใด ๆ เช่น การสังเกต การตรวจสอบ

การประเมิน การสัมภาษณ์ ฯลฯ เพ่ือยืนยนั พิสูจน์ว่า สง่ิ ท่ีกำหนดข้ึนน้ันได้มีการดำเนินการและบรรลุเป้าหมายตาม
วตั ถปุ ระสงค์ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนร้ขู องนักศึกษาเปน็ สว่ นหนึง่ ของความรับผดิ ชอบในระบบ การ
ประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศกึ ษาทุกแห่งซึ่งจะต้องดำเนินการที่ให้ความมั่นใจได้วา่ มาตรฐานผล การ
เรียนรู้ทีค่ าดหวังเป็นทีเ่ ข้าใจตรงกันทั้งสถาบันฯ และมีการดำเนินการจัดการเรียนการสอนจนบรรลุผลสำเร็จนั้นคือ
ต้องมีการทวนสอบ ซึ่งผู้ประเมินภายนอกอาจต้องการตรวจสอบด้วยว่าได้มีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
อยา่ งเพียงพอและเช่ือถือได้

กลยุทธ์ทีใ่ ชโ้ ดยปกตทิ ว่ั ไปของสถาบนั อดุ มศึกษาในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ของนักศึกษา ได้แก่
การตรวจสอบการใหค้ ะแนนจากกระดาษคำตอบข้อสอบของนักศึกษาและงานทีร่ บั มอบหมาย การประเมินหลักสูตร

9

โดยนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา การประเมินภาควิชาและหลักสูตรโดยบุคลากรภายนอก การรายงานเกี่ยวกับ
ทกั ษะของบณั ฑิตโดยผใู้ ชบ้ ัณฑิต

การทวนสอบมาตรฐานบางส่วนอาจจะดำเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ ที่มีความร่วมมือทาง
การศึกษา แต่จะมีกระบวนการอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับรายละเอียดของการจัดการและความมีประสิทธิภาพของการ
ดำเนินการร่วมกัน อย่างไรก็ตามสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนจะต้องรับผิดชอบในการทวนสอบมาตรฐานเพื่อให้
มัน่ ใจว่าจะรกั ษามาตรฐานไวไ้ ด้อยา่ งสม่ำเสมอ (คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา,2552)

2.3 การทวนสอบ กบั กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ (มคอ.)
การทวนสอบได้มีการกำหนดรายละเอียดไว้ใน มคอ. ต่าง ๆ คือ มคอ. 1 มคอ. 2 มคอ.3 และ มคอ.5ซึ่งมี

รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้
1) การทวนสอบตามทร่ี ะบุไว้ใน มคอ. 1
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ....... สาขา/สาขาวชิ า...(มคอ.1) จะมกี ารกำหนด

เรื่อง การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ไว้ เพื่อเป็นแนวทางให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ในการพัฒนาปรับปรุง
หลักสูตร มีการกำหนดการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษาไว้ในมาตรฐาน
คุณวุฒริ ะดบั ...... สาขา/สาขาวชิ า (มคอ.1) ในข้อ 10 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้

2) การทวนสอบตามทร่ี ะบุไว้ใน มคอ. 2
ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้แจ้งคู่มือกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 มีรายละเอียดเบื้องต้นอธิบายการจัดทำรายละเอียดของ มคอ. 2 ทั้ง 8 หมวด ซึ่งหมวดที่เกี่ยวข้องกับ
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ได้แก่ “หมวด 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา ข้อ 2 กระบวนการทวนสอบ
มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา” โดยให้อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของ
นักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แต่ละรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานท่ีมอบหมาย
กระบวนการอาจจะต่างกันไปสำหรบั รายวิชาทแี่ ตกต่างกนั หรือสำหรบั มาตรฐานผลการเรยี นรแู้ ต่ละด้าน
3) การทวนสอบตามทร่ี ะบุไว้ใน มคอ.3
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้แจ้งคู่มือกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 มีรายละเอียดเบื้องต้นอธิบายการจัดทำรายละเอียดของ มคอ.3 ทั้ง 7 หมวด ซึ่งหมวดที่เกี่ยวข้องกับ
การทวนสอบผลสมั ฤทธไ์ิ ด้แก่ “หมวดท่ี 7 การประเมนิ และปรับปรงุ การดำเนนิ การของรายวชิ า ในข้อ 7.4. การทวน
สอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ที่อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย
กระบวนการอาจจะตา่ งกนั ไปสำหรับรายวิชาทแี่ ตกต่างกนั หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แตล่ ะดา้ น”
4) การทวนสอบตามทร่ี ะบุไวใ้ น มคอ.5
ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้แจ้งคู่มือกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 มีรายละเอียดเบื้องต้นอธิบายการจัดทำรายละเอียดของ มคอ.5 ทั้ง 6 หมวด ซึ่งหมวดที่เกี่ยวข้องกับ
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ได้แก่ หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา ข้อท่ี 7 การทวนสอบ
ผลสัมฤทธิ์นกั ศกึ ษา

10

5) การทวนสอบตามทีร่ ะบุไว้ใน มคอ. 7
ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้แจ้งคู่มือกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 มีรายละเอียดเบื้องต้นอธิบายการจัดทำรายละเอียดของมคอ.7 ทั้ง 9 หมวด ซึ่งหมวดที่เกี่ยวข้องกับการ
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ได้แก่ หมวดท่ี 6 สรุปการประเมินหลักสูตร ในข้อที่ 3 การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ ซึ่งกำหนดให้มีการรายงานผลดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงานในข้อที่ 6 คือ มีการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25
ของรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนในแตล่ ะปีการศึกษา

2.4 ระดบั ของการทวนสอบ
จากรายละเอียดเก่ียวกบั การทวนสอบที่กำหนดไว้ใน มคอ.1 ขอ้ 10 กำหนดให้สถาบันการศึกษาต้องพัฒนา

ระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและผู้สำเรจ็ การศึกษาเพื่อเป็นการยืนยันว่าทุกคน
มีผลการเรียนรู้ทุกด้านตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิระดับ.....สาขา...และได้กำหนดให้ดำเนินการทวนสอบท้งั
ระดับรายวชิ าและระดบั หลักสตู ร ซ่งึ มีรายละเอียดดงั นค้ี ือ

2.4.1 การทวนสอบระดบั รายวชิ า
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) ในหมวดท่ี 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา ข้อ 4
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษาในรายวิชา ให้อาจารย์ผู้สอนระบวุ ิธีการ กระบวนการและขั้นตอน
ในการทวนสอบผลสัมฤทธท์ิ ่ีอาจารย์ผู้สอนกำหนดไว้ เพ่อื เป็นแนวทางการดำเนินการและแจ้งใหน้ ักศึกษาทราบ
ตั้งแต่เปิดภาคการศึกษา โดยที่อาจารย์ผู้สอนสามารถนำข้อมูลที่หลักสูตรกำหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร
(มคอ.2) หมวดท่ี 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา ข้อ 2 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของ
นักศกึ ษา ข้อ 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศกึ ษายังไมส่ ำเรจ็ การศึกษามาเขียนไว้ในรายละเอียด
ของรายวิชา (มคอ.3) เพอ่ื ให้การดำเนนิ การสอดคล้องกับส่งิ ท่ีหลักสตู รกำหนดไว้มาสู่การปฏบิ ัติ เมอื่ ดำเนินการทวน
สอบผลสัมฤทธิ์ตามที่ระบุไว้ อาจารย์ผู้สอนประเมินและสรุปผลนำไปเขียนไว้ในรายงานผลการดำเนินการของ
รายวิชา (มคอ.5) หมวดท่ี 3 สรปุ ผลการจดั การเรียนการสอนของรายวิชา ในขอ้ 7 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ของนกั ศกึ ษา กำหนดใหร้ ะบวุ ิธีการทวนสอบและสรุปผล

1) การพฒั นาระบบการทวนสอบ
1.1) ให้คณะแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา ขึ้นมา

1 ชุด ประกอบดว้ ย
(1) ประธานหลกั สูตร เป็นประธานกรรมการ
(2) ตวั แทนคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการ
(3) ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกหลักสูตร อาทิเช่น ผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอกสถาบนั (ตาม

ความเหมาะสมของแต่ละวิชาชพี ) กรรมการบริหารหลกั สตู รอืน่ ท้งั ในและนอกคณะ ทม่ี คี วามสมั พันธ์เกีย่ วเนือ่ งกบั
หลกั สตู ร เป็นต้น อย่างน้อย 1 คน เปน็ กรรมการ

(4) ตวั แทนคณะกรรมการบริหารหลักสูตร อยา่ งน้อย 1 คน เปน็ กรรมการและ
เลขานกุ าร

11

1.2) ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่หน่วยงานระดับสำนักเป็นผู้รับผิดชอบ ให้สำนักแต่งต้ัง
คณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูร้ ะดับรายวชิ าขึน้ มา 1 ชุด ประกอบดว้ ย

(1) ผอู้ ำนวยการสำนกั เป็นประธานกรรมการ
(2) ตวั แทนอาจารยผ์ สู้ อนในรายวชิ า อยา่ งนอ้ ยวิชาละ 1 คน เปน็ กรรมการ
(3) ผทู้ รงคุณวุฒิภายนอก อย่างนอ้ ย 1 คน เปน็ กรรมการ โดยต้องเปน็ ผู้ท่ี
เก่ยี วข้องกบั หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป
(4) ตวั แทนอาจารย์ผสู้ อนในรายวิชา อย่างนอ้ ย 1 คน เปน็ กรรมการและ
เลขานุการ
1.3) บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรรู้ ะดับรายวิชา
(1) กำหนดกระบวนการหรือขั้นตอนของการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
ระดบั รายวิชา
(2) กำหนดปฏทิ ินการดำเนินงานการทวนสอบประจำภาคการศึกษา โดยกำหนด
รายละเอียดของกิจกรรมและระยะเวลาที่ต้องดำเนินการของผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ทั้งรายวิชาทฤษฎีและ
รายวชิ าปฏิบัติ
(3) กำหนดความรับผิดชอบและสิ่งที่อาจารย์ประจำวิชาต้องเตรียมและแจ้งให้
ทราบเพอื่ การเตรียมพร้อมรบั การทวนสอบ ได้แก่ คะแนนผลการตรวจผลงาน คะแนนผลการสอบ หรอื คะแนนส่วน
อ่นื ๆ ทกี่ ำหนดไว้ในเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ของรายวิชา พรอ้ มหลักฐานที่แสดงที่มาของคะแนนแต่ละส่วน
เช่น กระดาษคำตอบจากการสอบ แบบตรวจผลงาน/ชิ้นงาน แบบประเมินตามมาตรฐานการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ที่
กำหนดไว้ของรายวชิ า
(4) ดำเนินการทวนสอบตามกระบวนการหรือข้นั ตอนและระยะเวลาที่กำหนดไว้
(5) จดั ทำรายงานผลการทวนสอบประจำภาคการศึกษาต่อคณะ
2) กระบวนการหรือขัน้ ตอนการทวนสอบระดบั รายวิชา
2.1) กำหนดรายวิชาที่จะทวนสอบ เช่น รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชา
พื้นฐานวิชาชีพ หมวดวิชาเฉพาะด้าน และหมวดวิชาเลือกเสรี เป็นต้น จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายวิชาท่ี
เปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา
2.2) สุ่มตรวจสอบแต่ละส่วนตามท่ีกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ใน มคอ.3
และ มคอ.4 ของแต่ละรายวิชา โดยพิจารณาการให้คะแนนจากรายงาน ชิ้นงานหรือผลงานจากการเรียนรู้ การ
ประเมินพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบ แบบประเมินตามมาตรฐานการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ
หรือแบบประเมนิ งานอนื่ ๆ ที่มอบหมายของรายวชิ า
2.3) นำข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากรายงานผลการจัดการเรียนรู้ของรายวิชา มคอ.5 และ
มคอ.6 ที่อาจารย์ประจำวชิ าจัดทำเมอ่ื สิน้ สดุ ภาคการศึกษา มาประกอบการพิจารณาผลการทวนสอบ
2.4) กำหนดโครงสรา้ งและจัดทำรายงานผลการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูร้ ายวิชา
ประจำภาคการศึกษา ที่แสดงให้เห็นในภาพรวมว่า คุณภาพของการจัดการเรียนรู้ของรายวิชาเป็นอย่างไร ผู้เรียน
บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละรายวิชาในระดับใด พร้อมแสดงข้อมูลหรือหลักฐานที่ยืนยันว่า
ผ้เู รยี นบรรลุตามมาตรฐานท่ีกำหนด ทง้ั นี้เพอ่ื ใหส้ ามารถใช้เปน็ แหล่งข้อมลู สำหรบั การทวนสอบระดับหลกั สูตรได้

12

2.4.2 การทวนสอบระดับหลักสตู ร
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้แจ้งคู่มือกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 มีรายละเอียดเบื้องต้นอธิบายการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ทั้ง 8 หมวด ซึ่งหมวดท่ี
เกี่ยวข้องกับการทวนสอบผลสมั ฤทธิไ์ ด้แก่ หมวด 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา ข้อ 2 กระบวนการทวน
สอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยให้อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของ
นักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แต่ละรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย
กระบวนการอาจจะต่างกันไปสำหรับรายวิชาที่แตกต่างกัน หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน จากการ
ตรวจสอบรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ของหลักสูตรที่เปิดสอนของมหาวิทยาลัยในหมวด 5 ข้อ 2 จะแยก
ออกเป็น 2 ข้อย่อย คือ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษา และการทวนสอบ
มาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนักศึกษาสำเรจ็ การศกึ ษาสำหรับคู่มือการทวนสอบเล่มนี้จะเกี่ยวข้องกับข้อย่อย 2.1
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรขู้ ณะนกั ศึกษายงั ไมส่ ำเร็จการศกึ ษา

ในคู่มือเล่มนี้จะเน้นรายละเอียดเฉพาะในส่วนของการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะ
นกั ศึกษายงั ไมส่ ำเร็จการศกึ ษา

1) การพัฒนาระบบการทวนสอบ
1.1) ให้มหาวทิ ยาลัยแต่งตง้ั คณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนร้รู ะดับ

หลกั สูตร ขนึ้ มา 1 ชดุ ประกอบด้วย
(1) คณบดี เป็นประธานคณะกรรมการ
(2) ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตรทุกหลกั สูตร เป็นกรรมการ
(3) ผู้ทรงคณุ วฒุ ิภายนอกคณะ อยา่ งน้อย 2 คน เป็นกรรมการ
(4) รองคณบดีทร่ี บั ผิดชอบงานวิชาการ เป็นกรรมการและเลขานุการ

1.2 บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรรู้ ะดับหลกั สตู ร
(1) กำหนดกระบวนการหรือขั้นตอนของการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้

ระดบั หลักสตู ร เพอ่ื การตรวจสอบและประเมินความสำเร็จของการผลติ บณั ฑติ ท่ีมีคุณภาพ
(2) กำหนดปฏิทินการดำเนินงานการทวนสอบประจำปีการศึกษาที่มีผู้สำเร็จ

การศกึ ษา โดยกำหนดรายละเอียดของกจิ กรรมและระยะเวลาท่ีตอ้ งดำเนนิ การของผู้เกีย่ วขอ้ ง
(3) ดำเนนิ การทวนสอบตามกระบวนการหรอื ข้นั ตอนและระยะเวลาท่ีกำหนดไว้
(4) จัดทำรายงานผลการทวนสอบประจำปีการศึกษาต่อมหาวทิ ยาลยั

2) กระบวนการหรือขัน้ ตอนการทวนสอบระดบั หลักสตู ร
2.1) รวบรวมขอ้ มลู ผลการทวนสอบระดับรายวิชาของแต่ละหลักสูตร พรอ้ มข้อเสนอแนะ

ของคณะกรรมการ
2.2) อาจใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากรายงานผลการจัดการเรียนรู้ของรายวิชา มคอ.5 และ

มคอ.6 และข้อมูลจากรายงานผลการดำเนนิ งานของหลักสูตร (มคอ.7 ถ้ามี) ที่คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรจัดทำ
เมือ่ สิ้นสุดปกี ารศึกษา มาประกอบการพจิ ารณาผลการทวนสอบดว้ ย

2.3) หากมีข้อมูลเกี่ยวกับผลงานหรือชิ้นงานของนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
คณะกรรมการอาจนำมาประกอบการพิจารณาผลการทวนสอบ

13

2.4) ดำเนินการทวนสอบ และจดั ทำรายงานสรปุ ผลการทวนสอบเสนอต่อมหาวิทยาลัย

14

ส่วนที่ 3
ระบบและกลไกการทวนสอบผลสัมฤทธ์นิ กั ศกึ ษา

เพื่อให้เป็นไปตามข้อบ่งชี้คณะฯหรือหลักสูตร จึงกำหนดระบบและกลไกในการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด เพื่อให้ได้ผลการ
ประเมินคุณภาพภายในตามตัวบ่งชี้ท่ีกำหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตรมีคะแนนเฉลี่ยระดับดีขึ้นไป โดยมี
รปู แบบของระบบและกลไกในการทวนสอบ ดังน้ี

1. คณะแตง่ ต้ังคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิข์ องนักศกึ ษารายวชิ าในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา
2. ใหห้ ลกั สตู รท่เี ปดิ ดำเนนิ การวางแผนการทวนสอบและจัดสง่ รายช่ือรายวชิ าท่ีเปดิ สอนในปีการศึกษานั้นๆ
โดยแบง่ เปน็ ภาคการศกึ ษาต้นและปลาย ไปยังคณะกรรมการทวนสอบฯ
3. คณะกรรมการทวนสอบฯ จะดำเนนิ การสมุ่ รายวชิ าอย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละ
ปีการศึกษา โดยแบ่งการสุ่มเป็นภาคการศึกษาต้นและปลายของแต่ละหลักสูตรเพื่อดำเนินการทวนสอบ โดยจะไม่
ทำการทวนสอบรายวชิ าเดิมท่ีเคยทวนสอบมาแล้วในปีการศึกษาน้นั ๆ และพยายามกระจายการทวนสอบให้ครบทุก
รายวิชาในหลักสูตรตลอดระยะเวลาท่ีกำหนดของหลักสูตร สำหรับรายวิชาศึกษาทั่วไป และรายวิชาพื้นฐาน ควร
ดำเนินการทวนสอบทกุ รายวชิ า
4. เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาคณะกรรมการทวนสอบฯ จะแจ้งรายชื่อรายวิชาที่จะทวนสอบไปยังหลักสูตร
เพื่อให้หลักสูตรประสานงานกับผู้รับผิดชอบรายวิชาในการจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ได้แก่ มคอ 3 หรือ มคอ 4 มคอ
5 หรือ มคอ 6 และขอ้ สอบ รายงาน หรอื เอกสารท่รี ายวชิ าทำการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ส่งมาใหค้ ณะกรรมการทวน
สอบฯ หลังจากนั้นคณะกรรมการฯ จะกำหนดรูปแบบของการทวนสอบในแต่ละรายวิชาให้สอดคล้องกับธรรมชาติ
หรอื บรบิ ทของรายวชิ า เช่น การตรวจสอบ การประเมนิ การสัมภาษณ์ ฯลฯ เพื่อยนื ยนั และพสิ จู น์ว่าสง่ิ ที่กำหนดข้ึน
นั้นได้มีการดำเนินการและบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามาตรฐานผลการเรียนรู้ที่
คาดหวังเป็นทเ่ี ข้าใจตรงกนั และมกี ารจัดการเรยี นการสอนจนบรรลผุ ลสำเร็จ
5. หลังจากการดำเนนิ การทวนสอบแลว้ คณะกรรมการฯ จะรายงานผลการทวนสอบใหห้ ลกั สูตรทราบเพอ่ื
หลักสูตรจะไดว้ างแผนพัฒนาและปรบั ปรุงรายวิชา และแจ้งผลการพิจารณาของหลักสูตรไปยังผู้รับผิดชอบรายวิชา
เพื่อพิจารณาวางแผนพัฒนาและปรับปรุงรายวิชาให้เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตรต่อไป และให้กรรมการ
ทวนสอบฯ สง่ ผลการทวนสอบไปยังกรรมการบริหารสูงสดุ ของคณะฯ อกี ทางหนง่ึ ด้วย
6. ให้คณะพิจารณาผลการทวนสอบและวางแผนพัฒนาและกำหนดทิศทางและนโยบายในการปรับปรุง

หลักสูตรต่อไป

15

ระบบและกลไกการทวนสอบผลสัมฤทธ์ินักศึกษา

ผรู้ บั ผิดชอบ ระบบ กลไก ชว่ งเวลา
คณะ/มหาวิทยาลยั ก่อนเปิดภาคการศึกษา
แตง่ ตง้ั กรรมการทวนสอบ คำสัง่ แต่งตั้งกรรมการ ก่อนเปิดภาคการศกึ ษา
กรรมการทวนสอบ ทวนสอบ ก่อนเปิดภาคการศกึ ษา

หลักสตู ร ประชุมและเตรยี มการทวน แผนการดำเนินการทวน ก่อนเปดิ ภาคการศกึ ษา
สอบ สอบ กอ่ นเปิดภาคการศกึ ษา
กรรมการทวนสอบระดับ - กอ่ นเปิดภาคการศึกษา
รายวชิ า - หลกั สตู รส่งรายวิชาทเ่ี ปิด - เม่อื ส้ินภาคการศึกษา
กรรมการทวนสอบระดับ สอนใหก้ รรมการทวน สิ้นสุดภาคการศึกษา
รายวิชา สอบ
อาจารย์ผสู้ อน สน้ิ สุดภาคการศึกษา
- สุ่มรายวชิ าจำนวน 25%
กรรมการทวนสอบระดบั (ไม่สุม่ วชิ าซำ้ ) สนิ้ สุดภาคการศกึ ษา
รายวิชา สิน้ สุดภาคการศึกษา
- แจ้งช่ือวิชาและขอ
กรรมการทวนสอบระดับ เอกสาร
รายวิชา
- จัดทำรายงาน มคอ.3 , 4 - รานงาน มคอ.3 , 4
กรรมการทวนสอบระดบั - ดำเนินการทวนสอบ - ผลการทวนสอบ
หลกั สตู ร
ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร ดำเนนิ การทวนสอบ รายงานผลการทวนสอบ

- สรุปรปู แบบทวนสอบ

- ปฏบิ ัตกิ ารทวนสอบ

- สรุปผลการทวนสอบ

- เขียนรายงานผลการทวน

สอบ

การรายงานผลการทวน รายงานผลการทวนสอบ

สอบตอ่ กรรมการทวนสอบ

ระดับหลักสตู ร

ประชุมและสะท้อนผลเพื่อ ผลการประชมุ และข้อ

การปรับปรงุ ปรับปรุง

ประชุมและสะท้อนผลเพ่ือ ผลการประชมุ และข้อ

การปรบั ปรงุ การดำเนนิ งาน ปรบั ปรุง

16

ส่วนท่ี 4
กระบวนการทวนสอบผลสมั ฤทธนิ์ กั ศกึ ษา

เม่ือกรรมการทวนสอบได้รายวิชาที่จะทำการทวนสอบแล้ว กรรมการจะประสานงานไปเพื่อให้หลักสูตร
จดั ส่งเอกสารต่าง ๆ มาเพื่อใช้ในการทวนสอบซง่ึ ประกอบด้วย

1. รายละเอียดของหลกั สตู ร หรอื มคอ.2
2. รายละเอียดของรายวชิ าหรือ มคอ.3
3. รายงานผลการดำเนนิ การของรายวิชาหรือ มคอ.5
4. ช้นิ งานท่ีรายวิชาใชใ้ นการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ได้แกร่ ายงาน ข้อสอบ บทความวชิ าการ
5. เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการประเมินผลการเรยี นรู้ในแต่ละดา้ น

4.1 วธิ ีการทวนสอบ
กรรมการทวนสอบอาจเลือกใช้วิธีการทวนสอบต่าง ๆ เช่น การทวนสอบจากเอกสารต่าง ๆ การทวนสอบ

โดยการสัมภาษณ์อาจารยผ์ ้สู อน การทวนสอบโดยการสมั ภาษณ์นกั ศึกษา ซงึ่ โดยปกติจะทวนสอบจากเอกสารต่าง ๆ
ก่อน ถ้าต้องการข้อมูลเพิ่มเติมอาจเลือกใช้การสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอนหรือนักศึกษา เพื่อค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้
ตามความเหมาะสม หรอื ดำเนนิ การดังน้ี

1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแจ้งอาจารย์ผู้สอนกำหนดให้การทวนสอบผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานผลการ
เรยี นรู้ของนกั ศกึ ษาเปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการจดั การเรียนการสอนของหลักสตู ร

2. อาจารย์ผู้สอนศึกษาคูม่ ือการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เลือกเครื่องมือที่จะนำมาใช้ในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ให้สัมพันธ์สอดคล้องกับรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หรือรายละเอียดของ
ประสบการณว์ ชิ าชีพ (มคอ.4)

3. อาจารยผ์ สู้ อนดำเนนิ การทวนสอบผลสมั ฤทธติ์ ามมาตรฐานผลการเรยี นรโู้ ดยกระบวนการ อาทิ การสอบ
การสังเกต การตรวจสอบ การประเมินผล ในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนการสอน โดยใช้เครื่องมือ อาทิ
แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบสำรวจ แบบประเมนิ และแบบสัมภาษณ์

4. อาจารย์ผู้สอนประมวลผลและเขียนรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้เพื่อ
ใช้ประกอบการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของรายวชิ า (มคอ.5)

5. อาจารย์ผู้สอนนำเสนอรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ต่อประธานหลักสูตรพร้อมแนวทางปรับปรุง
รายงานในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) หรือ รายงานการดำเนินการของประสบการณ์วิชาชีพ
(มคอ.6)

6. คณะกรรมการทวนสอบ ศึกษารายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของอาจารย์ผู้สอนโดยพิจารณาจาก
เอกสารหลักฐานและสามารถเก็บขอ้ มูลเพิ่มเติมโดยใชเ้ ครื่องมอื การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในแต่ละดา้ นและภาพรวม

7. คณะกรรมการทวนสอบทำการประมวลผลข้อมลู และจดั ทำรายงานพร้อมเสนอแนวทางปรับปรงุ เสนอ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู ร

17

4.2 แนวทางการทวนสอบ
ในการทวนสอบกรรมการทวนสอบจะดำเนนิ การทวนสอบโดยใชแ้ นวทางดังน้ีคือ
1. การวิเคราะห์ความสอดคล้องของรายวิชา (มคอ 3 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายของรายวิชา หรือ หมวดท่ี 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชา หรือ หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมินผล) กบั หลกั สตู ร (มคอ 2 หมวดท่ี 4
ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล และ curriculum mapping) เพื่อประเมินว่ารายวิชาได้
ดำเนนิ การจดั การเรยี นร้ใู หผ้ ูเ้ รยี นครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามท่หี ลกั สูตรกำหนดหรือไม่ รวมถงึ ความสอดคล้อง
ของแตล่ ะหมวดท่เี กยี่ วขอ้ งกับผลการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมนิ ผลในรายวิชา

- ความสอดคล้องของหมวดตา่ ง ๆ ภายในรายวิชา (มคอ.3) กบั หลักสูตร (มคอ.2 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้
กลยุทธก์ ารสอนและการประเมินผล และ curriculum mapping)

- ความสอดคลอ้ งของหมวด 2 จดุ ม่งุ หมายของรายวชิ า หมวด4การพฒั นาผลการเรียนรรู้ ายวชิ า และ หมวด
5แผนการสอนและการประเมินผลในรายวชิ า (มคอ. 3)

2. การประเมินผลการเรียนรู้ของรายวิชาในด้านต่าง ๆ และ ผลการประเมินผลการเรียนรู้ของรายวิชาดา้ น
ต่าง ๆ สอดคล้องกับผลการเรียนรู้หรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ท่ีกำหนด ความเหมาะสมของรูปแบบวิธีการสอนกับ
วิธีการประเมนิ ผล และข้อคดิ เห็น

4.3 การรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธติ์ ามมาตรฐานผลการเรยี นร้รู ายวชิ า
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรสามารถดำเนินการได้หลายวิธีการ

อยู่ที่อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรและคณาจารยผ์ ู้สอนได้ตกลงกัน เมื่อดำเนินการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิแลว้ จะตอ้ งมี
การเขียนรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ด้วย สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนจึงได้หารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
โดยตรงคือหลกั สูตร นอกจากแบบรายงานทจี่ ดั ทำเพ่ิมใหม่แล้ว หลกั สูตรต่าง ๆ ต้องรายงานใน รายงานผล การ
ดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) และรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) เมื่อประเมินผลการทวนสอบ
ผลสัมฤทธิ์แล้วจะต้องรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เพื่อนำข้อค้นพบข้อสรุป และข้อเสนอแนะ ซึ่งเป็นผลจาก
การรวบรวม การวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมูลมารายงานไว้ใน มคอ.5 หมวดท่ี 3 และแบบรายงาน
พฤตกิ รรมภาพรวมโดยอาจารย์ผู้สอน สำหรับระดับรายวชิ า และรายงานในมคอ.7 สำหรับระดบั หลกั สตู ร

ในการจัดทำรายงานผลการทวนสอบใหจ้ ดั ทำในรปู แบบรายงานทว่ั ไปท่ีมสี ่วนประกอบอยา่ งนอ้ ยดงั น้ี
1. รายวิชาในแผนการศึกษาในหลกั สตู รและรายวชิ าทที่ วนสอบฯ
2. ผลการทวนสอบแตล่ ะรายวชิ า (ตามจำนวนรายวิชาท่ีทวนสอบ)
3. สรุปผลการทวนสอบรายวิชาของหลกั สูตร
4. ภาคผนวก : คำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการทวนสอบ

4.4 การสรุปผลการทวนสอบ
แจ้งผลการประเมินโดย รวบรวมผลการประเมินการทวนสอบในรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร พร้อมสรุป

ภาพรวมให้ผู้รับผิดชอบหรืออาจารย์ประจำหลักสูตรทราบ นอกจากนี้หลักสูตรอาจออกแบบแบบประเมินหรือแบบ
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาประเมินตนเองภายหลังสิ้นสุดการเรียนรายวิชาว่าได้
เกดิ ผลการเรยี นรตู้ ามที่มาตรฐานผลการเรียนรขู้ องรายวชิ ามุง่ หวงั หรอื ไม่ มากน้อยเพียงใด

18

4.5 การนำผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานผลการเรียนรรู้ ายวชิ าไปรายงานผลใน มคอ.5 และ มคอ.7
หลังจากรบั ทราบผลการทวนสอบผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานผลการเรยี นรู้รายวิชา
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชานำข้อมูล/ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์มารายงานไว้ใน มคอ.5 หมวดท่ี 3

สรปุ ผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา ขอ้ 7 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนกั ศกึ ษา
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรืออาจารย์ประจำหลักสูตรนำรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์

เป็นเอกสารหลักฐานในการประเมินคุณภาพหลักสูตรใน มคอ.7 หมวดท่ี 6 สรุปการประเมินหลักสูตร ข้อ 3 การ
ประเมินคณุ ภาพหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒฯิ ดัชนีบง่ ชผ้ี ลการดำเนนิ งานข้อที่ 6 “มีการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ที่กำหนดไว้ใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25
ของรายวชิ าท่ีเปิดสอนในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา”

3. อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู รหรืออาจารย์ประจำหลักสูตรนารายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา
นำไปให้ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสตู ร ในหมวดที่ 9 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร ข้อ 2 ข้อเสนอในการ
พัฒนาหลกั สตู ร

4. กรรมการบรหิ ารสูงสดุ ของคณะนำผลการทวนสอบไปทบทวนเพ่ือนำไปสูก่ ารกำหนดนโยบาย การ
ปรับปรุงหลักสูตร

19

ภาคผนวก

20

แบบสำหรบั การทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิระดับรายวิชา กระบวนวิชาและระดับหลักสตู ร

ชอื่ รายการ ผูเ้ ก่ียวข้อง/ดำเนนิ การ

ทวนสอบ 01 แบบประเมินตนเองของนักศึกษาเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น นักศึกษา/ประเมินใน
(ปรับคำถามตามผลการเรียนรู้ที่กำหนดในหลกั สูตร หรือประเมินด้วย สปั ดาห์สดุ ทา้ ยของการ
แบบอืน่ ) ใชเ้ อกสารอ่ืนแทนได้ เรียน

ทวนสอบ 02 แบบรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิระดับรายวชิ า อาจารย์ผู้สอน/สาขาวิชา

ทวนสอบ 03 แบบรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธร์ิ ะดับรายวชิ าศึกษาท่ัวไป อาจารย์ผสู้ อน

ทวนสอบ 04 แบบรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธ์ริ ะดับรายวชิ า (สำหรับผู้ประเมิน คณะกรรมการทวนสอบ

รายบคุ คล)

ทวนสอบ 05 แบบรายงานผลการทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชาท่ีเปิด คณะกรรมการทวนสอบ

สอนโดยคณะกรรมการทวนสอบผลการเรียนรู้

ทวนสอบ 06 แบบรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ คณะกรรมการทวนสอบ
สาขาวิชา
ของนักศึกษา
ทวนสอบ 07 แบบรายงานสรปุ ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนักศึกษา

ทวนสอบ 08 แบบสรปุ ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษา ฝ่ายวิชาการคณะ

21

แบบประเมนิ ตนเองของนกั ศกึ ษาเพอ่ื ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทวนสอบ 01
หลักสตู ร ........................................ สาขาวชิ า ........................................ สำหรับนกั ศึกษำ

(ข้อคำถามข้นึ อยู่กบั ผลการเรียนรู้แตล่ ะดา้ นของแตล่ ะหลักสูตรสามารถเพ่มิ เติม แกไ้ ขได้)

ชือ่ วิชา ................................................................................... รหสั รายวิชา .................... ..................................
ช่อื อาจารย์ผสู้ อน ........................................................................................
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 วันทป่ี ระเมิน ....................................................................

คำชี้แจง การประเมินเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาประเมินตนเองเกี่ยวกับระดับความรู้
ความสามารถ ทักษะ พฤติกรรม หลังจากเรียนวิชานี้แล้ว จึงขอความร่วมมือจากนักศึกษาในการประเมินตนเองตามความเป็นจริง
โดยใสเ่ คร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่เหน็ ว่าใกลเ้ คยี งความจริงมากทีส่ ุด ดงั นี้

5 หมายถงึ มีมากท่สี ดุ 4 หมายถงึ มีมาก 3 หมายถึง มปี านกลาง
0 หมายถึง ไมม่ ี/ไมส่ ามารถตอบได้
2 หมายถึง มนี ้อย 1 หมายถงึ มนี ้อยมาก

1. รายการประเมิน ผลการเรียนรูภ้ ายหลงั เรยี นรายวิชาน้ี
5 4321 0
ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ พฤตกิ รรม มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ไมม่ ี/ไม่
ที่สดุ กลาง มาก สามารถ
1. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
1.1 ความมีวินยั และความรบั ผิดชอบ ตอบได้
1.2 ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ
1.3 ความเสยี สละ
1.4 สามารถเปน็ ตัวอย่างทดี่ ีให้แก่ผ้อู ่นื
1.5 มีความสามคั คี
ภาพรวมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม

2. ดา้ นความรู้
2.1 ได้ความรู้ความเขา้ ใจในวิชานีจ้ ากชน้ั เรียน
2.2 ไดค้ วามรู้ ความเข้าใจในรายวิชานจ้ี ากการศกึ ษาด้วยตนเอง
2.3 ความรทู้ ี่ศึกษามาก่อนการเรยี นวชิ านี้
2.4 สามารถผสมผสานความรู้ในวิชานี้เข้ากับความรู้ที่เกี่ยวข้อง

สัมพนั ธก์ นั ในรายวชิ าอ่นื
2.5 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์ใหม่

และชีวติ จริง
ภาพรวมดา้ นความรู้

3. ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา

22

ความรู้ความสามารถ ทักษะ พฤติกรรม ผลการเรียนรูภ้ ายหลังเรียนรายวิชานี้
5 4321 0
3.1 สามารถบูรณาการความรู้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ไมม่ ี/ไม่
ส่วนรวม ทีส่ ดุ กลาง มาก สามารถ
3.2 สามารถหาแนวทางในการแกป้ ญั หาโดยใชค้ วามรู้ท่ีมี
3.3 มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมเี หตผุ ล ตอบได้

3.4 มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ

3.5 มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหาเชิงสร้างสรรค์

ภาพรวมภาพรวมดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
4. ดา้ นทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1 สามารถทำงานกล่มุ ตามบทบาท
4.2 มมี นุษยสัมพันธ์ท่ีดกี บั ผ้รู ว่ มงานและบุคคลทัว่ ไป
4.3 สามารถเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง
4.4 มีความสามารถในการบริหารจดั การและภาวะผนู้ ำ
4.5 มีความฉลาดทางอารมณ์

ภาพรวมด้านทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความ
รับผิดชอบ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง
การฟงั พดู อา่ นและเขียน
5.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อการสืบค้น
ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอและส่อื สาร
5.3 เข้าใจปัญหา วิเคราะห์ และเลือกใช้กระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์ และสถติ ทิ ่ีเหมาะสมในการแกป้ ญั หา

5.4 มที ักษะในการวเิ คราะหข์ ้อมลู และตัวเลข

5.5 รู้เท่าทันส่อื และขอ้ มลู ข่าวสาร

ภาพรวมภาพรวมด้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลสมั ฤทธิ์ของผ้เู รียนในภาพรวม 5 ดา้ น

2. ขอ้ เสนอแนะ/ความคดิ เหน็

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

23

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ ใหอ้ าจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบรายวชิ าพจิ ารณาดำเนินการ ดงั นี้

1. ตรวจสอบว่ารายวิชาที่รับผิดชอบมีการระบุความรับผิดชอบในแผนที่แสดงการกระจายความ
รับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรสู้ รู่ ายวิชาในผลการเรียนรู้ใดบ้างในแตล่ ะดา้ น และตัดผลการเรียนรูท้ ีร่ ายวิชาไม่ได้
มคี วามรับผิดชอบหรือมีความรบั ผดิ ชอบรองออกจากแบบประเมินทวนสอบ 01

2. เมื่อแบบประเมินนี้คงเหลือเฉพาะผลการเรียนรู้ที่รายวิชามีความรับผิดชอบหลักแล้ว ให้ระบุ
เพมิ่ ข้อมูลแสดงรายละเอยี ดของผลการเรยี นรูท้ รี่ ายวชิ ากำหนดในสว่ นทา้ ยของผลการเรียนรู้น้นั ๆ เช่น

มาตรฐานผลการเรยี นรู้ ระดบั ผลสัมฤทธิ์ภายหลังเรียนรายวิชานี้

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 5 4 3 21 0
1) มคี วามซือ่ สัตยส์ ุจริต คอื การไม่ลอกงาน การระบุแหลง่ อา้ งอิงเมอื่ มี มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ไม่ม/ี ไม่
การนำผลงานของผูอ้ น่ื มานำเสนอในงานของตน ที่สุด กลาง มาก สามารถ

ตอบได้

3. เม่ือเพิ่มเติมข้อมลู ครบถว้ นทุกผลการเรียนรู้ทร่ี ายวชิ ามคี วามรับผิดชอบหลักแล้ว ให้มอบหมาย
อาจารย์ผู้สอนในทุกหมู่เรียนนำไปให้ผู้เรียนประเมินตนเองเกี่ยวกับระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตามมาตรฐานผลการ
เรียนรู้

24

ทวนสอบ 02

แบบรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดบั รายวชิ า สำหรับอาจารย์
ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนร้ทู ีก่ าํ หนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 ผู้สอน/สาขาวชิ า

โดย อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร สาขาวชิ า.....................................................

ภาคการศึกษาท่ี ..................ปีการศึกษา .......................................

(ตวั บ่งชี้ผลการดําเนินการที่ 6 ของกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552)

ตอนที่ 1 การทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้ อาจารยผ์ ูส้ อน .................................................................
ชื่อวิชา .......................................................

มาตรฐานผลการเรียนรู้ CLOs วธิ ที วนสอบ ผลการทวนสอบ
(สำหรบั OBE)
ด้าน รายละเอียด

1. คณุ ธรรม 1.1 .....
จริยธรรม (เลือกมาเฉพาะความ

รับผิดชอบหลักของ

วิชานัน้ )

2. ความรู้ 2.1

2.2

3.ทักษะทางปญั ญา 3.1

3.2

3.3

4. ทักษะ 4.1

ความสมั พนั ธ์ 4.2

ระหว่างบคุ คลและ 4.3

ความรบั ผิดชอบ

5. ทกั ษะการ 5.1

วเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข 5.2

การส่ือสารและการ

ใช้เทคโนโลยี

6. ทกั ษะวิชาชพี 6.1

6.2

25

ตอนที่ 2 ผลการพิจารณาสัดส่วนของคะแนนเกบ็ และเกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรียน

คะแนนเกบ็
( ) เหมาะสม เนื่องจาก...................................................................................................................
( ) ไม่เหมาะสมเน่ืองจาก ...............................................................................................................
แนวทางการแก้ไข ดงั น้ี
............................................................................................................................................................ ..........................
......................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. .........................................................
......................................................................................................................................................................................
เกณฑก์ ารตดั สินผลการเรยี น
( ) เหมาะสม เน่อื งจาก ...................................................................................................................
( ) ไม่เหมาะสมเนือ่ งจาก .................................................................................................................
แนวทางการแกไ้ ข ดังนี้
............................................................................................................................. .........................................................
......................................................................................................................................................................................
..................................................................................................... .................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................................................... ลงช่ือ.....................................................................
(................................................................) (................................................................)
อาจารย์ผสู้ อน ประธานสาขาวชิ า/หลกั สูตร

26

แบบรายงานการทวนสอบผลสมั ฤทธิร์ ะดับกระบวนวิชา ทวนสอบ 03
ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรทู้ ่กี าํ หนดใน มคอ. 3 สำหรับอาจารยผ์ สู้ อน/
สาขาวิชาศึกษาทัว่ ไป
โดย คณะกรรมการวิชาการ สาขาวิชาศกึ ษาทว่ั ไป

ภาคการศึกษาที่ ........... ปกี ารศกึ ษา ……..

รายวิชา ..........................................................................

ผู้รบั ผิดชอบรายวิชา …………………………………………………………………………………………….…………

ตอนที่ 1 การทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้

ชือ่ วิชา ............................................................................................

อาจารยผ์ ้สู อน 1. ................................................................. 2. .................................................................

อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบรายวชิ า ............................................................................................

มาตรฐานผลการเรยี นรู้ CLOs วธิ ที วนสอบ ผลการทวนสอบ
(หลกั สูตร OBE)
ด้าน รายละเอียด

คุณธรรม 1.2 ..... 1.ใหน้ กั ศกึ ษาตอบแบบ 1.1 นักศึกษาตระหนักถึง
จรยิ ธรรม (เลือกมาเฉพาะ สอบถามปลายเปดิ ความสำคัญของการมีวินัย
ความรับผิดชอบ 2.สัมภาษณ์นักศึกษาที่ และนำมาใชใ้ นการดำรงชวี ติ
หลักของวิชาน้นั ) เคยลงทะเบียน...

ความรู้ 2.1
2.2

ทกั ษะทางปญั ญา 3.1
3.2
3.3

ทักษะ 4.1
ความสมั พนั ธ์ 4.2
ระหวา่ งบุคคล 4.3
และความ
รับผิดชอบ
ท ั ก ษ ะ ก า ร 5.1
ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ เ ชิ ง 5.2
ตัวเลข การ
สอ่ื สารและการใช้
เทคโนโลยี

27

ตอนที่ 2 ผลการพจิ ารณาสัดส่วนของคะแนนเก็บและเกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรยี น

คะแนนเก็บ
( ) เหมาะสม เน่ืองจาก........................................................................................................................
( ) ไม่เหมาะสมเน่อื งจาก ........................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข ดังน้ี
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

เกณฑ์การตดั สินผลการเรียน
( ) เหมาะสม เนื่องจาก........................................................................................................................
( ) ไมเ่ หมาะสมเน่อื งจาก .....................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข ดงั น้ี
............................................................................................................................. ......................................................
....................................................................................................................................................... ............................
..................................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. ......................................................
............................................................................................................................. ......................................................

ตอนท่ี 3 ผลการพจิ ารณาข้อสอบ

ระดับการให้คะแนน 3 หมายถึง เหมาะสมอยู่ในระดบั มาก

2 หมายถงึ เหมาะสมอยู่ในระดบั พอใช้

1 หมายถึง เหมาะสมอยใู่ นระดบั ควรปรับปรุง

ประเภท ขอ้ สอบเก็บคะแนน 1 ข้อสอบเกบ็ คะแนน 2 (ถา้ มี) ข้อสอบปลายภาค

ผลการพิจารณา/ลักษณะ ( ) อตั นยั ( ) อัตนยั ( ) อตั นยั

( ) ปรนัย ( ) ปรนยั ( ) ปรนยั

1. ความเหมาะสมของลักษณะ ( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1
ขอ้ สอบ

2. ความครอบคลุมกับเน้ือหา ( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1

28

ประเภท ข้อสอบเก็บคะแนน 1 ข้อสอบเกบ็ คะแนน 2 (ถ้ามี) ข้อสอบปลายภาค
( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1
3. ความสอดคล้องกับผลการ ( )3 ( )2 ( ) 1
เรียนรูท้ ีค่ าดหวงั

4. ความเหมาะสมของวิธกี ารตรวจ ( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1 ( )3 ( )2 ( ) 1
ให้คะแนน
.......................................... ..........................................
สง่ิ ที่ควรปรับปรุง .......................................... .......................................... ..........................................
.......................................... ..........................................
..........................................

..........................................

ลงชื่อ..................................................................... ลงชอื่ .....................................................................
(................................................................) (................................................................)
อาจารย์ผสู้ อน อาจารยผ์ ู้สอน

ลงชื่อ..................................................................... ลงชื่อ.....................................................................
(................................................................) (................................................................)
อาจารยผ์ ู้สอน อาจารยผ์ ้สู อน

ลงชื่อ..................................................................... ลงชอ่ื .....................................................................
(................................................................) (................................................................)
อาจารยผ์ สู้ อน อาจารยผ์ ูส้ อน

ลงชือ่ .....................................................................
(................................................................)
อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวชิ า

29

แบบรายงานผลการทวนสอบมาตรฐานการเรียนรขู้ องรายวิชาทเ่ี ปิดสอน ทวนสอบ 04
โดยคณะกรรมการทวนสอบผลการเรียนรู้ (กรรมการรายบุคคล) สำหรับกรรมการ

รำยบุคคล

รหัสวิชา ................................. ช่อื วิชา ................................................................................

อาจารย์ผูส้ อน ........................................................................................

สาขาวชิ า ...............................................................................................

ประจำภาคการศึกษาท่ี ................. ปีการศึกษา .................................

ผลการทวนสอบสอดคล้อง

รายละเอยี ดการทวนสอบ 5 = มากท่ี ุสด รายละเอียด
4= มาก ที่ไมส่ อดคลอ้ ง

3= ปานกลาง
2= น้อย

1= น้อยท่ี ุสด

1. เนอ้ื หาการสอน
1.1 มคี วามครอบคลมุ สอดคล้อง กบั คำอธิบายรายวิชา
1.2 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรูด้ ้าน
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
1.3 มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้
1.4 มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะ
ทางปัญญา
1.5 มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนร้ดู า้ นทกั ษะ
ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1.6 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรูด้ า้ นทักษะ
การวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ

2. วธิ กี ารสอน
2.1 มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรดู้ ้าน
คุณธรรมจริยธรรม
2.2 มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้ด้านความรู้
2.3 มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรยี นร้ดู ้านทกั ษะ
ทางปัญญา
2.4 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ
2.5 มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะ
การวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ

3. การประเมินผล

ผลการทวนสอบสอดคลอ้ ง 30

รายละเอียดการทวนสอบ 5 = มากท่ี ุสด รายละเอยี ด
4= มาก ท่ไี ม่สอดคลอ้ ง

3= ปานกลาง
2= น้อย

1= น้อยท่ี ุสด

3.1 การประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา
1) มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรียนรดู้ ้าน
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
2) มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรยี นร้ดู า้ น
ความรู้
3) มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรยี นร้ดู ้าน
ทกั ษะทางปญั ญา
4) มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรดู้ า้ น
ทักษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ
5) มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ดา้ น
ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

3.2 มีการใชว้ ธิ ีการวดั และประเมินผลการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย
1) การสังเกตพฤติกรรม เชน่ การเขา้ ชั้นเรยี น การมสี ว่ นร่วม
2) การประเมนิ ผลงาน/รายงาน/การนำเสนอผลงาน
3) การสอบถาม/การสมั ภาษณ์
4) การทดสอบ
5) อน่ื ๆ (โปรดระบุ)........................................

3.3 มกี ารประเมินผลการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง
1) กอ่ นจดั การเรียนการสอน
2) ระหว่างจดั การเรียนการสอน
3) หลังส้นิ สุดจดั การเรียนการสอน

3.4 มคี ะแนนผลสมั ฤทธิ์ท่ีได้จากคะแนนเก็บและคะแนนสอบ
3.5 การวัดและประเมนิ ผลสอดคลอ้ งเหมาะสมกับกจิ กรรมการ

เรยี นการสอน
3.6 มีการวดั และประเมินผลเป็นไปตามแผนการประเมนิ ผล

(สปั ดาห์ทจี่ ะประเมนิ ) กับการดำเนินการจริง
3.7 เครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล และผลงาน

1) เครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผลมคี วามสอดคล้องครอบคลุมกับ
เน้ือหารายวชิ า และกิจกรรมการเรียนการสอน

ผลการทวนสอบสอดคลอ้ ง 31

รายละเอยี ดการทวนสอบ 5 = มากท่ี ุสด รายละเอยี ด
4= มาก ที่ไมส่ อดคลอ้ ง

3= ปานกลาง
2= น้อย

1= น้อยท่ี ุสด

2) เครื่องมอื วดั และประเมินผลมรี อ่ งรอยการใหค้ ะแนน
3) ผลงานมีความสอดคลอ้ งครอบคลมุ กบั เนอื้ หารายวชิ า และ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4) ผลงานมีร่องรอยการใหค้ ะแนน
4. ลักษณะการกระจายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
4.1 ปกติ (นกั ศกึ ษาส่วนใหญไ่ ด้คะแนนกลางๆ)
4.2 เบซ้ า้ ย (นกั ศึกษาสว่ นใหญ่ไดค้ ะแนนสงู )
4.3 เบ้ขวา (นกั ศกึ ษาส่วนใหญ่ไดค้ ะแนนต่ำ)
4.4 ไมส่ ามารถบอกลักษณะการกระจายได้
5. มีการนำปญั หาการจดั การเรียนการสอนมาวเิ คราะหห์ าแนว
ทางการแก้ปญั หา
6. มีการนำปญั หาผลการเรียนและระดับคะแนนมาวเิ คราะหห์ าแนว
ทางการแก้ปญั หา
7. มีการนำผลการจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษา/ปี
การศึกษาที่ผา่ นมา มาใช้ในการปรับปรงุ การเรียนการสอน

ผ้รู ับรองข้อมูลผลการทวนสอบ

ลงชือ่ ........................................................... ลงช่อื ...........................................................
(........................................................) (..........................................................)
ผปู้ ระเมิน ผู้ประเมิน

32

แบบรายงานผลการทวนสอบมาตรฐานการเรยี นรขู้ องรายวชิ าท่เี ปิดสอน ทวนสอบ 05
โดยคณะกรรมการทวนสอบผลการเรยี นรู้
สำหรับกรรมการ

รหัสวชิ า ................................. ชอื่ วชิ า ......................................................................................................
อาจารยผ์ ู้สอน ............................................................................................................................. ................
สาขาวิชา ...............................................................................................
ประจำภาคการศึกษาที่ ................. ปกี ารศึกษา .................................

ผลการทวนสอบ

กรรมการ 1 กรรมการ 2 กรรมการ 3 รายละเอียด
ท่ีไม่สอดคลอ้ ง
รายละเอยี ดการทวนสอบ สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง

1. เน้อื หาการสอน
1.1 มีความครอบคลมุ สอดคล้อง กบั คำอธบิ ายรายวชิ า
1.2 มีความสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้
ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
1.3 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้
1.4 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้
ดา้ นทกั ษะทางปัญญา
1.5 มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
ดา้ นทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผิดชอบ
1.6 มีความสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้
ด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

2. วิธีการสอน
2.1 มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม
2.2 มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้
2.3 มีความสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้
ด้านทกั ษะทางปัญญา

ผลการทวนสอบ 33

กรรมการ 1 กรรมการ 2 กรรมการ 3 รายละเอยี ด
ทไ่ี ม่สอดคล้อง
รายละเอียดการทวนสอบ สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง

2.4 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกบั มาตรฐานผลการเรียนรู้
ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผิดชอบ

2.5 มคี วามสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
ดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

3. การประเมนิ ผล
3.1 การประเมินผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา
1) มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการ
เรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
2) มีความสอดคล้องเหมาะสมกับมาตรฐานผลการ
เรยี นรดู้ า้ นความรู้
3) มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการ
เรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปญั ญา
4) มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการ
เรยี นรดู้ า้ นทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและ
ความรบั ผิดชอบ
5) มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับมาตรฐานผลการ
เรียนร้ดู ้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอื่ สาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2 มีการใชว้ ธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย
1) การสังเกตพฤตกิ รรม เชน่ การเข้าช้นั เรยี น การมสี ว่ น
ร่วม
2) การประเมินผลงาน/รายงาน/การนำเสนอผลงาน
3) การสอบถาม/การสมั ภาษณ์
4) การทดสอบ
5) อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ .................................
3.3 มีการประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนกั ศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
1) ก่อนจัดการเรียนการสอน

ผลการทวนสอบ 34

กรรมการ 1 กรรมการ 2 กรรมการ 3 รายละเอียด
ทไี่ มส่ อดคล้อง
รายละเอยี ดการทวนสอบ สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง

2) ระหว่างจัดการเรียนการสอน
3) หลังสนิ้ สุดจดั การเรียนการสอน
3.4 มีคะแนนผลสมั ฤทธทิ์ ีไ่ ด้จากคะแนนเก็บและคะแนน
สอบ
3.5 การวดั และประเมนิ ผลสอดคล้องเหมาะสมกับ
กิจกรรมการเรียนการสอน
3.6 มีการวดั และประเมินผลเปน็ ไปตามแผนการ
ประเมินผล(สัปดาห์ท่จี ะประเมนิ ) กบั การดำเนนิ การ
จริง
3.7 เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล และผลงาน
1) เคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผลมีความสอดคล้อง

ครอบคลมุ กับเนือ้ หารายวชิ า และกจิ กรรมการ
เรียนการสอน
2) เครื่องมือวดั และประเมินผลมรี อ่ งรอยการให้
คะแนน
3) ผลงานมีความสอดคล้องครอบคลุมกบั เน้อื หา
รายวิชา และกจิ กรรมการเรยี นการสอน
4) ผลงานมีรอ่ งรอยการให้คะแนน
4. ลักษณะการกระจายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
4.1 ปกติ (นักศกึ ษาสว่ นใหญ่ไดค้ ะแนนกลางๆ)
4.2 เบซ้ ้าย (นกั ศกึ ษาส่วนใหญไ่ ดค้ ะแนนสงู )
4.3 เบข้ วา (นกั ศึกษาสว่ นใหญไ่ ดค้ ะแนนตำ่ )
4.4 ไมส่ ามารถบอกลักษณะการกระจายได้
5. มีการนำปญั หาการจัดการเรียนการสอนมาวเิ คราะหห์ า
แนวทางการแก้ปญั หา
6. มกี ารนำปญั หาผลการเรยี นและระดับคะแนนมาวเิ คราะห์
หาแนวทางการแกป้ ญั หา

ผลการทวนสอบ 35

กรรมการ 1 กรรมการ 2 กรรมการ 3 รายละเอียด
ที่ไม่สอดคล้อง
รายละเอยี ดการทวนสอบ สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง
สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง

7. มีการนำผลการจดั การเรยี นการสอนในภาคการศึกษา/ปี
การศกึ ษาทผ่ี ่านมา มาใชใ้ นการปรับปรงุ การเรียนการ
สอน

ผูร้ บั รองข้อมูลผลการทวนสอบ

ลงชือ่ ........................................................... ลงช่ือ...........................................................
(........................................................) (..........................................................)
ผ้ปู ระเมิน ผปู้ ระเมนิ

ลงชอ่ื ........................................................... ลงช่อื ...........................................................
(.......................................................) (.............................................)
ผปู้ ระเมิน ประธานสาขาวชิ า/หลักสูตร

วันที่................เดอื น...............................พ.ศ..................

แบบรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ของนักศกึ ษา 36
ทวนสอบ 06

สำหรับกรรมการ

ชอื่ หลักสตู ร .....................................................................................................................................
คณะ .............................................................. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ภาคเรยี นท่.ี ......................ปกี ารศึกษา...............................

จำนวนรายวชิ าที่เปดิ สอน...................จำนวนวชิ าที่ทวนสอบในปกี ารศกึ ษา …….....................

รายวชิ า ผลการ สรปุ ประเด็นที่ไม่
ที่ทวน ประเมิน สอดคลอ้ ง
สอบ
รายวิชาท่เี ปดิ สอน สอดค ้ลอง
ไม่สอดค ้ลอง

ภาคเรยี นท่ี ………… ปีการศึกษา ……………. (ชน้ั ปีที่ ……….)
1.

2.

3.

4.

5.

รวมรายวชิ าท่สี อนท้ังหมด ……………... รายวิชา
รวมรายวิชาที่ทวนสอบทั้งหมด ……………. รายวิชา

รอ้ ยละของรายวิชาที่มีการทวนสอบ ……………….

หมายเหตุ

1. ทำเครอ่ื งหมาย ✓= รายวิชาท่ีดำเนินการทวนสอบ
2. คิดเฉพาะรายวชิ าตามหลักสูตร ไมร่ วมวชิ าศึกษาท่วั ไป และวิชาเลอื กเสรี

วธิ ีการทวนสอบ (ระบุ)

- แบบประเมนิ ในระบบประเมินการเรียนการสอน ทจ่ี ัดทำโดยมหาวิทยาลัย
- ประเมนิ โดยคณะกรรมการทวนสอบ ตามคำสัง่ ...................... ที่ ............/....................

37

ผรู้ บั รองขอ้ มูลผลการทวนสอบ

ลงชื่อ........................................................... ลงชื่อ...........................................................
(...........................................................) (................................................................)
ผปู้ ระเมนิ
ผปู้ ระเมิน

ลงชือ่ ........................................................... ลงชื่อ...........................................................
(....................................................) (.............................................)
ผู้ประเมนิ ประธานสาขาวิชา/หลกั สตู ร

วนั ที.่ ............... เดือน ...............................พ.ศ. ..................

แบบรายงานสรุปผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั ศึกษา 38
หลักสตู ร…………………………………….. คณะ………………………………………………….
ทวนสอบ 07
คณะ............................................................ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา สำหรับสำขำวิชำ
ประจำปีการศึกษา .................

******************************************************

คำชีแ้ จง :

1. แบบรายงานสรุปผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาฉบับนี้จดั ทำขึ้นเพือ่ แจ้งผลการทวน
สอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาหลักสูตร............................................. คณะ...........................................
คณะ............................................ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา

2. แบบรายงานสรุปผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศกึ ษา มีจำนวน 3 หมวด

หมวดท่ี 1 ข้อมลู เก่ียวกับหลักสูตร

หลักสูตร…………………………………………………..……… เริ่มรับนักศึกษาเม่ือปีการศึกษา ……………. ดำเนินการ
เรยี นการสอนมาแลว้ ………….. ปี

หมวดที่ 2 สรุปจำนวนรายวิชาทเ่ี ปดิ สอน/ทวนสอบในปกี ารศึกษา 256.....-256.......

2.1 รายวิชาท่เี ปิดสอน
รายวิชาท่ีเปดิ สอนทัง้ หมดในหลกั สตู ร ปีการศึกษา ………………. จำนวน ……………… รายวชิ า ตามขอ้ กำหนด
ของตัวบง่ ชร้ี ะบบุ ว่าจะตอ้ งทำการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ฯ อย่างน้อยรอ้ ยละ 25 ของรายวชิ าท่ีเปิดสอนในแต่
ละปกี ารศึกษา ดงั นนั้ หลักสตู รจงึ ดำเนนิ การทวนสอบ จำนวน ……….. รายวิชา คดิ เปน็ รอ้ ยละ …………… ดงั น้ี

รายวิชาท่ีเปิดสอน รายวชิ า สอดคล้อง ผลการประเมนิ
ทีท่ วน ไ ่มสอดค ้ลอง
สอบ การดำเนนิ การ
(ในกรณีที่ไมส่ อดคล้อง)

ภาคเรียนท่ี ……………. ปีการศึกษา ………………….. (ช้ันปีที่ ……………..)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

รายวิชาทีเ่ ปิดสอน รายวชิ า สอดค ้ลอง 39
ทีท่ วน ไม่สอดค ้ลอง
8. สอบ ผลการประเมนิ
9.
10. การดำเนินการ
(ในกรณีท่ีไม่สอดคล้อง)

รวมรายวชิ าที่สอนทั้งหมด ................ รายวิชา
รวมรายวชิ าที่ทวนสอบท้ังหมด ................ รายวิชา

รอ้ ยละของรายวิชาท่ีมกี ารทวนสอบ ................

รายวิชาที่เปดิ สอนท้งั หมดในหลักสูตร ปีการศึกษา ………………. จำนวน ……………… รายวิชา ตามขอ้ กำหนด
ของตวั บง่ ชรี้ ะบบุ วา่ จะต้องทำการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธฯ์ิ อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 25 ของรายวชิ าท่เี ปิดสอนในแต่
ละปีการศกึ ษา ดงั นน้ั หลกั สตู รจึงดำเนินการทวนสอบ จำนวน ……….. รายวิชา คิดเป็นรอ้ ยละ …………… ดงั น้ี

รายวชิ าท่ีเปดิ สอน รายวชิ า สอดค ้ลอง ผลการประเมิน
ทีท่ วน ไม่สอดค ้ลอง
สอบ การดำเนนิ การ
(ในกรณีท่ีไม่สอดคล้อง)

ภาคเรียนที่ ……………. ปีการศึกษา ………………….. (ช้นั ปีที่ ……………..)
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.

รวมรายวชิ าทส่ี อนท้ังหมด ................ รายวชิ า

40

รายวชิ าท่ีเปิดสอน รายวิชา สอดค ้ลอง ผลการประเมนิ
ทที่ วน ไม่สอดค ้ลอง
สอบ การดำเนินการ
(ในกรณที ี่ไม่สอดคล้อง)

รวมรายวชิ าที่ทวนสอบท้ังหมด ................ รายวิชา
รอ้ ยละของรายวิชาที่มกี ารทวนสอบ ................

2.2 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธฯ์ิ
การดำเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรขู้ ณะนักศึกษายังไม่สำเรจ็ การศึกษา (ตามท่ีไดร้ ะบไุ ว้ใน
รายละเอยี ดของหลักสตู ร (มคอ.2) หมวดที่ 5 ข้อ 2) ตามรายละเอยี ดดังน้ี

กระบวนการทวนสอบฯ การดำเนนิ การ หมายเหตุ

1. มีระบบการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์การเรยี นรู้ของ - แตง่ ตง้ั กรรมการทวนสอบมาตรฐาน

นกั ศึกษาเปน็ ส่วนหนง่ึ ของระบบการประกนั ผลสมั ฤทธ์ฯิ

คณุ ภาพภายในของหลักสตู ร โดยมีการทวนสอบ - ใช้ผลประเมินการเรยี นการสอนผา่ นระบบ

ท้ังในระดบั รายวิชาและการประมวลผลรวมในแต่ มหาวิทยาลยั

ละปีการศกึ ษา ตลอดจนในระดบั ผลรวมของ

หลักสตู รเพ่ือใหผ้ ลสมั ฤทธขิ์ องนกั ศึกษาเป็นไป

ตามวตั ถุประสงคข์ องรายวิชาและหลักสตู ร

2. การทวนสอบในระดับรายวิชาให้นักศกึ ษา - ประเมนิ ผลการเรยี นการสอนผา่ นระบบ ผลการประเมินแสดงในหมวดท่ี
ประเมนิ การเรยี นการสอนในระดบั รายวิชา เพอื่ มหาวทิ ยาลยั 2
นำผลไปปรบั ปรุงการเรียนการสอนให้เหมาะสม
กับวัตถุประสงค์ของรายวชิ า

3. มีการทวนสอบในแตล่ ะปีการศกึ ษา วา่ เป็นไป - การพิจารณาความเหมาะสมของขอ้ สอบ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร
ตามแผนการสอนและวตั ถุประสงค์ของรายวชิ า/ และผลการสอบแตล่ ะปีการศึกษา (โดยดู

หลักสตู รตามที่ตัง้ เปา้ หมายไว้ จาก มคอ.3, มคอ.4 (ถ้ามี)/ มคอ.5, มคอ.6
(ถา้ มี)

4. มีการทวนสอบในระดับหลักสตู รทำโดยตง้ั - การพิจารณาความเหมาะสมของขอ้ สอบ คำสงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการ
คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ฯิ ประจำคณะ และผลการสอบแตล่ ะปีการศึกษา (โดยดู ทวนสอบ ท่ี
จาก มคอ.3, มคอ.4 (ถ้ามี)/ มคอ.5, มคอ.6 .........../..................
(ถา้ มี) เอกสาร หลกั ฐาน)

5.รายงานการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธขิ์ อง - ส่งแบบรายงานตอ่ คณะฯ รายงาน
นกั ศกึ ษา

หมวดท่ี 3 ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนักศึกษา

3.1 ผลการทวนสอบมาตรฐานการเรยี นรูโ้ ดยภาพรวม

41

1.1 ผลการทวนสอบผลสมั ฤทธขิ์ องหลกั สูตรครบถว้ นตามกระบวนการ
1.2 สรปุ ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์

1.2.1 รายวชิ าท่ีนำมาทวนสอบปีการศึกษา ............. จำนวน ............ รายวชิ า ผลการประเมนิ อยู่
ในระดบั ดีมาก จำนวน .......... รายวิชา และอยใู่ นระดบั ดี จำนวน ..........รายวชิ า

1.2.2 รายวชิ าทนี่ ำมาทวนสอบปีการศึกษา ................ จำนวน .......... รายวชิ า ผลการประเมนิ
อยใู่ นระดบั ดมี าก จำนวน ............ รายวชิ า และอยใู่ นระดบั ดี จำนวน .............. รายวชิ า

3.2 แนวทางพฒั นา
2.1 ส่งเสรมิ ใหอ้ าจารยเ์ ขา้ อบรม แลกเปล่ยี นเรียนรูก้ ับหลักสูตรอ่นื ๆ เป็นวิทยากร
2.2 จดั ใหม้ ีทวนสอบเป็นระยะๆ เพื่อตดิ ตามวิธีการสอน การวดั ผลประเมนิ ผล ทำให้คน้ พบปญั หาและ

สามารถแก้ไข ปรบั ปรุงใหถ้ ูกต้องทนั เวลา
2.3 ทบทวนหลกั เกณฑ์และวิธีการในการทวนสอบให้เหมาะสมกับสถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ
2.4 จัดอบรม ประชมุ ชแี้ จง ทบทวน ใหอ้ าจารย์อย่างสมำ่ เสมอ
2.5 สร้างทศั นคติทด่ี ีเก่ียวกับการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิ ใหเ้ ห็นว่าการทวนสอบเป็นเร่อื งสำคัญ

ไมใ่ ช่ภาระงานท่หี นกั และต้องให้ความร่วมมือในการดำเนินการ

(…………………..………….……………………………)
ประธานสาขาวิชา/หลักสูตร……………………………….

วนั ท่ี ............./..................../.....................

ทวนสอบ4208

แบบรายงานสรุปผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของนกั ศกึ ษาระดับคณะ สำหรับวิชาการคณะ
คณะ………………………………………………………………….

คณะ............................................ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา.........................................
ประจำปีการศึกษา .................

******************************************************

ในภาคเรียนที่ ......... ปีการศึกษาที่ ....................... คณะ...........................................................................

............................................. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา...................................... ได้ดำเนินการทวนสอบมาตรฐาน

ผลสมั ฤทธข์ิ องนกั ศึกษา แต่ละหลักสตู รทส่ี งั กดั คณะ จำนวน ................... หลักสตู ร สรุปดังน้ี

(ใหเ้ ลอื กและใส่รายละเอยี ดเฉพาะหลักสตู รของคณะนนั้ ๆ)

คณะ…………………………………………………………………..……..

ท่ี หลักสูตร ระดบั ประเภท สกอ. จำนวนวชิ า จำนวน จำนวน หมายเหตุ
(ใหม/่ เห็นชอบ ท่ีทวนสอบ วชิ าที่ วชิ าที่
ปรบั ปรงุ ) ปีทีผ่ า่ นมา ทวน ทวนสอบ
สอบปีน้ี ทั้งหมด

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

รวม จำนวนหลักสตู ร


Click to View FlipBook Version